SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)

   Antiderivative (Indefinite Integral)
   Differential Equation
   And Modeling
Antiderivative (Indefinite
Integral)

นิยาม
ฟังก์ชัน F(x) เป็น antiderivative ของ f(x) ถ้าหาก
       F’(x) = f(x)
สำาหรับทุก x ในโดเมนของ f เซ็ตของทุกๆ
   antiderivative ของ f เรียกว่า
indefinite integral ของ f เทียบกับ x แสดงด้วย
                  ∫ f ( x)dx
       Integral                  Variable of
         sign      integrand     integration
ตัวอย่างที่ 1

 จงหา      ∫ 2xdx               antiderivative
     ค่า
วิธีทำา
                    ∫ 2xdx = x 2 + C             The arbitrary
                                                   constant
ตารางแสดงค่า antiderivative
ตัวอย่างที่ 2 (เลือกค่า
antiderivative จากตาราง)
ตัวอย่างที่ 3 (ตรวจสอบผลการอินทิ
เกรตโดยการหาอนุพันธ์)


   ∫ x cos xdx = x sin x + cos x + C           ?

d
   ( x sin x + cos x + C ) = x cos x + sin x − sin x + 0 = x cos x
dx
ปัญหาค่าเริมต้น (Initial Value
           ่
Problems)

ปัญหาที่กำาหนดอนุพันธ์ y’(x) และกำาหนดค่าเริ่มต้น
  yo เมื่อ x=xo มาให้
ตัวอย่างที่ 4

    จงหาเส้นโค้งที่มีความชันของเส้นสัมผัสที่จัด (x,y)
      ใดๆ เป็น 3x2 และผ่านจุด (1,-1)
                                   dy
วิธีทำา
                                     ∫ dx   dx = ∫ 3 x 2 dx
                        dy
The differential equation: 3x
                           =     2
                                     y + C1 = x 3 + C2
                        dx                                    General
The initial condition: y(1) = −1     y = x +C
                                            3
                                                              solution


                                       y = x3 + C
                           Initial    −1 = (1)3 + C            Particular
                         condition                              solution
                                      C = −2
การสร้างแบบจำาลองทางคณิตศาสตร์
(Mathematical Modeling)


                   -กำาหนดตัวแปร
                   -หาสมการอนุพนธ์ั
                   -กำาหนดค่าเงื่อนไขเริ่มต้น
ตัวอย่างที่ 5

    บอลลูนกำาลังลอยขึ้นด้วยอัตรา12 ฟุต/วินาที ที่ความ
       สูง 80 ฟุต เหนือพื้น
    ก่อนที่จะโยนของลงมา ของจะตกถึงพื้นเมื่อเวลาใด?
กำาหนดให้ v(t) = ความเร็ว
             t = เวลา
             s(t)= ระยะความสูงจากพื้น
                                           สมการ
   ความเร่งเนื่อง             dv           อนุพัน
                                 = g = −32
   จากแรงดึงดูดของโลก         dt              ธ์
ตัวอย่างที่ 5 (ต่อ)

    เงื่อนไขเริ่มต้น: v(0) = 12
    แก้สมการ dv
                  = −32
               dt
                 dv
               ∫ dt dt = ∫ −32dt
               v = −32t + C
หาค่า C จากเงื่อนไขเริ่มต้น
               12 = −32(0) + C
                                   v = −32t + 12
               C = 12
ตัวอย่างที่ 5 (ต่อ)

   กำาหนดสมการ               ds
                          v=    = −32t + 12
      อนุพันธ์               dt
                           s (0) = 80
  แก้าหนดเงื่อนไขเริ่ม−32t + 12)dt
   กำ สมการ ds
      ต้น     ∫ dt dt = ∫ (
              s = −16t 2 + 12t + C

แทนค่าเงื่อนไขเริ่มต้น
               80 = −16(0)2 + 12(0) + C       s = −16t 2 + 12t + 80
               C = 80
ตัวอย่างที่ 5 (ต่อ)

หาเวลาที่ระยะทาง = 0
       s = −16t 2 + 12t + 80 = 0
       −4t 2 + 3t + 20 = 0
          −3 ± 329
       t=
              −8
       = −1.89, 2.64
4.2 Integrating Rules,
Integration by substitution
ตัวอย่างที่ 1


 ∫ 5sec x tan xdx
   ∫ 5sec x tan xdx = 5∫ sec x tan xdx
   = 5(sec x + C )
   = 5sec x + 5C
   = 5sec x + C '
ตัวอย่างที่ 2 อินทีเกรตทีละเทอม

∫ ( x 2 − 2 x + 5)dx

 ∫ ( x 2 − 2 x + 5)dx = ∫ x 2 dx − 2 ∫ xdx + 5∫ dx
  1 3
 = x − x2 + 5x + C
  3
ตัวอย่างที่ 3 อินทีเกรต sin2x และ
cos2x
               1 − cos 2 x
∫ sin 2 xdx = ∫
                    2
                           dx

   1                    1         1
= ∫ (1 − cos 2 x)dx = ∫ dx − ∫ cos 2 xdx
   2                     2        2
   x 1 sin 2 x          x sin 2 x
= −             +C = −              +C
   2 2 2                2      4
                1 + cos 2 x
∫ cos 2 xdx = ∫
                     2
                            dx

   1                      1        1
= ∫ (1 + cos 2 x)dx = ∫ dx + ∫ cos 2 xdx
   2                      2        2
   x 1 sin 2 x           x sin 2 x
= +              +C = +              +C
   2 2 2                 2      4
ตัวอย่างที่ 4 ใช้ power rule


      ∫   1 + y 2 2 ydy = ∫ u1/ 2 du
              1 +1
          u   2

      =              +C
          1
          2   +1
       2 3/ 2
      = u +C
       3
       2
      = (1 + y 2 )3/ 2 + C
       3
ตัวอย่างที่ 5 ปรับเปลี่ยนค่าคงที่

   ∫   4t − 1dt = ∫ u1/ 2 1 du
                          4

     1 1/ 2
   = ∫ u du
     4
     1 u 3/ 2
   =          +C
     4 23

     1 3/ 2
   = u +C
     6
     1
   = (4t − 1)3/ 2 + C
     6
ตัวอย่างที่ 6 เปลี่ยนตัวแปร

       ∫ cos(7θ + 5)dθ = ∫ cos(u ). 1 du
                                    7

        1
       = ∫ cos udu
        7
        1
       = sin u + C
        7
        1
       = sin(7θ + 5) + C
        7
ตัวอย่างที่ 7

       ∫ x 2 sin( x 3 )dx = ∫ sin( x 3 ).x 2 dx

       = ∫ sin u. 1 du
                  3

         1
       = ∫ sin udu
         3
         1
       = (− cos u ) + C
         3
           1
       = − cos( x 3 ) + C
           3
ตัวอย่างที่ 8 เอกลักษณ์ตรีโกณฯ

           1
      ∫ cos2 2 x dx = ∫ sec 2 2 xdx

      = ∫ sec 2 u. 1 du
                   2

       1
      = ∫ sec 2 udu
       2
       1
      = tan u + C
       2
       1
      = tan(2 x) + C
       2
4.3 การประมาณพื้นที่ใต้กราฟโดย
finite Sums

การหาอัตราการสูบฉีดเลือดของหัวใจทำาได้โดยการ
   ฉีดสีย้อม (กำามันตรังสีที่ไม่
เป็นอันตราย) เข้าไปห้องขวาของหัวใจ เลือดจะไหล
   ผ่านปอด แล้วกลับมาที่
หัวใจห้องซ้ายก่อนจะไหลออกเส้นเลือดใหญ่ ซึ่งจะ
   เป็นจุดที่วัดความเข้มข้นของ
สีย้อม
พื้นทีใต้กราฟมีความหมายอะไร?
      ่
การประมาณปริมาตรของทรงกลม
การประมาณค่าเฉลี่ยของฟังก์ชันโดย
พื้นทีใต้การฟ
      ่
4.4 Riemann Sums and Definite
Integral

   สัญลักษณ์ sigma
Riemann Sums
นิยามของ definite Integral ด้วยลิ
มิตของ Riemann Sums

ให้ f เป็นฟักชันที่นิยามในช่วง [a,b] ถ้าหากแบ่งออก
             ์
  เป็นช่วงย่อยๆด้วยตัว
แบ่ง P และ ck อยู่ระหว่างแต่ละช่วงย่อย [xk-1,xk]
                      n
ถ้าหากมีจำานวนจริง I fทีc )∆x = I
             lim ∑ ( ่ทำาให้
                         k   k
              P →0
                     k =1




ไม่ว่าจะเลือกแบ่ง P และเลือก ck อย่างไรก็ได้
ดังนั้น f สามารถอินทิเกรตได้ในช่วง [a,b] และ I เป็น
   ค่า Definite Integral ของ f
ทฤษฎีบทที่ 1

ทุกฟังก์ชนที่ตอเนื่อง สามารถอินทิเกรตได้
         ั    ่
การแสดงสัญลักษณ์ของ Definite
Integration

                                        ∆y dy
  Differentiation                 lim      =
                                  ∆x →0 ∆x   dx
                                          n         b

   Integration                    lim ∑ f (ck )∆x = ∫ f ( x)dx
                                  n →∞
                                         k =1       a


           Upper limit
                             b
                         ∫
                         a
                                 f ( x)dx
           lower limit
ตัวอย่างที่ 2

จงแสดง limit ในรูปของ Integration ในช่วงของ x
  = [-1,3] และ mk เป็นกึ่งกลาง
          n                      3
ของช่ว(3(mk่ )k− 2mk + 5)∆x
 lim ∑ งที      2
                              = ∫ (3 x 2 − 2 x + 5)dx
  n →∞
         k =1                    −1
นิยาม พื้นที่ใต้กราฟ

ถ้า y=f(x) ไม่มีค่าเป็นลบ และอินทีเกรตได้ในช่วง
   [a,b] จะได้วาพื้นที่ใต้
               ่
                    b
กราฟเป็น A =
                 ∫a
                       f ( x)dx
ตัวอย่าง

พิจารณาพื้นที่ใต้กราฟ y=x ในช่วง [a,b]
นิยาม ค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน

ค่าเฉลี่ยของฟังก์ชน f ในช่วง [a,b] คือ
                  ั

                     1 b
             f av =
                    b−a ∫a f ( x)dx
ตัวอย่าง

หาค่าเฉลี่ยฟัง ( x) =
             f ก์ชัน 4 − x 2   ในช่วง [-2,2]
กฎที่ใช้กบ definite integration
         ั
ตัวอย่าง
4.5 ทฤษฎีคาเฉลี่ยและทฤษฎีพื้นฐาน
          ่

ทฤษฎีค่าเฉลี่ยสำาหรับการอินทีเกรตแบบมีขอบเขต
   (Mean Value Theorem for Definite Integrals)
ถ้าหาก f ต่อเนื่องในช่วง [a,b] ดังนั้นจะต้องมีจุด c
   อย่างน้อย
หนึ่งจุดที่f (c) = 1 b f ( x)dx
               b − a ∫a
ตัวอย่าง

หาค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน f(x)= 4 – x ในช่วง [0,3] และหาว่า
    จุดไหนของฟังก์ชbันที่มีคาเท่ากับ
                                 ่
                   1
ค่าีทำา ย f av = b − a ∫a f ( x)dx
วิธ เฉลี่
             1 3
         =
           3−0  ∫0 (4 − x)dx
           1
            (
           3 0
                3       3
         = 4 ∫ dx + ∫ xdx
                        0   )
           1             32 02          4−x =
                                                     5
         =  4(3 − 0) −  −                        2
           3            2 2 
                                   
                                                 3
                                            x=
               3 5                               2
         = 4− =
               2 2
ทฤษฎีพื้นฐาน (fundamental
theorem) ตอนที่ 1

ถ้า f ต่อเนื่องในช่วง [a,b] แล้ว ฟังก์ชัน
                          x
                F ( x) = ∫ f (t )dt
                         a


จะหาอนุพันธ์ได้ตลอดช่วง [a.b] และ
             dF d x
               =
             dx dx ∫a f (t )dt = f ( x)
ตัวอย่างที่ 3
              d x                        d x 1
 จงหาค่า
              dx ∫− p cos tdt            dx ∫0 1 + t 2 dt
                   และ
วิธีทำา
           d x                         d x 1               1
                                       dx ∫0 1 + t 2
              ∫− p cos tdt = cos( x)                 dt =
           dx                                             1+ t2
ตัวอย่างที่ 4 (chain rule)
                          x2
จงหา dy/dx เมื่อy = ∫1 cos tdt
                         du
วิธีทำา ให้   u=x ⇒ 2
                             = 2x
                         dx
และจาก
              dy dy du
                 =     .
              dx du dx
              dy d u
                 =
              du du    ∫1 cos tdt = cos u
              dy
                 = cos u.2 x = 2 x cos( x 2 )
              dx
ตัวอย่างที่ 5
        d 5                         d (b)         1
จงหา (a) ∫ 3t sin tdt                    4

        dx x                        dx ∫1+3 x2 2 + t 2 dt

    d 5                             d 4           1
    dx ∫x 3t sin tdt                dx ∫1+3 x2 2 + t 2 dt
        d x                              d 1+3 x2 1
    = − ∫ 3t sin tdt = −3 x sin x   =− ∫                     dt
        dx 5                            dx 1        2+t    2

                                                1
                                    =−                     .6 x
                                        2 + (1 + 3 x ) 2 2


                                               2x
                                    =−
                                        1 + 2 x 2 + 3x 4
การอินทีเกรตเชิงเลขคณิตโดยวิธี
trapezoidal
                               b

ประมาณค่าอินทีเ∫a f ( x)dx
               กรต
ด้วย h
    T=       ( y0 + 2 y1 + 2 y2 ... + 2 yn −1 + yn )
         2

เมื่อ yi เป็นค่าของฟังก์ชนที่จุดแบ่ง โดยที่
                         ั
x0 = a, x1 = a + h,....xn −1 = b − h, xn = b
   b−a
h=
    n
ตัวอย่าง

More Related Content

What's hot

การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
jirupi
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
eakbordin
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
krurutsamee
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
Piyanouch Suwong
 

What's hot (20)

ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัมเฉลย09การชนและโมเมนตัม
เฉลย09การชนและโมเมนตัม
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 

Viewers also liked (6)

45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
 
แคล 3
แคล 3แคล 3
แคล 3
 
โจทย์ปัญหา แคลคูลัส
โจทย์ปัญหา แคลคูลัสโจทย์ปัญหา แคลคูลัส
โจทย์ปัญหา แคลคูลัส
 

Similar to การอินทีเกรต (20)

Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชันChapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
Chapter 4 ลิมิตของฟังก์ชัน
 
Intrigate(3)
Intrigate(3)Intrigate(3)
Intrigate(3)
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
Dk
DkDk
Dk
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
43040989
4304098943040989
43040989
 
43040989
4304098943040989
43040989
 
323232
323232323232
323232
 
43040989[1]
43040989[1]43040989[1]
43040989[1]
 
1ลิมิต2ไว้สอนจริง
1ลิมิต2ไว้สอนจริง1ลิมิต2ไว้สอนจริง
1ลิมิต2ไว้สอนจริง
 
1ลิมิต2ไว้สอนจริง
1ลิมิต2ไว้สอนจริง1ลิมิต2ไว้สอนจริง
1ลิมิต2ไว้สอนจริง
 

การอินทีเกรต