SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
รายงานเรื่อง ประเพณีลอยกระทง 
จัดทาโดยเด็กชายไกรวิทย์อุ่นคา 
ชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 
เลขที่2 
จัดส่ง 
คุณครู สุรเชษฐ์ ดวงทิพย์ 
โรงเรียนชุมชนบ้านโป่ง
คานา 
รายงานเรื่องนี้จักทา เพื่อให้ทุกคนได้ศึกษาคน้ควา้ประวตัิความเป็นมา 
ความสา คัญ และพิธีการต่างๆในวนัลอยกระทงซึ่งเป็นอีกหนึ่งวนัที่สา คัญของไทย 
กระผมหวงัว่ารายงานเรื่องนี้จะเป็นประโยชน์แก่ทุกคนได้
สารบัญ 
• ประวัติความเป็นมาของวันลอยกระทง 
• ลอยกระทงในอดีต 
• สรุปเหตุผลของการลอยกระทงในประเทศไทย 
• คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป วันลอยกระทง 
• การลอยกระทงของชาวเหนือ 
• กิจกรรม วันลอยกระทง 
• ประวัติผู้ทา
• ประวัติความเป็นมาวันลอยกระทง 
• วนัลอยกระทง ตรงกับวนัข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๒ เป็นประเพณีที่สืบทอดมาแต่โบราณโดยมี 
วตัถุประสงค์ที่หลากหลายเช่นลอยเคราะห์บูชาพระพุทธเจา้แต่ปัจจุบันนิยมทา เพื่อขอขมา และระลึก 
ถึงคุณแม่พระคงคา ที่ได้อา นวยประโยชน์ต่าง ๆ แก่มนุษย์ โดยประเพณีลอยกระทงมีมาตงั้แต่สมัย 
สุโขทัยประมาณ ๗๐๐ ปีมาแล้ว ประเพณีลอยกระทงได้เข้าสู่ประเทศไทยในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราช 
ธานีประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ ดังปรากฏในหนังสือนางนพมาศ ผู้เป็นพระสนมเอกของพระร่วงเจ้าว่า 
"ครนั้วนัเพ็ญเดือน ๑๒ ข้าน้อยได้กระทา โคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกา นัลทงั้ 
ปวงจึงเลือกผกาเกษตรสตี่างๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากง 
ระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซอ้นสีสลับให้เป็นลวดลาย..." เมื่อสมเด็จพระร่วงเจา้ได้เสด็จฯทาง 
ชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงมีพระราชโองการฯให้จัด 
พิธีลอยกระทงเป็นประจา ทุกปี ในคืนวนัเพ็ญเดือนสิบสองพระราชพิธีนี้จึงได้ถือปฏิบัติเป็นประจา 
จนกระทั่งบัดนี้
• ลอยกระทงในอดีต 
• 
ประเพณีลอยกระทงมีมานานจนสืบประวตัิไมไ่ด้ และไม่มีในคัมภีร์ทางศาสนา 
เสถียรโกรศ 
(พระยาอนุมานราชธน) ได้คน้ควา้ที่มาของประเพณีลอยกระทงไทยทุกภาค 
ตลอดจนถึงประเทศใกล้เคียงคือ พมา่ กัมพูชา จีน อินเดีย ได้ความว่ามี 
ประเพณีลอยกระทงทกุประเทศด้วยเหตุผลต่างๆ กัน
• สรุปเหตุผลของการลอยกระทงในประเทศไทยดังนี้ 
• ๑.เพื่อขอขมาแม่คงคาเพราะได้อาศัยน้า ท่านกินและใชแ้ละอีกประการหนึ่งมนุษย์ 
มักจะทิ้งและถ่ายสิ่งปฏิกูลลงไปในน้า ด้วย 
• ๒.เพื่อสักการะรอยพระพุทธบาทมทานทีซึ่งประพุทธเจา้ทรงประทับรอยพระบาท 
ประดิษฐานไวบ้นหาดทรายที่แม่น้า นา มาทานที ในประเทศอินเดีย 
• ๓.เพื่อลอยทุกข์โศกโรคภัย และสิ่งไม่ดี คล้ายกับพิธีลอยบาปของพราหมณ์ 
• ๔.เพื่อบูชาพระอุปคุตชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพแก่พระอุปคุตอย่างสูง 
ซึ่งตามตานานเล่าว่าเป็นพระมหาเถระรูปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์ 
มากสามารถปราบพญา 
มารได้
• คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป วันลอยกระทง 
• มะยัง อมิินา ปะทีเปนะ นัมมะทายะ 
• นะทิยา ปุเลเนฐิตัง มุนิโน ปาทะวะลัญชัง อะภิปูเชมะ 
• อะยัง ปะทีเปนะ มุนิโน ปาทะวะลัญชัสสะ ปูชา 
• อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หติายะ สุขายะ สังฆวตัตะตุ
การลอยกระทงของชาวเหนือ 
• การลอยกระทงของชาวเหนือ นิยมทา กันในเดือนยี่เป็ง (คือเดือนยี่หรือเดือน 
สอง เร็วกว่าของเรา ๒ เดือน) 
เพื่อบูชาพระอุปคุตต์ซึ่งเชื่อกันว่าท่านบา เพ็ญบริกรรมคาถาอยู่ในทอ้งทะเลลึก 
หรือสะดือทะเลตรงกับคติ 
ของชาวพม่า
• กิจกรรม วันลอยกระทง 
• -นากระทงไปลอยตามแม่นา้ลาคลอง หรือตามแหล่งนา้ที่มีการจัดพิธี 
• -ให้การสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในวันลอยกระทง เช่น การประกวดกระทง การประกวดนางนพมาศ 
การละเล่นพืน้เมือง เช่น ราวงเพลงเรือ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทย 
• -จัดนิทรรศการ หรือพิธีลอยกระทง เพื่อเผยแพร่และอนุรักษ์ประเพณีไทย 
• -จัดรณรงค์ให้มีการใช้วัสดุจากธรรมชาติมาทากระทง เพื่อไม่ให้เกิดมลภาวะแก่แม่นา้ลาคลอง 
• 
การลอยกระทงในปัจจุบันยังคงรักษารูปแบบเดิมเอาไว้ได้ตามสมควรเมื่อถึงวันเพ็ญพระจันทร์เต็มดวงใน 
เดือน ๑๒ ชาวบ้านจะจัดเตรียมทากระทงจากวัสดุที่หาง่ายตามธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วย และดอกบัว 
นามาประดิษฐ์เป็นกระทงสวยงาม ปักธูปเทียนและดอกไม้ เครื่องสักการบูชา ก่อนทาการลอยในแม่นา้ก็ 
จะอธิษฐานในสิ่งที่มุ่งหวังพร้อมขอขมาต่อพระแม่คงคา ตามคุ้มวัดหรือสถานที่จัดงานหลายแหง่ มีการ 
ประกวดกระทง ประกวดนางนพมาศ และมีมหรสพสมโภชในตอนกลางคืน นอกจากนัน้ยังมีการจุด 
ดอกไม้ไฟ พลุ ตะไล ซึ่งในการเล่นต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ วัสดุที่นามาใช้ทากระทง ควรเป็นของที่ 
สามารถย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ
ปประวัติ 
เด็กชาย ไกรวิทย์อุ่นคา 
ชัน้มัธยมศึกษาปีที่2 
เลขที่2 
โรงเรียนชุมชนบ้านโป่ง

More Related Content

Similar to Loy Krathong festival

เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงSasimapornnan
 
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวงภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวงKobwit Piriyawat
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxthammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxthammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxthammanoon laohpiyavisut
 
ลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิ
ลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิ
ลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิSuvimol Lhuangpraditkul
 

Similar to Loy Krathong festival (7)

29 อารีรัตน์
29 อารีรัตน์29 อารีรัตน์
29 อารีรัตน์
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
 
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวงภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
ภาพกิจกรรมโครงการสนองพระราชเสาวนีย์ ลูกนนทรีอาสา ปลูกป่่าชายเลน พิทักษ์นครหลวง
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิ
ลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิ
ลอยๆกระทง ลอยๆกระทง อิอิ
 

Loy Krathong festival

  • 1. รายงานเรื่อง ประเพณีลอยกระทง จัดทาโดยเด็กชายไกรวิทย์อุ่นคา ชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 2 เลขที่2 จัดส่ง คุณครู สุรเชษฐ์ ดวงทิพย์ โรงเรียนชุมชนบ้านโป่ง
  • 2. คานา รายงานเรื่องนี้จักทา เพื่อให้ทุกคนได้ศึกษาคน้ควา้ประวตัิความเป็นมา ความสา คัญ และพิธีการต่างๆในวนัลอยกระทงซึ่งเป็นอีกหนึ่งวนัที่สา คัญของไทย กระผมหวงัว่ารายงานเรื่องนี้จะเป็นประโยชน์แก่ทุกคนได้
  • 3. สารบัญ • ประวัติความเป็นมาของวันลอยกระทง • ลอยกระทงในอดีต • สรุปเหตุผลของการลอยกระทงในประเทศไทย • คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป วันลอยกระทง • การลอยกระทงของชาวเหนือ • กิจกรรม วันลอยกระทง • ประวัติผู้ทา
  • 4. • ประวัติความเป็นมาวันลอยกระทง • วนัลอยกระทง ตรงกับวนัข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๑๒ เป็นประเพณีที่สืบทอดมาแต่โบราณโดยมี วตัถุประสงค์ที่หลากหลายเช่นลอยเคราะห์บูชาพระพุทธเจา้แต่ปัจจุบันนิยมทา เพื่อขอขมา และระลึก ถึงคุณแม่พระคงคา ที่ได้อา นวยประโยชน์ต่าง ๆ แก่มนุษย์ โดยประเพณีลอยกระทงมีมาตงั้แต่สมัย สุโขทัยประมาณ ๗๐๐ ปีมาแล้ว ประเพณีลอยกระทงได้เข้าสู่ประเทศไทยในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราช ธานีประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ ดังปรากฏในหนังสือนางนพมาศ ผู้เป็นพระสนมเอกของพระร่วงเจ้าว่า "ครนั้วนัเพ็ญเดือน ๑๒ ข้าน้อยได้กระทา โคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกา นัลทงั้ ปวงจึงเลือกผกาเกษตรสตี่างๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากง ระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซอ้นสีสลับให้เป็นลวดลาย..." เมื่อสมเด็จพระร่วงเจา้ได้เสด็จฯทาง ชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงมีพระราชโองการฯให้จัด พิธีลอยกระทงเป็นประจา ทุกปี ในคืนวนัเพ็ญเดือนสิบสองพระราชพิธีนี้จึงได้ถือปฏิบัติเป็นประจา จนกระทั่งบัดนี้
  • 5. • ลอยกระทงในอดีต • ประเพณีลอยกระทงมีมานานจนสืบประวตัิไมไ่ด้ และไม่มีในคัมภีร์ทางศาสนา เสถียรโกรศ (พระยาอนุมานราชธน) ได้คน้ควา้ที่มาของประเพณีลอยกระทงไทยทุกภาค ตลอดจนถึงประเทศใกล้เคียงคือ พมา่ กัมพูชา จีน อินเดีย ได้ความว่ามี ประเพณีลอยกระทงทกุประเทศด้วยเหตุผลต่างๆ กัน
  • 6. • สรุปเหตุผลของการลอยกระทงในประเทศไทยดังนี้ • ๑.เพื่อขอขมาแม่คงคาเพราะได้อาศัยน้า ท่านกินและใชแ้ละอีกประการหนึ่งมนุษย์ มักจะทิ้งและถ่ายสิ่งปฏิกูลลงไปในน้า ด้วย • ๒.เพื่อสักการะรอยพระพุทธบาทมทานทีซึ่งประพุทธเจา้ทรงประทับรอยพระบาท ประดิษฐานไวบ้นหาดทรายที่แม่น้า นา มาทานที ในประเทศอินเดีย • ๓.เพื่อลอยทุกข์โศกโรคภัย และสิ่งไม่ดี คล้ายกับพิธีลอยบาปของพราหมณ์ • ๔.เพื่อบูชาพระอุปคุตชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพแก่พระอุปคุตอย่างสูง ซึ่งตามตานานเล่าว่าเป็นพระมหาเถระรูปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์ มากสามารถปราบพญา มารได้
  • 7. • คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป วันลอยกระทง • มะยัง อมิินา ปะทีเปนะ นัมมะทายะ • นะทิยา ปุเลเนฐิตัง มุนิโน ปาทะวะลัญชัง อะภิปูเชมะ • อะยัง ปะทีเปนะ มุนิโน ปาทะวะลัญชัสสะ ปูชา • อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หติายะ สุขายะ สังฆวตัตะตุ
  • 8. การลอยกระทงของชาวเหนือ • การลอยกระทงของชาวเหนือ นิยมทา กันในเดือนยี่เป็ง (คือเดือนยี่หรือเดือน สอง เร็วกว่าของเรา ๒ เดือน) เพื่อบูชาพระอุปคุตต์ซึ่งเชื่อกันว่าท่านบา เพ็ญบริกรรมคาถาอยู่ในทอ้งทะเลลึก หรือสะดือทะเลตรงกับคติ ของชาวพม่า
  • 9. • กิจกรรม วันลอยกระทง • -นากระทงไปลอยตามแม่นา้ลาคลอง หรือตามแหล่งนา้ที่มีการจัดพิธี • -ให้การสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในวันลอยกระทง เช่น การประกวดกระทง การประกวดนางนพมาศ การละเล่นพืน้เมือง เช่น ราวงเพลงเรือ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมไทย • -จัดนิทรรศการ หรือพิธีลอยกระทง เพื่อเผยแพร่และอนุรักษ์ประเพณีไทย • -จัดรณรงค์ให้มีการใช้วัสดุจากธรรมชาติมาทากระทง เพื่อไม่ให้เกิดมลภาวะแก่แม่นา้ลาคลอง • การลอยกระทงในปัจจุบันยังคงรักษารูปแบบเดิมเอาไว้ได้ตามสมควรเมื่อถึงวันเพ็ญพระจันทร์เต็มดวงใน เดือน ๑๒ ชาวบ้านจะจัดเตรียมทากระทงจากวัสดุที่หาง่ายตามธรรมชาติ เช่น หยวกกล้วย และดอกบัว นามาประดิษฐ์เป็นกระทงสวยงาม ปักธูปเทียนและดอกไม้ เครื่องสักการบูชา ก่อนทาการลอยในแม่นา้ก็ จะอธิษฐานในสิ่งที่มุ่งหวังพร้อมขอขมาต่อพระแม่คงคา ตามคุ้มวัดหรือสถานที่จัดงานหลายแหง่ มีการ ประกวดกระทง ประกวดนางนพมาศ และมีมหรสพสมโภชในตอนกลางคืน นอกจากนัน้ยังมีการจุด ดอกไม้ไฟ พลุ ตะไล ซึ่งในการเล่นต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ วัสดุที่นามาใช้ทากระทง ควรเป็นของที่ สามารถย่อยสลายได้ง่ายตามธรรมชาติ
  • 10. ปประวัติ เด็กชาย ไกรวิทย์อุ่นคา ชัน้มัธยมศึกษาปีที่2 เลขที่2 โรงเรียนชุมชนบ้านโป่ง