SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1

การคานวณอัตราผลตอบแทนภายใน
Internal Rate of Return
โดย ฑิฆมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
ั
ผูจดการภาค อาวุโส บริษทไทยประกันชีวิต จากัด สาขาธนบุรี
้ั
ั
โทร. 084-638-8638
17 สิงหาคม 2556

คาอธิบาย คาว่า อัตราผลตอบแทนภายใน Internal Rate of Return
ก่อนอื่นเราต้องมารูจกกับคาว่าอัตราผลตอบแทนกันก่อนว่าคืออะไร ?
้ั
อัตราผลตอบแทน คือ “อัตราความเร็วที่เงินจะให้ผลตอบแทนกลับมาหาคุณหลังจากที่คณ
ุ
ลงทุน หรือ ออมไปแล้ว” ซึ่งก็คือ เงินที่คณลงทุนในธุรกิจ หรือ ฝากธนาคาร หรือ ออม
ุ
ทรัพย์ กับธุรกิจประกันชีวิต และคุณก็จะต้องได้ กาไร หรือ ดอกเบี้ยกลับคืนมานันเอง แล้ว
่
เมื่อลงทุนไปแล้ว จะได้ผลตอบแทนกลับมาเร็วแค่ไหนกันเมื่อเราได้ลงทุน หรือ ออมเงิน(กับ
สถาบันการเงิน) ไปแล้ว และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนนัน จะกาหนดเป็ น เปอร์เซ็นต่อ
้
ปี
ตัวอย่างที่ 1 เช่น เราลงทุน หรือ ออมเงิน ในปี นี้ 100 บาท และ ต่อมาได้รบเงินคืนกลับมา
ั
4 บาท ในแต่ละปี ตลอดไป ในกรณีนี้ เราจะเรียกว่า อัตราผลตอบแทน จะเท่ากับ 4 % ต่อปี
นันเป็ นเพราะว่า เราได้รับผลตอบแทน กลับมาปี ละ 4 % ของเงิน 100 บาท เป็ นจานวนที่
่
แน่นอนตลอดไป แล้วพอสิ้นสุดโครงการ ก็คืนเงินต้นให้เราด้วย นันเอง(ตามรูป)
่

ถ้าผลตอบแทนทุกชนิดเป็ นเช่นนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องยากในการคิดอัตราผลตอบแทน แต่ในความ
เป็ นจริงของการลงทุน หรือ การออม บางครังผลประโยชน์ หรือเงินที่ได้กลับคืนมาก็ไม่ได้
้
2

เป็ นอัตราที่เท่า ๆ กัน ทุกปี อาจจะมีมากบ้าง น้อยบ้าง หรือบางปี มี บางปี ก็ไม่มี จากเงิน
ลงทุน หรือเงินออมก้อนเดียวกัน หรือหลายก้อน ซึ่งทาให้ยากที่จะรูไ้ ด้ว่า ผลตอบแทนที่ได้รบ
ั
หลังจากหลาย ๆ ปี ผ่านไป เป็ นอัตราเท่าไรกันแน่ ซึ่งเราจะยกตัวอย่างดังนี้
ตัวอย่างที่ 2 เราออมเงิน หรือ ลงทุน จานวนเงิน 100 บาท ในปี นี้ และต่อมา เราได้รบ
ั
เงินคืนกลับมา ในปี ที่ 1 จานวน 70 บาท และพอปี ที่ 2 เราได้กลับคืนมาอีก 80 บาท แล้วก็
หยุดแค่นน ไม่ใช่ตลอดไปเหมือนเดิม คราวนี้ เราจะรูไ้ ด้อย่างไร ว่าอัตราผลตอบแทนของเรา
ั้
เป็ นกี่เปอร์เซ็นต์กนแน่ ดูตามรูปนี้
ั

มาถึงกรณีนี้ เราจะพบว่า อัตราผลตอบแทน มันจะถูกซ่อนอยู่ภายใน ไม่ได้ปรากฏให้เราเห็น
ชัดเจนเหมือน การรับผลตอบแทนที่เป็ นจานวนแน่นอนทุกปี อีกต่อไป เราจึงเรียกมันอีกชือ
่
หนึงว่า อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return) นันเอง
่
่
ในการคานวณหาอัตราผลตอบแทนภายในนัน เราจาเป็ นต้องใช้สตรคานวณ ซึ่งก่อนที่จะใช้
้
ู
สูตรนัน เราต้องมาทาความรูจก กับคาบางคาก่อน คือ
้
้ั

1. Present Value of Cash มูลค่าปั จจุบนของเงิน คือ มูลค่าของเงินในอนาคต ที่คิดลด
ั
ด้วยอัตราดอกเบี้ย ลงมาจนถึง ณ เวลา ปั จจุบน เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบกับค่าของเงินใน
ั
ปั จจุบนเพื่อหาค่าต่าง ๆ เงิน 1บาท หรือ 1 หน่วยในวันนี้ จะมีค่าเท่าไรในอนาคต หรือ เงิน
ั
จานวนหนึงในอนาคต ถ้าคิดย้อนกลับมาในวันนีจะมีค่าเท่าไร โดยตามหลักทัวๆไปแล้ว เรา
่
้
่
มักจะกล่าวกันว่า เงิน 1 หน่วยในวันนี้ จะมีค่ามากขึนในอนาคต ซึ่งตัวแปรสาคัญที่ทาให้เป็ น
้
เช่นนัน คือ อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราผลตอบแทน โดยสูตรการคิดหามูลค่าปั จจุบน คือ PV
้
ั
3

(

)

อธิบายด้วยรูปดังนี้

ทาไมต้องทาให้เป็ นค่าปัจจุบัน
หลายคนอาจสงสัยว่า ทาไมต้องมาเทียบค่าเงินให้เป็ นค่าปั จจุบนให้ย่งยาก เราสามารถ
ั
ุ
อธิบายได้ว่า มันเนืองจาก มีปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับเงิน อยู่ หลายประการ เช่น ค่าเสียโอกาส,
่
ต้นเงิน, อัตราดอกเบี้ย, และ ระยะเวลา เป็ นต้น แต่ที่เราจะนามาพิจารณากันนี้ ก็เพียง ต้นเงิน,
อัตราดอกเบี้ย และ ระยะเวลา เท่านัน ดังนัน ถ้าหากว่าเราลงทุน แล้วได้กาไรเสร็จสิ้นภายใน
้
้
วันเดียวกัน มูลค่าของเงิน ก็จะเป็ นมูลค่าของเงินในวันเดียวกัน จะไม่มีอตราดอกเบี้ย และ
ั
ระยะเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เมื่อเรา ลงทุน ไป 100 บาท แล้ว ได้กาไร กลับมา ในวันนัน
้
20 บาท ก็แสดงว่า เราได้กาไร 20% ซึ่งคิดง่ายมาก แต่ถาหากเราลงทุนแล้ว กว่าจะได้
้
กาไรคืนมา ต้องใช้เวลา และ อัตราดอกเบี้ยเป็ นปั จจัยในการคานวณแล้ว การจะเปรียบเทียบ
อะไร ก็ตองใช้มลค่า ณ เวลา เดียวกัน มาคิด เพื่อให้ถกต้องตามความเป็ นจริง เท่านันเอง
้
ู
ู
้

2. Cash Outflows กระแสเงินออก คือ เงินที่ เราจ่ายลงทุน หรือ นาไปฝากสถาบัน
การเงิน ซึ่งก็คือเงินที่จ่ายออกไปจากเรานันเอง
่

3. Cash Inflows กระแสเงินเข้า คือ เงิน หรือ ผลตอบแทนเป็ นเงิน ที่ได้รบจาก การ
ั
ลงทุน หรือ เงินออมของเรา ซึ่งเราได้รบเข้ามา
ั
4

4. Net Cash Flows กระแสเงินสุทธิ คือ ผลลัพท์ ของการหักกลบ-ลบกัน ระหว่าง
กระแสเงินออก กับ กระแสเงินเข้า ภายในงวดเดียวกัน ซึ่งอาจจะมีค่าเป็ น บวก หรือ ลบ ก็ได้
ซึ่งกระแสเงินออก จะมีค่าเป็ นลบ และ กระแสเงินเข้า จะมีค่าเป็ นบวก (ตามรูป)

ในที่นี้ ตามตัวอย่างที่ 2 Cash Outflow ก็คือ เงินจานวน 100 บาท และ Cash Inflow ก็คือ
เงิน จานวน 70 และ 80 บาท
ก่อนอื่น เราก็มาพิจารณาถึง มูลค่าปั จจุบนของเงิน (Present Value) กันก่อน เพราะ
ั
หากเราจะเปรียบเทียบกันจะต้องใช้เงิน ณ เวลาเดียวกัน แต่เนืองจาก เงิน จานวน 70 และ
่
80 บาท เป็ นเงินในอนาคต แต่เงิน จานวน 100 บาท เป็ นเงิน ณ เวลาปั จจุบน จึงต้อง
ั
เปลี่ยนค่าของเงินในอนาคต 70 และ 80 บาท ให้เป็ นเงินปั จจุบน (Present Value) เสียก่อน
ั
เพื่อที่จะนามาคานวณหาอัตราผลตอบแทนภายใน

สูตร มูลค่าปั จจุบน (Present Value)
ั
(
PV = Present Value (มูลค่าปั จจุบน)
ั
FV = Future Value (มูลค่าในอนาคต)
.r = Discount Rate (อัตราดอกเบี้ยที่คิดลด)
.n = Year (จานวนปี ที่คิดลด)

)
5

ตัวอย่างที่ 3 ถ้าเราอยากรูว่า มูลค่าปั จจุบนของเงิน 110 บาท ใน 1 ปี ข้างหน้า มีค่าเท่าไร
้
ั
ถ้าคิดจาก อัตราดอกเบี้ย 10 % ต่อปี ก็แทนค่าในสูตรได้เลย

(ของ

บาท)

(

(ของ

บาท)

(ของ

)

บาท)

เมื่อเรารูสตรของการ คิดมูลค่าปั จจุบนของเงินแล้ว เราก็จะสามารถหาค่า IRR ได้แล้ว
้ ู
ั
เพราะ อัตราผลตอบแทนภายใน ก็คือ อัตราดอกเบี้ย ที่จะทาให้ผลตอบแทน ที่ได้ในอนาคต
เท่ากับ เงินที่ลงทุน หรือ ออมไปในครังแรกนันเอง หรือ กล่าวอีกนัย หนึ่ง ก็คือ อัตรา
้
่
ผลตอบแทนภายใน คือ อัตราที่ ทาให้ มูลค่าปั จจุบนสุทธิ (Net Present Value)ของเงินลงทุน
ั
เท่ากับ 0 นันเอง ตามสูตร IRR
่

IRR = NPV- PV(CF0) + PV(CF1) + PV(CF2)…….PV(CFn) = 0
ตามรป
ู
6

แต่ในเมื่อเราไม่ทราบว่า อัตราดอกเบี้ยจริง ๆ มันเป็ นเท่าไรกันแน่ เราจึงต้องใช้วิธีเดาสุมเอา
่
ก่อนโดยอาจจะเริ่มจาก 30% ก่อน โดยคานวณดังนี้

ปั จจุบน (CF0)
ั

= -100

ปี ที่1 PV(CF1)

=

(

)

=
= 53.8461
ปี ที่ 2 PV(CF2)

=

(

)

=
= 47.3372
IRR = NPV- PV(CF0) + PV(CF1) + PV(CF2)…….PV(CFn) = 0

IRR = 100 -53.8461+ 47.3372 =

1.1833
7

ซึ่งแปลว่า อัตราดอกเบี้ย 30 % นันไม่ถกต้องเพราะว่า NPV เกินไป 29.7521 จึงต้องเดา
้
ู
ใหม่ ลองใช้ 31 % แล้วคานวณอีกครัง
้

ปั จจุบน (CF0)
ั
ปี ที่1 PV(CF1)

= -100
=

(

)

=
= 53.4351
ปี ที่ 2 PV(CF2)

=

(

)

=
= 46.6173
IRR = NPV- PV(CF0) + PV(CF1) + PV(CF2)…….PV(CFn) = 0
100 - 53.4351+ 46.6173 = 0.0524 ซึ่งถือว่าใกล้เคียง 0 ที่สด แล้ว จึงสรุปว่า
ุ
อัตราผลตอบแทนภายใน IRR ของโครงการนี้ จึงเท่ากับ 31 % (โดยประมาณ)
แต่ในปั จจุบน เรามีวิธีทงายกว่ามาก โดยสามารถ คานวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ซึ่ง
ั
ี่ ่
เครื่องจะทาการเดาให้เรา หลาย ๆ เที่ยว จนกระทังใกล้เคียงที่สด แล้วก็จะสรุป ออกมาเป็ น
่
ุ
อัตราที่ถกต้องที่สดให้เรา เครื่องที่ใช้ก็คือ โปรแกรม Microsoft Excel และ โปรแกรม
ู
ุ
คานวณ ทางการเงิน FC ซึ่งสามารถ ดาวน์โหลด ฟรี เข้าไว้ในเครื่อง โทรศัพท์ แบบ สมาร์ท
โฟน ได้ โดยเริ่มจากการทาตาราง ตามตัวอย่างนี้
8
9

ขันตอนการ คานวณ IRR ใน Microsoft Excel
้
1. ใส่ขอมูลในตาราง Excel
้

2. ใส่สตรให้เซลล์ เงินสุทธิ
ู
10

3. คัดลอกสูตร เงินสุทธิ ให้กบเซลล์เงินสุทธิ ทุกเซลล์
ั

4. ใส่สตร คานวณ IRR ลงในเซลล์ ผลลัพท์
ู
11

5. คลิ๊ก OK เพื่อยืนยัน

6.
12

7.

8.
13

การคานวณ IRR ด้วยเครืองคิดเลขการเงิน ในมือถือ
่
สาหรับ การคานวณ ในเครื่องคิดเลขการเงิน นัน ก็สามารถ นาตัวเลข ในช่องเงินสุทธิ ไป
้
กรอกใน ช่อง CF0, CF1……… CFn ได้เลย แต่ตองระวังเรื่อง เครื่องหมาย ลบ เพราะเครื่อง
้
จะไม่รว่า CF ใด เป็ นบวก หรือ ลบ ได้เอง พอใส่ตวเลขเสร็จแล้ว ก็กดปุ่ ม Calculate ก็จะ
ู้
ั
ได้ผลลัพท์ทนที
ั
ตัวอย่าง หน้า โปรแกรม เครื่องคิดเลขการเงิน (ดาวน์โหลดฟรี ชือ Financial Calculator ใน
่
โทรศัพท์มือถือ ที่ใช้ระบบปฏิบตการ Android)
ั ิ

เมื่อได้ ค่า IRR แล้ว และเราอยากทราบว่า ถ้าเปรียบเทียบกับธนาคารแล้ว ธนาคารจะต้อง
ประกาศจ่ายอัตราดอกเบี้ยเท่าไรจึงจะเท่ากับผลประโยชน์ที่ได้จากการออมกับประกันชีวิต ซึ่ง
ไม่ตองเสียภาษีเงินได้บคคลธรรมดา แต่เนืองจากธนาคารเมื่อจ่ายดอกเบี้ยก็จะต้องหักภาษี
้
ุ
่
14

ณ ที่จ่ายไว้ 15% ดังนัน ผลประโยชน์ที่ธนาคารประกาศจ่ายจะถูกลดลง 15% เมื่อเราจะ
้
เปรียบเทียบ เราก็จะต้องเอา ค่า IRR ที่เราหาได้ ไปหารด้วย 85% นันเอง
่
หรือ เทียบจากบัญญัตไตรยางค์
ิ
ถ้าดอกเบี้ยธนาคารจ่าย

85 บาท จากดอกเบี้ยเต็ม =

100

บาท

100

บาท

ดังนันดอกเบี้ยธนาคารจ่าย IRR บาท จากดอกเบี้ยเต็ม =
้

ถ้า IRR ที่เราคานวณได้จาก แบบประกัน 10/3 เท่ากับ 3.409
ถ้าดอกเบี้ยธนาคารจ่าย

85 บาท จากดอกเบี้ยเต็ม =

ดังนันดอกเบี้ยธนาคารจ่าย 3.409 บาท จากดอกเบี้ยเต็ม =
้

= 4.472 บาท
15

ตัวอย่าง การคานวณ IRR จากแบบประกัน
แบบประกัน 10/3 ทุนประกัน 100,000 บาท
1. ชาระเบี้ยปี ละ 70,000 . เงินคืน สิ้นปี ที่ 1-3 6% ของทุนประกัน
3. เงินคืน สิ้นปี ที่ 4-6 7% ของทุนประกัน 4. เงินคืน สิ้นปี ที่ 7-9 8% ของทุนประกัน
5. เงินคืน สิ้นปี ที่ 10 210% ของทุนประกัน
แบบประกัน 10/3
อาย ุ _40____ปี ท ุนประกัน 100,000_ บาท หญิง/ชาย

(1)
ปี CASH
ที่ FLOW

0
1
2
3
4
5
6
7
8
9

CF 0
CF 1
CF 2
CF 3
CF 4
CF 5
CF 6
CF 7
CF 8
CF 9
CF
10
10

เบี้ยรายปี

70,000
70,000
70,000

(2)

ผลประโยชน์

( 3 )เงิน
ส ุทธิ

เงินคืนระหว่าง จากการลดหย่อน = (3)+(2)(1) (-, + )
ภาษีเงินได้
สัญญา
0
6,000
6,000
6,000
7,000
7,000
7,000
8,000
8,000
8,000

2,100
2,100
2,100

210,000
IRR

3.802463305%
4.473486241%

ธนาคาร ต้องประกาศจ่าย
การคานวณนี้ใช้สมมติฐานว่าผอป. ซื้อประกันต้นปี เท่านัน
้

-70,000
-61,900
-61,900
8,100
7,000
7,000
7,000
8,000
8,000
8,000
210,000

NET
CASH
FLOWS
= CF 0
= CF 1
= CF 2
= CF 3
= CF 4
= CF 5
= CF 6
= CF 7
= CF 8
= CF 9
= CF 10
16

ตัวอย่าง การคานวณ IRR จากแบบประกัน 14/7 เพศหญิง อายุ 30 ปี
ทุนประกัน 100,000 บาท 1. ชาระเบี้ยปี ละ 21,100. เงินคืน สิ้นปี ที่ 2-14
ทุนประกัน 3. เงินคืน สิ้นปี ที่ 14 110% ของทุนประกัน

(1)
CASH
FLOW

0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13

CF 0
CF 1
CF 2
CF 3
CF 4
CF 5
CF 6
CF 7
CF 8
CF 9
CF 10
CF 11
CF 12
CF 13

14

เบี้ยรายปี

21,100
21,100
21,100
21,100
21,100
21,100
21,100

CF 14

เงินคืนระหว่าง
สัญญา

(3)

NET

เงินส ุทธิ

CASH

=(2)-(1) (-, + )

ปี ที่

(2)

4% ของ

FLOWS

-21,100
-17,100
-17,100
-17,100
-17,100
-17,100
-17,100
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000

= CF 0

0
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
4,000
114,000

114,000

IRR

1.34674%

ธนาคาร ต้องประกาศจ่าย

1.58440

= CF 1
= CF 2
= CF 3
= CF 4
= CF 5
= CF 6
= CF 7
= CF 8
= CF 9
= CF 10
= CF 11
= CF 12
= CF 13
= CF 14
17

ตัวอย่าง การคานวณ IRR จากแบบประกัน 5/3 เพศหญิง/ชาย อายุ 50 ปี
ทุนประกัน 100,000 บาท 1. ชาระเบี้ยปี ละ 99,800 เงินคืน สิ้นปี ที่ 1-4
ทุนประกัน 3. เงินคืน สิ้นปี ที่ 5 308% ของทุนประกัน

(1)
ปี ที่

CASH
FLOW

เบี้ยรายปี

(2)
เงินคืนระหว่าง
สัญญา

5% ของ

(3)

NET

เงินส ุทธิ

CASH

=(2)-(1) (-, + ) FLOWS
0
1
2
3
4
5

CF 0
CF 1
CF 2
CF 3
CF 4
CF 5

99,800
99,800
99,800

0
5,000
5,000
5,000
5,000
308,000

IRR

= CF 0
= CF 1
= CF 2
= CF 3
= CF 4
= CF 5

2.39787%

ธนาคาร ต้องประกาศจ่าย

-99,800
-94,800
-94,800
5,000
5,000
308,000

2.82103

การคานวณ IRR กรณี มีผลประโยชน์อื่น เพิ่มเติม
บางกรณีเราสามารถนาผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนืองกับกรมธรรม์ ที่เรานาเสนอผูมงหวังเอามา
่
้ ุ่
คานวณเพื่อให้ผมงหวังเห็นประโยชน์เพิ่มเติมได้อีก เช่น ค่าลดหย่อน จากการใช้สิทธิ
ู้ ่ ุ
ประโยชน์ทางภาษีเงินได้บคคลธรรมดา หรือ ผลประโยชน์อื่นในทานองเดียวกัน หรือ
ุ
โปรโมชันของบริษท ที่จะลดเบี้ยประกันให้กบลูกค้า ในปี แรก ก็ได้ เช่นกัน โดยเพิ่มช่อง ตาราง
่
ั
ั
เข้าไปอีก 1 ช่อง แต่สาหรับในเรื่องการลดหย่อนภาษีนน ขึนอยู่กบว่าลูกค้า ซื้อประกัน
ั้ ้
ั
ในช่วงใดของปี เช่น ถ้าลูกค้าซื้อประกันในช่วง ปลายปี 2556 และ นาเบี้ยไปลดหย่อนในต้น
ปี 2557 ก็ถือว่า ค่าลดหย่อนที่ลกค้าได้รบ สามารถ นามาใส่ในช่อง ผลประโยชน์ทางภาษีที่
ู
ั
CF0 ได้เลย แต่ถาลูกค้าซื้อ ช่วงต้นปี 2556 และ ไม่เลยกลางปี ก็นาจะนาไปใส่ในช่อง CF1
้
่
น่าจะใกล้เคียงความจริงมากกว่า (ความคิดเห็นส่วนตัว)
18

จบ

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นbenjamars nutprasat
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4Joe Stk
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
ตาราง สัปดาห์ 1
ตาราง สัปดาห์ 1ตาราง สัปดาห์ 1
ตาราง สัปดาห์ 1koostudy
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 

What's hot (20)

บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ตาราง สัปดาห์ 1
ตาราง สัปดาห์ 1ตาราง สัปดาห์ 1
ตาราง สัปดาห์ 1
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 

Similar to การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)

Similar to การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN) (20)

B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
B11112008
B11112008B11112008
B11112008
 
Sisel Team Power
Sisel Team PowerSisel Team Power
Sisel Team Power
 
Presentation topup2richnew
Presentation topup2richnewPresentation topup2richnew
Presentation topup2richnew
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1
 
Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai)
Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai)Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai)
Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai)
 
53011213097
5301121309753011213097
53011213097
 
07 businessfinance v1
07 businessfinance v107 businessfinance v1
07 businessfinance v1
 
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการสัมมนา MONEY LITERACY ชุดที่ 4
 
If statement
If statementIf statement
If statement
 
If statement
If statementIf statement
If statement
 
Successmore Marketing Plan by Touchaphun W.
Successmore Marketing Plan by Touchaphun W.Successmore Marketing Plan by Touchaphun W.
Successmore Marketing Plan by Touchaphun W.
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and series
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
Hw3 1-54
Hw3 1-54Hw3 1-54
Hw3 1-54
 
Hw3 1-54
Hw3 1-54Hw3 1-54
Hw3 1-54
 
Hw3 1-54
Hw3 1-54Hw3 1-54
Hw3 1-54
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 

การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)

  • 1. 1 การคานวณอัตราผลตอบแทนภายใน Internal Rate of Return โดย ฑิฆมพร วีรวิทยาเศรษฐ์ ั ผูจดการภาค อาวุโส บริษทไทยประกันชีวิต จากัด สาขาธนบุรี ้ั ั โทร. 084-638-8638 17 สิงหาคม 2556 คาอธิบาย คาว่า อัตราผลตอบแทนภายใน Internal Rate of Return ก่อนอื่นเราต้องมารูจกกับคาว่าอัตราผลตอบแทนกันก่อนว่าคืออะไร ? ้ั อัตราผลตอบแทน คือ “อัตราความเร็วที่เงินจะให้ผลตอบแทนกลับมาหาคุณหลังจากที่คณ ุ ลงทุน หรือ ออมไปแล้ว” ซึ่งก็คือ เงินที่คณลงทุนในธุรกิจ หรือ ฝากธนาคาร หรือ ออม ุ ทรัพย์ กับธุรกิจประกันชีวิต และคุณก็จะต้องได้ กาไร หรือ ดอกเบี้ยกลับคืนมานันเอง แล้ว ่ เมื่อลงทุนไปแล้ว จะได้ผลตอบแทนกลับมาเร็วแค่ไหนกันเมื่อเราได้ลงทุน หรือ ออมเงิน(กับ สถาบันการเงิน) ไปแล้ว และอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนนัน จะกาหนดเป็ น เปอร์เซ็นต่อ ้ ปี ตัวอย่างที่ 1 เช่น เราลงทุน หรือ ออมเงิน ในปี นี้ 100 บาท และ ต่อมาได้รบเงินคืนกลับมา ั 4 บาท ในแต่ละปี ตลอดไป ในกรณีนี้ เราจะเรียกว่า อัตราผลตอบแทน จะเท่ากับ 4 % ต่อปี นันเป็ นเพราะว่า เราได้รับผลตอบแทน กลับมาปี ละ 4 % ของเงิน 100 บาท เป็ นจานวนที่ ่ แน่นอนตลอดไป แล้วพอสิ้นสุดโครงการ ก็คืนเงินต้นให้เราด้วย นันเอง(ตามรูป) ่ ถ้าผลตอบแทนทุกชนิดเป็ นเช่นนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องยากในการคิดอัตราผลตอบแทน แต่ในความ เป็ นจริงของการลงทุน หรือ การออม บางครังผลประโยชน์ หรือเงินที่ได้กลับคืนมาก็ไม่ได้ ้
  • 2. 2 เป็ นอัตราที่เท่า ๆ กัน ทุกปี อาจจะมีมากบ้าง น้อยบ้าง หรือบางปี มี บางปี ก็ไม่มี จากเงิน ลงทุน หรือเงินออมก้อนเดียวกัน หรือหลายก้อน ซึ่งทาให้ยากที่จะรูไ้ ด้ว่า ผลตอบแทนที่ได้รบ ั หลังจากหลาย ๆ ปี ผ่านไป เป็ นอัตราเท่าไรกันแน่ ซึ่งเราจะยกตัวอย่างดังนี้ ตัวอย่างที่ 2 เราออมเงิน หรือ ลงทุน จานวนเงิน 100 บาท ในปี นี้ และต่อมา เราได้รบ ั เงินคืนกลับมา ในปี ที่ 1 จานวน 70 บาท และพอปี ที่ 2 เราได้กลับคืนมาอีก 80 บาท แล้วก็ หยุดแค่นน ไม่ใช่ตลอดไปเหมือนเดิม คราวนี้ เราจะรูไ้ ด้อย่างไร ว่าอัตราผลตอบแทนของเรา ั้ เป็ นกี่เปอร์เซ็นต์กนแน่ ดูตามรูปนี้ ั มาถึงกรณีนี้ เราจะพบว่า อัตราผลตอบแทน มันจะถูกซ่อนอยู่ภายใน ไม่ได้ปรากฏให้เราเห็น ชัดเจนเหมือน การรับผลตอบแทนที่เป็ นจานวนแน่นอนทุกปี อีกต่อไป เราจึงเรียกมันอีกชือ ่ หนึงว่า อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return) นันเอง ่ ่ ในการคานวณหาอัตราผลตอบแทนภายในนัน เราจาเป็ นต้องใช้สตรคานวณ ซึ่งก่อนที่จะใช้ ้ ู สูตรนัน เราต้องมาทาความรูจก กับคาบางคาก่อน คือ ้ ้ั 1. Present Value of Cash มูลค่าปั จจุบนของเงิน คือ มูลค่าของเงินในอนาคต ที่คิดลด ั ด้วยอัตราดอกเบี้ย ลงมาจนถึง ณ เวลา ปั จจุบน เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบกับค่าของเงินใน ั ปั จจุบนเพื่อหาค่าต่าง ๆ เงิน 1บาท หรือ 1 หน่วยในวันนี้ จะมีค่าเท่าไรในอนาคต หรือ เงิน ั จานวนหนึงในอนาคต ถ้าคิดย้อนกลับมาในวันนีจะมีค่าเท่าไร โดยตามหลักทัวๆไปแล้ว เรา ่ ้ ่ มักจะกล่าวกันว่า เงิน 1 หน่วยในวันนี้ จะมีค่ามากขึนในอนาคต ซึ่งตัวแปรสาคัญที่ทาให้เป็ น ้ เช่นนัน คือ อัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราผลตอบแทน โดยสูตรการคิดหามูลค่าปั จจุบน คือ PV ้ ั
  • 3. 3 ( ) อธิบายด้วยรูปดังนี้ ทาไมต้องทาให้เป็ นค่าปัจจุบัน หลายคนอาจสงสัยว่า ทาไมต้องมาเทียบค่าเงินให้เป็ นค่าปั จจุบนให้ย่งยาก เราสามารถ ั ุ อธิบายได้ว่า มันเนืองจาก มีปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับเงิน อยู่ หลายประการ เช่น ค่าเสียโอกาส, ่ ต้นเงิน, อัตราดอกเบี้ย, และ ระยะเวลา เป็ นต้น แต่ที่เราจะนามาพิจารณากันนี้ ก็เพียง ต้นเงิน, อัตราดอกเบี้ย และ ระยะเวลา เท่านัน ดังนัน ถ้าหากว่าเราลงทุน แล้วได้กาไรเสร็จสิ้นภายใน ้ ้ วันเดียวกัน มูลค่าของเงิน ก็จะเป็ นมูลค่าของเงินในวันเดียวกัน จะไม่มีอตราดอกเบี้ย และ ั ระยะเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เมื่อเรา ลงทุน ไป 100 บาท แล้ว ได้กาไร กลับมา ในวันนัน ้ 20 บาท ก็แสดงว่า เราได้กาไร 20% ซึ่งคิดง่ายมาก แต่ถาหากเราลงทุนแล้ว กว่าจะได้ ้ กาไรคืนมา ต้องใช้เวลา และ อัตราดอกเบี้ยเป็ นปั จจัยในการคานวณแล้ว การจะเปรียบเทียบ อะไร ก็ตองใช้มลค่า ณ เวลา เดียวกัน มาคิด เพื่อให้ถกต้องตามความเป็ นจริง เท่านันเอง ้ ู ู ้ 2. Cash Outflows กระแสเงินออก คือ เงินที่ เราจ่ายลงทุน หรือ นาไปฝากสถาบัน การเงิน ซึ่งก็คือเงินที่จ่ายออกไปจากเรานันเอง ่ 3. Cash Inflows กระแสเงินเข้า คือ เงิน หรือ ผลตอบแทนเป็ นเงิน ที่ได้รบจาก การ ั ลงทุน หรือ เงินออมของเรา ซึ่งเราได้รบเข้ามา ั
  • 4. 4 4. Net Cash Flows กระแสเงินสุทธิ คือ ผลลัพท์ ของการหักกลบ-ลบกัน ระหว่าง กระแสเงินออก กับ กระแสเงินเข้า ภายในงวดเดียวกัน ซึ่งอาจจะมีค่าเป็ น บวก หรือ ลบ ก็ได้ ซึ่งกระแสเงินออก จะมีค่าเป็ นลบ และ กระแสเงินเข้า จะมีค่าเป็ นบวก (ตามรูป) ในที่นี้ ตามตัวอย่างที่ 2 Cash Outflow ก็คือ เงินจานวน 100 บาท และ Cash Inflow ก็คือ เงิน จานวน 70 และ 80 บาท ก่อนอื่น เราก็มาพิจารณาถึง มูลค่าปั จจุบนของเงิน (Present Value) กันก่อน เพราะ ั หากเราจะเปรียบเทียบกันจะต้องใช้เงิน ณ เวลาเดียวกัน แต่เนืองจาก เงิน จานวน 70 และ ่ 80 บาท เป็ นเงินในอนาคต แต่เงิน จานวน 100 บาท เป็ นเงิน ณ เวลาปั จจุบน จึงต้อง ั เปลี่ยนค่าของเงินในอนาคต 70 และ 80 บาท ให้เป็ นเงินปั จจุบน (Present Value) เสียก่อน ั เพื่อที่จะนามาคานวณหาอัตราผลตอบแทนภายใน สูตร มูลค่าปั จจุบน (Present Value) ั ( PV = Present Value (มูลค่าปั จจุบน) ั FV = Future Value (มูลค่าในอนาคต) .r = Discount Rate (อัตราดอกเบี้ยที่คิดลด) .n = Year (จานวนปี ที่คิดลด) )
  • 5. 5 ตัวอย่างที่ 3 ถ้าเราอยากรูว่า มูลค่าปั จจุบนของเงิน 110 บาท ใน 1 ปี ข้างหน้า มีค่าเท่าไร ้ ั ถ้าคิดจาก อัตราดอกเบี้ย 10 % ต่อปี ก็แทนค่าในสูตรได้เลย (ของ บาท) ( (ของ บาท) (ของ ) บาท) เมื่อเรารูสตรของการ คิดมูลค่าปั จจุบนของเงินแล้ว เราก็จะสามารถหาค่า IRR ได้แล้ว ้ ู ั เพราะ อัตราผลตอบแทนภายใน ก็คือ อัตราดอกเบี้ย ที่จะทาให้ผลตอบแทน ที่ได้ในอนาคต เท่ากับ เงินที่ลงทุน หรือ ออมไปในครังแรกนันเอง หรือ กล่าวอีกนัย หนึ่ง ก็คือ อัตรา ้ ่ ผลตอบแทนภายใน คือ อัตราที่ ทาให้ มูลค่าปั จจุบนสุทธิ (Net Present Value)ของเงินลงทุน ั เท่ากับ 0 นันเอง ตามสูตร IRR ่ IRR = NPV- PV(CF0) + PV(CF1) + PV(CF2)…….PV(CFn) = 0 ตามรป ู
  • 6. 6 แต่ในเมื่อเราไม่ทราบว่า อัตราดอกเบี้ยจริง ๆ มันเป็ นเท่าไรกันแน่ เราจึงต้องใช้วิธีเดาสุมเอา ่ ก่อนโดยอาจจะเริ่มจาก 30% ก่อน โดยคานวณดังนี้ ปั จจุบน (CF0) ั = -100 ปี ที่1 PV(CF1) = ( ) = = 53.8461 ปี ที่ 2 PV(CF2) = ( ) = = 47.3372 IRR = NPV- PV(CF0) + PV(CF1) + PV(CF2)…….PV(CFn) = 0 IRR = 100 -53.8461+ 47.3372 = 1.1833
  • 7. 7 ซึ่งแปลว่า อัตราดอกเบี้ย 30 % นันไม่ถกต้องเพราะว่า NPV เกินไป 29.7521 จึงต้องเดา ้ ู ใหม่ ลองใช้ 31 % แล้วคานวณอีกครัง ้ ปั จจุบน (CF0) ั ปี ที่1 PV(CF1) = -100 = ( ) = = 53.4351 ปี ที่ 2 PV(CF2) = ( ) = = 46.6173 IRR = NPV- PV(CF0) + PV(CF1) + PV(CF2)…….PV(CFn) = 0 100 - 53.4351+ 46.6173 = 0.0524 ซึ่งถือว่าใกล้เคียง 0 ที่สด แล้ว จึงสรุปว่า ุ อัตราผลตอบแทนภายใน IRR ของโครงการนี้ จึงเท่ากับ 31 % (โดยประมาณ) แต่ในปั จจุบน เรามีวิธีทงายกว่ามาก โดยสามารถ คานวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ซึ่ง ั ี่ ่ เครื่องจะทาการเดาให้เรา หลาย ๆ เที่ยว จนกระทังใกล้เคียงที่สด แล้วก็จะสรุป ออกมาเป็ น ่ ุ อัตราที่ถกต้องที่สดให้เรา เครื่องที่ใช้ก็คือ โปรแกรม Microsoft Excel และ โปรแกรม ู ุ คานวณ ทางการเงิน FC ซึ่งสามารถ ดาวน์โหลด ฟรี เข้าไว้ในเครื่อง โทรศัพท์ แบบ สมาร์ท โฟน ได้ โดยเริ่มจากการทาตาราง ตามตัวอย่างนี้
  • 8. 8
  • 9. 9 ขันตอนการ คานวณ IRR ใน Microsoft Excel ้ 1. ใส่ขอมูลในตาราง Excel ้ 2. ใส่สตรให้เซลล์ เงินสุทธิ ู
  • 10. 10 3. คัดลอกสูตร เงินสุทธิ ให้กบเซลล์เงินสุทธิ ทุกเซลล์ ั 4. ใส่สตร คานวณ IRR ลงในเซลล์ ผลลัพท์ ู
  • 11. 11 5. คลิ๊ก OK เพื่อยืนยัน 6.
  • 13. 13 การคานวณ IRR ด้วยเครืองคิดเลขการเงิน ในมือถือ ่ สาหรับ การคานวณ ในเครื่องคิดเลขการเงิน นัน ก็สามารถ นาตัวเลข ในช่องเงินสุทธิ ไป ้ กรอกใน ช่อง CF0, CF1……… CFn ได้เลย แต่ตองระวังเรื่อง เครื่องหมาย ลบ เพราะเครื่อง ้ จะไม่รว่า CF ใด เป็ นบวก หรือ ลบ ได้เอง พอใส่ตวเลขเสร็จแล้ว ก็กดปุ่ ม Calculate ก็จะ ู้ ั ได้ผลลัพท์ทนที ั ตัวอย่าง หน้า โปรแกรม เครื่องคิดเลขการเงิน (ดาวน์โหลดฟรี ชือ Financial Calculator ใน ่ โทรศัพท์มือถือ ที่ใช้ระบบปฏิบตการ Android) ั ิ เมื่อได้ ค่า IRR แล้ว และเราอยากทราบว่า ถ้าเปรียบเทียบกับธนาคารแล้ว ธนาคารจะต้อง ประกาศจ่ายอัตราดอกเบี้ยเท่าไรจึงจะเท่ากับผลประโยชน์ที่ได้จากการออมกับประกันชีวิต ซึ่ง ไม่ตองเสียภาษีเงินได้บคคลธรรมดา แต่เนืองจากธนาคารเมื่อจ่ายดอกเบี้ยก็จะต้องหักภาษี ้ ุ ่
  • 14. 14 ณ ที่จ่ายไว้ 15% ดังนัน ผลประโยชน์ที่ธนาคารประกาศจ่ายจะถูกลดลง 15% เมื่อเราจะ ้ เปรียบเทียบ เราก็จะต้องเอา ค่า IRR ที่เราหาได้ ไปหารด้วย 85% นันเอง ่ หรือ เทียบจากบัญญัตไตรยางค์ ิ ถ้าดอกเบี้ยธนาคารจ่าย 85 บาท จากดอกเบี้ยเต็ม = 100 บาท 100 บาท ดังนันดอกเบี้ยธนาคารจ่าย IRR บาท จากดอกเบี้ยเต็ม = ้ ถ้า IRR ที่เราคานวณได้จาก แบบประกัน 10/3 เท่ากับ 3.409 ถ้าดอกเบี้ยธนาคารจ่าย 85 บาท จากดอกเบี้ยเต็ม = ดังนันดอกเบี้ยธนาคารจ่าย 3.409 บาท จากดอกเบี้ยเต็ม = ้ = 4.472 บาท
  • 15. 15 ตัวอย่าง การคานวณ IRR จากแบบประกัน แบบประกัน 10/3 ทุนประกัน 100,000 บาท 1. ชาระเบี้ยปี ละ 70,000 . เงินคืน สิ้นปี ที่ 1-3 6% ของทุนประกัน 3. เงินคืน สิ้นปี ที่ 4-6 7% ของทุนประกัน 4. เงินคืน สิ้นปี ที่ 7-9 8% ของทุนประกัน 5. เงินคืน สิ้นปี ที่ 10 210% ของทุนประกัน แบบประกัน 10/3 อาย ุ _40____ปี ท ุนประกัน 100,000_ บาท หญิง/ชาย (1) ปี CASH ที่ FLOW 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 CF 0 CF 1 CF 2 CF 3 CF 4 CF 5 CF 6 CF 7 CF 8 CF 9 CF 10 10 เบี้ยรายปี 70,000 70,000 70,000 (2) ผลประโยชน์ ( 3 )เงิน ส ุทธิ เงินคืนระหว่าง จากการลดหย่อน = (3)+(2)(1) (-, + ) ภาษีเงินได้ สัญญา 0 6,000 6,000 6,000 7,000 7,000 7,000 8,000 8,000 8,000 2,100 2,100 2,100 210,000 IRR 3.802463305% 4.473486241% ธนาคาร ต้องประกาศจ่าย การคานวณนี้ใช้สมมติฐานว่าผอป. ซื้อประกันต้นปี เท่านัน ้ -70,000 -61,900 -61,900 8,100 7,000 7,000 7,000 8,000 8,000 8,000 210,000 NET CASH FLOWS = CF 0 = CF 1 = CF 2 = CF 3 = CF 4 = CF 5 = CF 6 = CF 7 = CF 8 = CF 9 = CF 10
  • 16. 16 ตัวอย่าง การคานวณ IRR จากแบบประกัน 14/7 เพศหญิง อายุ 30 ปี ทุนประกัน 100,000 บาท 1. ชาระเบี้ยปี ละ 21,100. เงินคืน สิ้นปี ที่ 2-14 ทุนประกัน 3. เงินคืน สิ้นปี ที่ 14 110% ของทุนประกัน (1) CASH FLOW 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 CF 0 CF 1 CF 2 CF 3 CF 4 CF 5 CF 6 CF 7 CF 8 CF 9 CF 10 CF 11 CF 12 CF 13 14 เบี้ยรายปี 21,100 21,100 21,100 21,100 21,100 21,100 21,100 CF 14 เงินคืนระหว่าง สัญญา (3) NET เงินส ุทธิ CASH =(2)-(1) (-, + ) ปี ที่ (2) 4% ของ FLOWS -21,100 -17,100 -17,100 -17,100 -17,100 -17,100 -17,100 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 = CF 0 0 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 4,000 114,000 114,000 IRR 1.34674% ธนาคาร ต้องประกาศจ่าย 1.58440 = CF 1 = CF 2 = CF 3 = CF 4 = CF 5 = CF 6 = CF 7 = CF 8 = CF 9 = CF 10 = CF 11 = CF 12 = CF 13 = CF 14
  • 17. 17 ตัวอย่าง การคานวณ IRR จากแบบประกัน 5/3 เพศหญิง/ชาย อายุ 50 ปี ทุนประกัน 100,000 บาท 1. ชาระเบี้ยปี ละ 99,800 เงินคืน สิ้นปี ที่ 1-4 ทุนประกัน 3. เงินคืน สิ้นปี ที่ 5 308% ของทุนประกัน (1) ปี ที่ CASH FLOW เบี้ยรายปี (2) เงินคืนระหว่าง สัญญา 5% ของ (3) NET เงินส ุทธิ CASH =(2)-(1) (-, + ) FLOWS 0 1 2 3 4 5 CF 0 CF 1 CF 2 CF 3 CF 4 CF 5 99,800 99,800 99,800 0 5,000 5,000 5,000 5,000 308,000 IRR = CF 0 = CF 1 = CF 2 = CF 3 = CF 4 = CF 5 2.39787% ธนาคาร ต้องประกาศจ่าย -99,800 -94,800 -94,800 5,000 5,000 308,000 2.82103 การคานวณ IRR กรณี มีผลประโยชน์อื่น เพิ่มเติม บางกรณีเราสามารถนาผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนืองกับกรมธรรม์ ที่เรานาเสนอผูมงหวังเอามา ่ ้ ุ่ คานวณเพื่อให้ผมงหวังเห็นประโยชน์เพิ่มเติมได้อีก เช่น ค่าลดหย่อน จากการใช้สิทธิ ู้ ่ ุ ประโยชน์ทางภาษีเงินได้บคคลธรรมดา หรือ ผลประโยชน์อื่นในทานองเดียวกัน หรือ ุ โปรโมชันของบริษท ที่จะลดเบี้ยประกันให้กบลูกค้า ในปี แรก ก็ได้ เช่นกัน โดยเพิ่มช่อง ตาราง ่ ั ั เข้าไปอีก 1 ช่อง แต่สาหรับในเรื่องการลดหย่อนภาษีนน ขึนอยู่กบว่าลูกค้า ซื้อประกัน ั้ ้ ั ในช่วงใดของปี เช่น ถ้าลูกค้าซื้อประกันในช่วง ปลายปี 2556 และ นาเบี้ยไปลดหย่อนในต้น ปี 2557 ก็ถือว่า ค่าลดหย่อนที่ลกค้าได้รบ สามารถ นามาใส่ในช่อง ผลประโยชน์ทางภาษีที่ ู ั CF0 ได้เลย แต่ถาลูกค้าซื้อ ช่วงต้นปี 2556 และ ไม่เลยกลางปี ก็นาจะนาไปใส่ในช่อง CF1 ้ ่ น่าจะใกล้เคียงความจริงมากกว่า (ความคิดเห็นส่วนตัว)