SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
Basic Mechanical
Ventilation
นพ.รัฐภูมิ ชามพูนท
รพ.พุทธชิน
ราช
ภาวะหายใจล้มเหลวเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย และจำาเป็นต้องได้รับการ
วินิจฉัยอย่างรวดเร็วและต้องการการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที
ดังนั้นเมื่อพบผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน แพทย์ควรพิจารณา
ถึงพยาธิสรีรวิทยาและให้การดูแลรักษาที่เหมาะสมต่อไป ซึ่งการดูแลรักษา
ในปัจจุบัน อาจแบ่งได้เป็น การใช้ออกซิเจนเสริม, การช่วยหายใจด้วย
เครื่อง noninvasive positive pressure ventilation (NIPPV) และการใช้
เครื่องช่วยหายใจแบบแรงดันบวก invasive positive pressure
ventilation(IPPV) ในที่นี้จะกล่าวเพียงการใช้เครื่องช่วยหายใจแบบแรงดัน
บวก invasive positive pressure ventilation(IPPV)
วัตถุประสงค์ของการใช้เครื่องช่วยหายใจ
1. แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน (Provide oxygenation) ในผู้ป่วยที่มี
ภาวะออกซิเจนที่ไม่ตอบสนองต่อการช่วยการหายใจในรูปแบบต่างๆ เช่น
oxygen canula, oxygen mask, oxygen mask with bag หรือในผู้ป่วยที่
ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจในรูปแบบอื่นที่ช่วยแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน
(hypoxemia) เช่น ผู้ป่วย ARDS (acute respiratory distress syndrome)
ที่ต้องใช้ PEEP (positive end exporatory pressure)
2. ช่วยในการระบายอากาศ (Provide ventilation) เช่น ผู้ป่วยที่
กล้ามเนื้อในการหายใจอ่อนแรงจากโรคทางระบบประสาท ซึ่งพบได้ใน
myasthenia gravis, Guillian-Barre syndrome, motor neuron disease
หรือในกลุ่มที่มีความผิดปกติของดุลเกลือแร่ที่มีผลต่อกล้ามเนื้อในการ
หายใจ เช่น ภาวะโพแทสเซียมในเลือดตำ่ารุนแรง (severe hypokalemia),
ภาวะฟอสเฟตในเลือดตำ่ารุนแรง (severe hypophosphatemia), ภาวะ
แมกนีเซียมในเลือดตำ่ารุนแรง (severe hypomagnesemia), การได้รับยา
เกิดขนาดจนกดศูนย์หายใจ (respiratory center depression) เป็นต้น
3. ลดการทำางานของการหายใจ (Decrease work of breathing)
ถือเป็นวัตถุประสงค์หลักที่สำาคัญมากของการใช้เครื่องหายใจ แพทย์ผู้ดูแล
จะต้องคอยสังเกตว่าผู้ป่วยสบายขึ้นเมื่อใช้เครื่องช่วยหายใจหรือไม่โดย
สังเกตว่ามีการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจหรือไม่ (intercostals
muscles, scalene muscles, sternocleidomastoids muscle) สังเกตว่ามี
การใช้กล้ามเนื้อส่วนท้อง (abdominal muscle) ช่วยในการหายใจออก
หรือไม่ นอกจากนี้ต้องสังเกตว่าการเคลื่อนไหวของทรวงอกและส่วนท้อง
เป็นไปในทิศทางเดียวกันหรือไม่ เครื่องช่วยหายใจจ่ายอากาศสัมพันธ์กับ
การหายใจของผู้ป่วยหรือไม่ ถ้าพบสิ่งผิดปกติเหล่านี้ แพทย์ต้องทำาการ
แก้ไขโดยด่วน
4. ระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้เครื่องช่วย
หายใจ (prevent ventilator complication) ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำาได้
เช่น ภาวะความดันโลหิตตำ่า (hypotension) จากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ซึ่งเกิดจากการที่เครื่องช่วยหายใจลด preload ทำาให้ cardiac output ลด
ลง ภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (ventilator associated
pneumonia) ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นระยะเวลานาน
ภาวะ barotrauma ที่เกิดจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (เช่น
pneumothorax, pneumomediastinum, subcutaneous emphysema
เป็นต้น)
การแบ่งลักษณะชนิดการใช้เครื่องช่วยหายใจ(Ventilator
classification system)
การแบ่งลักษณะชนิดการใช้Ventilator ทำาได้หลายวิธีดังตารางที่2 แต่
การแบ่งตามลักษณะวงจรของระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจ
(phases variables), ตามการเลือกลักษณะการหายใจตามการตัดสินใจ
ของสภาพผู้ป่วย (conditional variables), ตามการควบคุมของการใช้
เครื่องช่วยหายใจ (control variables) และตามรูปแบบของการใช้เครื่อง
ช่วยหายใจ (mode) เป็นการแบ่งที่ได้รับความนิยมแพร่หลายซึ่งจะขอกล่าว
ในที่นี้
ตารางที่2 การแบ่งลักษณะชนิดการใช้เครื่องช่วย
หายใจ(Ventilator classification system)
• Input
eletric
pneumatic
• Control scheme
control variables
Pressure ,volume,flow,time
phase variables
Trigger,Limit,Cycle,Baseline
conditional variables
modes of ventilation
control subsystems
control circuit,drive mechanism,output
control valve
• Output
Waveforms
pressure ,volume , flow
Displays
• Alarm systems
Input power alarms
control circuit alarms
output alarms
วงจรของระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจ(phases variables)
William W.Mushin และคณะได้อาศัยหน้าที่เบื้องต้นของเครื่องช่วยหายใจ
มาช่วยใช้ในการจัดแยกระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจแบบอัตโนมัติ
ทั่วๆ ไป ออกเป็น 4 ระยะ คือ
1. ระยะของการเปลี่ยนจากการหายใจออกมาเป็นหายใจ
เข้า(triggered)
2. ระยะของการหายใจเข้า(inspiration phase,limited)
3. ระยะของการเปลี่ยนจากการหายใจเข้ามาเป็นหายใจ
ออก(Cycled)
4. ระยะของการหายใจออก(expiration phase,baseline,PEEP)
รูปที่ 1 แสดงวงจร(phases)ของระยะการทำางานของเครื่องช่วย
หายใจ
ดังนั้นในแต่ละรอบของการช่วยหายใจที่ถูกควบคุมด้วยเครื่องช่วย
หายใจก็จะต้องประกอบด้วยระยะทั้ง 4 ระยะนี้ทำางานวนรอบกันไปตลอด
และความสัมพันธ์ของระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจทั้ง 4 ระยะกับ
ความดันในทางเดินอากาศที่เกิดขึ้นในหนึ่งรอบการหายใจสามารถแสดงได้
ตามรูปที่ 1 อย่างไรก็ตาม ในแต่ละระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจนี้
ก็ยังมีกลวิธีการทำางานที่แตกต่างกันไปอีกในเครื่องช่วยหายใจแต่ละเครื่อง
ซึ่งการทำาความเข้าใจในหลักการทำางานเบื้องต้นของแต่ละระยะการทำางาน
ก็จะช่วยส่งเสริมทำาให้ผู้ใช้เครื่องสามารถคาดเดาลักษณะการทำางาน, รูป
แบบการช่วยหายใจ มีความเข้าใจในการปรับตั้งตัวแปรต่างๆ ในการควบคุม
การทำางานของเครื่อง, การตรวจวัด, การแสดงผล ตลอดจนภาวะการเตือน
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างพอเพียง
ลักษณะการหายใจตามการตัดสินใจของสภาพผู้ป่วย(conditional
variables)
เป็นการแบ่งตามแบบของ Shapiro และ Cane ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ
1. การหายใจเพราะเครื่องช่วยหายใจเป็นผู้ขยายปอดให้กับผู้ป่วย
(Mandatory breath)
ลักษณะการจ่ายก๊าซ เวลาหายใจเข้า ขนาดของ tidal volume(Vt) หรือ
pressure(Pi) และการสิ้นสุด(cycled) จะเกิดโดยเครื่องเป็นผู้จัดการให้
โดยถ้าเวลาตั้งต้น(triggered)ทำาโดยเครื่องเราจะเรียกการหายใจนั้นว่า
control แต่ถ้าเวลาตั้งต้น(triggered)ทำาด้วยตัวผู้ป่วยเอง เราจะเรียกการ
หายใจนั้นว่า assist และถ้าเวลาตั้งต้น(triggered)ทำาโดยเครื่องและทำาด้วย
ตัวผู้ป่วยเองสลับไปมาเราจะเรียกการหายใจนั้นว่า assist/control
2. การหายใจด้วยตัวผู้ป่วยเอง (Spontaneous breath)
สิ่งสำาคัญที่แยกจาก Mandatory breath คือ การเริ่มและสิ้นสุดการหายใจ
กำาหนดด้วยตัวผู้ป่วยเอง รวมทั้งขนาดของ tidal volume(Vt) อัตราการ
หายใจ เวลาการหายใจเข้าออกจะสั้นยาวไม่แน่นอน ขึ้นกับความต้องการ
ของผู้ป่วย
การควบคุมของการใช้เครื่องช่วยหายใจ(control variables)
1) Volume-controlled ventilation (VCV): เป็นการช่วยหายใจโดย
ให้ก๊าซแรงดันบวกเข้าไปในปอดจนถึงระดับของ tidal volume ที่กำาหนดไว้
โดยไม่สนใจว่า airway pressure จะสูงหรือจะตำ่าเพียงใด การช่วยหายใจ
แบบนี้ต้องกำาหนดค่าของ tidal volume และอัตราการหายใจที่ต้องการไว้
ก่อน และในรายที่ปอดมีความยืดหยุ่น(compliance)หรือแรงเสียด
ทาน(resistance)เปลี่ยนแปลง airway pressure ก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ในขณะที่ tidal volume จะยังคงที่อยู่เหมือนเดิม เครื่องช่วยหายใจรุ่นใหม่
ในปัจจุบันจะใช้การวัด flow แล้วนำาไปแปลงให้กลายเป็น volume จาก
สมการ Volume(L)= Flow(L/sec) x Inspiratory time(sec) ดังนั้นจึงอาจ
พูดได้ว่า Flow controlled ventilation ก็คือ Volume controlled
ventilation นั่นเอง การช่วยหายใจรูปแบบนี้พบได้ใน controlled
mandatory ventilation (CMV) และ synchronized intermittent
mandatory ventilation (SIMV)
2) Pressure – controlled ventilation (PCV): การช่วยหายใจ
แบบนี้มีความแตกต่างจากชนิด volume-controlled โดยต้องมีการตั้งค่า
airway pressure ที่ต้องการไว้ก่อน แทนที่จะตั้ง tidal volume อย่างใน
VCV เครื่องจะจ่ายก๊าซแรงดันบวกเข้าสู่ปอดในช่วงของการหายใจเข้า
จนถึงระดับของ airway pressure ที่ตั้งไว้ โดยไม่สนใจว่า tidal volume
จะสูงตำ่าเพียงใด ดังนั้นในรายที่ปอดมีความยืดหยุ่น(compliance)หรือแรง
เสียดทาน(resistance)เปลี่ยนแปลง airway pressure จะยังคงที่อยู่
เหมือนเดิม ในขณะที่ tidal volume จะเปลี่ยนแปลงไปตามการ
เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
3) Dual – controlled ventilation: เป็นการช่วยหายใจโดยอาศัย
หลักการของทั้งสองรูปแบบข้างต้นร่วมกัน พบใน mode การช่วยหายใจ
ใหม่ๆ เช่น pressure-regulated volume control (PRVC), adaptive
support ventilation (ASV), volume support ventilation (VSV) โดย
อาจตั้งระดับ tidal volume หรือ minute ventilation ที่ต้องการไว้ พร้อม
กันนั้นก็กำาหนดระดับเพดานของ airway pressure ที่จะยอมให้ขึ้นไปสูงสุด
ไว้ด้วย เครื่องจะวิเคราะห์คุณสมบัติทางกลศาสตร์ของปอด ณ ขณะนั้นและ
นำาข้อมูลมาใช้ปรับระดับของแรงดันที่เหมาะสมได้เองเพื่อให้ได้ tidal
volume หรือ minute ventilation ตามที่ตั้งไว้
รูปแบบ (mode) ของการช่วยการหายใจแบบ IPPV
สามารถแบ่งได้หลายประเภท ในที่นี้ขอแบ่งเพื่อประโยชน์ตามการ
ใช้งานเป็น ٥ ประเภท
1..CMV (Continuous mandatory ventilation )
เป็นรูปแบบการช่วยการหายใจโดยเครื่องสั่งการ จึงต้องตั้งอัตราการหายใจ
(respiratory rate, RR) เสมอ
ข้อบ่งชี้ในการใช้ CMV mode
1. ผู้ป่วยไม่มีแรงหายใจเอง หรือศูนย์การหายใจถูกกด
2. ต้องการควบคุมลักษณะการหายใจเพื่อประโยชน์สูงสุดในการ
รักษา เช่น ควบคุมระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในผู้ป่วยที่มี
ภาวะสมองบวม (brain edema) ขณะทำาการผ่าตัดทรวงอก หรือ
ผ่าตัดช่องท้อง
โดยเราอาจตั้งเป็น volume-controlled CMV,pressure-controlled CMV
หรือ dual-controlled CMV แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้และสภาพผู้ป่วย
2. IMV (Intermittent Mandatory Ventilation)
เป็นรูปแบบการช่วยหายใจที่มีการหายใจเองโดยธรรมชาติเองของผู้
ป่วย(spontaneous breath) สลับกับการหายใจด้วยความดันบวก
(mandatory breath) ที่เกิดจากการทำางานของเครื่องช่วยหายใจเป็นระ
ยะๆตามอัตราที่ได้กำาหนดไว้ ในกรณีนี้อัตราการหายใจทั้งหมดก็คืออัตรา
การหายใจของผู้ป่วยเองรวมกับอัตราการช่วยหายใจที่เกิดจากการทำางาน
ของเครื่อง ซึ่งเครื่องช่วยหายใจจะปล่อยให้มีอากาศปริมาณหนึ่งไหลต่อ
เนื่องอยู่ในวงจรการหายใจตลอดเวลา (continuous flow) และการหายใจก็
อาจจะกระทำาบนระดับความดันบวกตลอดเวลาค่าหนึ่งก็ได้
เปรียบเทียบ IMV และ CMV mode ถ้าตั้งเครื่องช่วยหายใจ เป็น
Volume controlled ventilation 12 ครั้งต่อนาที แต่ผู้ป่วยหายใจทั้งหมด
20 ครั้งต่อนาที การหายใจ 12 ครั้งต่อนาทีทั้ง 2 modes จะหายใจได้
tidal volume ที่ตั้งไว้ ส่วนการหายใจอีก 8 ครั้งที่เหลือ ใน CMV mode จะ
หายใจได้ tidal volume ตามที่ตั้งไว้ ส่วนใน IMV mode นั้น tidal
volume ที่ผู้ป่วยได้ขึ้นกับระดับของ pressure volume และพยาธิสภาพ
ของปอดในขณะนั้น ซึ่งอาจไม่เท่ากับ tidal volume ที่ตั้งไว้ก็ได้ พูดง่ายๆ
ก็คือในกรณี CMV mode ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เองเลยเครื่องก็จะ
ช่วย ١٢ ครั้งต่อนาทีตามที่ตั้งไว้ ถ้าผู้ป่วยกระตุ้นเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด
20 ครั้งต่อนาที เครื่องช่วยหายใจใน CMV mode ก็จะช่วยหายใจทั้งหมด
20 ครั้งต่อนาทีและได้ tidal volume ตามที่ตั้งไว้ทั้ง 20 ครั้ง ในกรณี IMV
mode ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เองเลยเครื่องก็จะช่วย ١٢ ครั้งต่อนาที
ตามที่ตั้งไว้ ถ้าผู้ป่วยกระตุ้นเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด 20 ครั้งต่อนาที
เครื่องช่วยหายใจใน IMV mode ก็จะช่วยหายใจทั้งหมดเพียง ١٢ ครั้งต่อ
นาทีและได้ tidal volume ตามที่ตั้งไว้ ١٢ ครั้งส่วนการหายใจอีก 8 ครั้งที่
เหลือผู้ป่วยต้องหายใจเองโดยที่เครื่องไม่ได้ช่วยเลย
3. SIMV (Synchonized Intermittent Mandatory Ventilation)
เป็นรูปแบบการช่วยหายใจที่คล้ายกับการหายใจในแบบ IMV mode
เพียงแต่ว่าเมื่อถึงช่วงเวลาก่อนที่เครื่องช่วยหายใจจะปล่อยความดันบวก
(mandatory breath) ออกมาในวงจรการหายใจนั้น เครื่องจะมีการตรวจ
หา negative pressure ที่เกิดจากการเริ่มต้นการหายใจเข้าเองของผู้ป่วย
ด้วย และจะปล่อยความดันบวกออกมาพร้อมกับจังหวะการเริ่มต้นการ
หายใจเข้าของผู้ป่วยนี้ ทั้งนี้ให้การหายใจเองตามธรรมชาติของผู้ป่วยกับ
การช่วยหายใจของเครื่องที่จะเกิดเป็นพักๆ นั้น มีความสอดคล้องกัน
(synchronization) ซึ่งอัตราการหายใจโดยรวมก็ยังคงเป็นอัตราการหายใจ
ตามธรรมชาติของผู้ป่วยรวมกับอัตราการช่วยหายใจจากเครื่อง
การช่วยการหายใจแบบ SIMV เคยมีความนิยมใช้ในผู้ป่วยที่กำาลัง
หย่าเครื่องช่วยหายใจ (weaning from mechanical ventilation) อย่างไร
ก็ตาม หลักฐานการศึกษาทางคลินิกในปัจจุบันพบว่า การหย่าเครื่องด้วย
SIMV ทำาให้ระยะเวลาในการหย่าเครื่องช่วยหายใจนานขึ้น เมื่อเปรียบ
เทียบกับ spontaneous breathing trial ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน ดังนั้น จึงควร
ใช้ SIMV สำาหรับผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจได้ยาก เมื่อการหย่าเครื่อง
ช่วยหายใจโดยวิธีมาตรฐานคือ spontaneous breathing trial ล้มเหลว
หรือผู้ป่วยที่มีรอยโรคทางระบบประสาทส่วนกลางที่มีอัตราการหายใจไม่
สมำ่าเสมอ
4. CPAP ( Continuous Positive Airway Pressure)
เป็นการหายใจเองโดยธรรมชาติของผู้ป่วยตามปกติ (spontaneous
ventilatoin) เพียงแต่เป็นการหายใจในขณะที่ความดันในทางเดินหายใจมี
ค่าเป็นบวกหรืออยู่เหนือความดันบรรยากาศอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องช่วย
หายใจจะสร้างและรักษาระดับความดันบวกนี้ไว้ตลอดทั้งระยะการหายใจ
เข้าและออก
5. CSV ( Continuous Support Ventilation)
หรือที่นิยมเรียกกันว่า Pressure support ventilation(PSV) เป็นการ
หายใจเองตามธรรมชาติของผู้ป่วย ที่ผู้ป่วยสามารถกำาหนดอัตราการ
หายใจ, อัตราการไหลของอากาศหายใจเข้า, เวลาในการหายใจเข้าและ
ปริมาตรอากาศได้เอง โดยที่เครื่องช่วยหายใจจะช่วยการหายใจใน
ลักษณะของการส่งเสริมความดันบวกออกมา ในจังหวะที่สอดคล้องกับการ
เริ่มต้นการหายใจเข้าเองของผู้ป่วย โดยทำาการยกระดับความดันในทาง
เดินหายใจของผู้ป่วยในขณะหายใจเข้าให้สูงถึงระดับความดันเป้าหมายที่
ได้ปรับตั้งไว้ และหยุดส่งเสริมความดันบวกออกมาเมื่อผู้ป่วยรู้สึกอิ่มพอแล้ว
ตามความต้องการของผู้ป่วย ทั้งนี้เป็นการลดงานในการหายใจของผู้ป่วย
และยังช่วยทำาให้ผู้ป่วยหายใจเข้าได้ปริมาตรอากาศที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
นอกจาก mode ที่ได้กล่าวถึงไปแล้ว ยังมี mode ที่ใช้การช่วยหายใจอีก
มาก เช่น Airway pressure release ventilation (APRV), Biphasic
positive airway pressure (BiPAP), Adaptive support ventilation
(ASV), Proportional assist ventilation (PAV), Volume support
ventilation(VS), Pressure regulated volume control (PRVC), Volume
assure pressure support (VAPS) ซึ่งมีความซับซ้อนและต้องใช้ความ
ชำานาญขั้นสูง จึงไม่ได้กล่าวถึง
Mechanical ventilation protocol
1. Evaluate indication for mechanical ventilation
2. Initiate mechanical ventilation
3. Stabilize/management
4. Wean ventilator
5. Extubate
แนวทางการตั้งเครื่องช่วยหายใจ (Basic Ventilator
setting)
Mode VC-CMV
or
S(CMV)
ถ้าไม่แน่ใจ และเป็น Acute
Respiratory failure ให้
ใช้ mode นี้ไปก่อน ส่วน
PC-CMV ควรจะมีความ
ชำานาญ
VT(Tidal
Volume)
(ml/kg) –
Predicted body
weight
8-10 ส่วนใหญ่ให้ VT ขนาดนี้ก็
OK ผู้ใหญ่
~ 500-550 ml เว้น ARDS
ใช้ VT 4-6 ml/kg ต้องเพิ่ม
RR
RR(ครั้ง/นาที) 12-14 -Sepsis และมีMetabolic
acidosis อาจต้องเพิ่ม
RR~ 22-26/min (ถ้าจะ
ให้ Sedate ลด WOB)
-COPD or Asthma ตั้ง RR
8-10/min
Ti (Inspiratory
time) or I:E
ratio
I:E =1:2
-1:3 ปรับ
ให้ได้
Inspire
time
0.7-1.2
sec
เน้นดูที่ Inspiratory time
เป็นหลักให้เหมาะสมกับผู้
ป่วย ไม่นานและสั้นเกิน
FiO2 0.4 Keep O2 sat > 92%,
PaO2 ٨٠-١٠٠ mmHg ไม่
ให้hypoxia หรือ O2
toxicity
PEEP(cmH2 O) 0 ถ้า ARDS, Pulmonary
edema การให้ PEEP จะ
ช่วยให้ O2 sat. ดีขึ้น
Trigger – flow
trigger
-
Pressure
trigger
Flow 3 L/
min
Pressure
– 2 cmH2
O
Raphael จะมีแต่ flow
trigger /Bennett จะมีให้
เลือก ส่วนใหญ่ใช้ flow
trigger
Base flow 3 เท่า ถ้าเหนื่อยมาก ดึงเครื่อง
เช่น Sepsis อาจเพิ่ม Base
flow เป็น ٥–١٠ เท่า
Tube On ช่วยลด ET resistance
compensation 80-100% ทั่วๆไปจะ off ก็ได้
Note Static Compliance = VT = VT (ml)
P pplat-PEEP
Resistance (Airway)= P = Ppeak-Pplat
flow flow
VT = flow x Time (L/Sec)
Predicted BW : Male = 50 + (ส่วนสูง (ซม) – 150)
x 2.3
2.5
Female = 45.5 + (ส่วนสูง(ซม)
-150) x 2.3
2.
5
เช่น ผู้ชายสูง 170 ซม. Predicted BW = 50 + 170-150 x
2.3 = 68.4 kg.
2.5
• Inspiratory time ขึ้นกับ I:E ,RR ถ้ามีปุ่มปรับ I:E กับ RR
ก็จะไม่มีปุ่มปรับ Inspiratory time
เช่น RR 10 I : E =1 : 2 Inspire time ก็
จะเท่ากับ 2 วินาที
RR 15 I : E =1 : 3 Inspire time
ก็จะเท่ากับ 1 วินาที
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Weaning )
1. ประเมินผู้ป่วยก่อนเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในเรื่องดังต่อไปนี้
1.1 ภาวะที่ทำาให้เกิดระบบหายใจล้มเหลวดีขึ้น
1.2 ไม่มีภาวะขาด ออกซิเจนทั้ง 3 ข้อ คือ
- PaO2 / FiO2 ratio > 150 หรือ O2 sat > 92 % ขณะใช้
FiO2 < 0.4
ใน กรณีมี Monitor p peak ควรน้อยกว่า 20 cm H2O
- PEEP < 5 CmH2O
- FiO2 < 0.4
- Electrolyte ควรจะปกติ
- ไม่ควรมีไข้ > 38
c.
1.3 ระบบการไหลเวียนเลือดปกติทั้ง 2 ข้อ
1.3.1 ไม่มี active Myocardial Ischemia
1.3.2 BP > 90/60 และไม่ต้องใช้ Vasopressor drug เพื่อ
เพิ่มความดันโลหิตหรือใช้
Dopamine < 5 mcg / kg / min
1.4 ผู้ป่วยสามารถหายใจเองได้
1.5 ประเมินการหายใจแบบ short period spontaneous
breathing trial ( 5 นาที )
1.6 อธิบายผู้ป่วย ให้กำาลังใจและความมั่นใจ เกี่ยวกับการฝึก
หายใจ และคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
1.7 จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหากสามารถทำาได้ หรือท่าศีรษะสูง
30. – 45 องศา
1.8 บันทึกข้อมูลพื้นฐานก่อนทำา short period SBT ได้แก่ BP ,
HR , RR , O2 sat หลังจากนั้นเปลี่ยนเป็น Mode CPAP ( spontaneous )
โดยใช้ PEEP 5 cm H2 O ไม่ต้องให้ PS
2. ประเมิน BP , HR ,RR , O2 sat ลักษณะการหายใจ ในช่วง 5 นาที
หลังจากเปลี่ยนเป็น Mode spontaneus
โดยควรยืนเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด ในช่วง 5 นาทีนี้ ถ้ามีข้อบ่งชี้ดังนี้ข้อใด
ข้อหนึ่ง ให้หยุดการทำา short period SBT และ Back up กลับไปเป็น
Mode , setting เดิม
- RR > 35 / min หรือ RR < 10 / min
- HR > 140 / min หรือ HR < 50 / min
- BP > 180 / 90 หรือ BP < 90/60
- O2 sat < 90 %
- ผู้ป่วยมีอาการกระสับกระส่าย หรือ แจ้งให้ทราบว่าทนไม่
ไหว
ถ้าใน 5 นาทีแรกผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี้ของการหยุดทำา short period SBT ก็
ดำาเนินการทำา Long - period SBT ต่อได้
3. การทำา Long - period SBT ( 120 min / SBT )
ทำาโดยให้ผู้ป่วย on T – piece เปิด Flow 8 L /min FiO2 0.4
แล้วติดตามอาการทุก 15 – 30 นาทีตาม Wening record ถ้ามีข้อบ่งชี้ใน
การหยุดการทำา เหมือน short period SBP ก็ให้ Back up กลับไปเป็น
Mode , setting เดิม หลังจากครบ 120 นาที ถือว่าผู้ป่วยผ่านการทำา 120
min SBT ก็เข้าสู่การทดสอบว่า ผู้ป่วยสามารถ Extubation ได้ หรือ ไม่
4. ผู้ป่วยที่มีลักษณะดังนี้ข้อใดข้อหนึ่งควร Intubation ไว้ก่อน
1.GCS < 8 หรือ ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว และซึมมาก
2.ผู้ป่วยมีเสมหะปริมาณมาก และไม่มีแรงไอ ขณะ Suction
3.เคยมีประวัติ secretion obstruetion หรือ Reintubation ภายใน
48 ชั่วโมงหลัง Extubation
( ในกรณี ข้อ 3 ถ้า จะ Extubation ควรมีแพทย์เจ้าของไข้อยู่ด้วย
) ถ้าไม่มีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง
ดังที่กล่าวมาให้แจ้งแพทย์พิจารณา Extubation ได้
หมายเหตุ
1) ในกรณีที่ทำา SBT 2 วัน ติดต่อกันแล้วยังไม่ผ่าน 120 min SBT
ให้พิจารณาปรึกษา chest med
2) ในกรณีที่ผู้ป่วยผ่าน 120 min SBT แต่ยังไม่สามารถ
Extubation ได้ ให้ประเมินการ Extubation ต่อทุกวัน ( พิจารณาย้ายกลับ
ไปประเมินที่ Ward หรือ SUB ICU โดยมีการส่งเวรการประเมิน Extubation
ให้ชัดเจน ) ถ้าประเมินแล้วว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มจะไม่ สามารถ Extubation
ได้ ใน 2 อาทิตย์ ให้พิจารณาปรึกษาทำา traeheostomy
Bird’s ventilator
เครื่องช่วยหายใจ Bird ถูกสร้างและนำามาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1958 โดย
ดร. Forest Bird ปัจจุบันพัฒนาเครื่องช่วยหายใจ Bird เป็น Mark ต่างๆ รุ่น
ที่ใช้มากที่สุด คือ Mark 7 Bird’s ventilator เป็นเครื่องช่วยหายใจที่ใช้กัน
แพร่หลายมากที่สุด มีจำานวนมากที่สุด เป็นเครื่องช่วยหายใจที่มีประโยชน์
ราคาถูก นำ้าหนักเบา ไม่ต้องใช้พลังงานจากแหล่งกำาเนิดไฟฟ้า ผู้ใช้จึงควร
มีความรู้อย่างดี เพื่อนำาไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ลักษณะสำาคัญของ Bird’s ventilator (รูปประกอบ)
1. เป็น flow control และ pressure cycling ventilator กล่าวคือ
เมื่อเครื่องปล่อยลมถึง pressure ที่ตั้งไว้ inspiratory valve จะปิดและ
exspiratory valve จะเปิด ซึ่งเป็นลักษณะที่แตกต่างจาก PC-CMV mode
2. เป็น pressure guarantee ดังนั้น จึงต้องติดตาม tidal volume
โดยใช้ spirometer อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง หรือบ่อยกว่านี้ถ้าผู้ป่วยมีอาการ
ไม่คงที่
สิ่งที่ต้องระวังในการใช้ Bird คือ
- ไม่มีสัญญาณเตือน (Alarm) กรณีเครื่องหลุดจากผู้ป่วย หรือเมื่อ
ความดันสูงเกินไป
- ไม่ควรปรับปุ่ม expiratory timer ไว้ที่ตำาแหน่ง off เพราะเครื่องจะ
ไม่ทำางานหายผู้ป่วยไม่สามารถกระตุ้นเครื่องหรือหยุดหายใจไป
กะทันหัน
- ไม่สามารถตั้ง PEEP (positive end-expiratory pressure) ได้ดังนั้น
เมื่อต้องการตั้ง PEEP กับเครื่อง Bird ต้องต่ออุปกรณ์อื่นเพิ่มเติม
ได้แก่
● Underwater columns
● Spring-loaded diaphragm or kids
● Balloon valves
● Electromechanical valve
- กรณีที่มีการตั้ง PEEP หรือมี auto-PEEP เกิดขึ้น การกระตุ้น
เครื่องจะยากขึ้น หากการให้การช่วยหายใจผู้ป่วยรายใดจำาเป็นต้องตั้ง
PEEP ควรเลือกใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดอื่นหรือ sedate ให้ผู้ป่วย
หายใจตามเครื่องช่วยหายใจไปเลย
- ควรใช้ spirometer วัดที่ exhalation valve เพื่อให้มั่นใจว่าได้
tidal volume ที่ต้องการ
Protocol ขั้นตอนการตั้ง Bird’s Ventilator สำาหรับแพทย์
และพยาบาล
ลำาดั
บ
รายการ ปกติ ชำารุ
ด
หมายเหตุ
١
ก่อนต่อเครื่องเข้ากับผู้ป่วย
ต่อปลายวงจรสู่ผู้ป่วยของ Bird’s เข้ากับปอดเทียม
หรือปิดปลายวงจรสู่ผู้ป่วยเอาไว้กับมือหรือบริเวณที่
ให้ความชื้น (มีแกนไว้เสียบปิดปลายวงจร)
٢ เปิดเครื่องที่ปุ่มด้านบน
٣
ปรับแกนคันโยกด้านซ้าย(ปรับ Sensitivity) สุด มา
ด้านหน้าก่อนเพื่อลดความไวในการกระตุ้นเครื่อง
จาก artifact ( Auto-triggering)
4
ปรับปุ่ม flow rate (ปุ่มบน) ไว้ที่ตรงกลาง (ประมาณ
เลข ١٥ หรือ ٣٠ ลิตร/นาที)
٥
ปรับแกนด้านคันโยกด้านขวา(ปรับ Pressure) มา
ตรง แนวกลาง
(ประมาณ٢٠ cmH2o )
٦ ปรับปุ่มควบคุมเวลาหายใจออก (ปุ่มล่าง) เพื่อตั้ง
BACK UP Respiratory Rate โดยถ้าหมุนปุ่มตาม
เข็มนาฬิกา เวลาในการหายใจออกจะมากขึ้นและ
อัตราการหายใจจะลดลง
٧
ให้ตั้ง BACK UP RATE ไว้ที่ประมาณ ١٢-١٤
ครั้ง/นาทีแล้วจึงต่อเครื่องเข้ากับผู้ป่วย
8
หลังต่อเครื่องเข้ากับผู้ป่วย
ต่อ Respirometer เข้าทาง expiratory valve ของผู้
ป่วยดูเข็มหน้าปัดของ Respirometer ที่ต่อ
กับ expiratory valve จะต้องหมุนเฉพาะช่วงหายใจ
ออกเท่านั้น
9
ปรับแกนคันโยกด้านขวา (Pressure) ให้ได้ tidal
volume ประมาณ ٥٠٠-٦٠٠ ml โดยดูค่าจากหน้า
ปัดของ Respirometer ที่ต่อกับ expiratory valve
10
ปรับปุ่ม Flow rate (ด้านบน) ไปทางซ้ายและขวาฟัง
เสียงหายใจเข้าสั้น-ยาว เหมาะสมกับผู้ป่วย และผู้
ป่วยหายใจสัมพันธ์ดีกับเครื่องหรือไม่โดยถ้า
Note ปรับปุ่ม Flow rate ไปด้านซ้าย (ทวนเข็ม
นาฬิกา) Flow rate จะเพิ่มขึ้น แต่ inspiratory time
จะสั้นลง อาจต้องปรับแกนคันโยก Pressure ด้าน
ขวาเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้ inspiratory time ที่เหมาะสม
และ Tidal volume ที่เหมาะสม ( ในกรณีที่ผู้ป่วย
เหนื่อยมาก ๆ เช่น severe sepsis ,COPD, Asthma
ให้ปรับปุ่ม Flow rate ไปด้านซ้ายมือสุดก่อน
ระหว่างรอ Sedation และ correct condition ผู้ป่วย)
11
ปรับแกนคันโยก sensitivity (ด้านซ้าย) ให้อยู่
ประมาณ -١ ถึง -٢ cmH2o โดยดูจากหน้าปัดของ
เครื่อง Bird’s
Note ห้ามตั้ง Sensitivity ไว้หนักจนผู้ป่วยไม่
สามารถกระตุ้นเครื่องได้เพราะผู้ป่วยจะรู้สึกอึดอัด
และทรมานมาก
١٢
หลังตั้งเครื่องช่วยหายใจ Bird’s เรียบร้อย
ดูการหายใจของผู้ป่วยว่าหายใจสัมพันธ์ดีกับเครื่อง
หรือไม่
١٣
ฟังปอดว่าช่วงหายใจเข้ามีเสียงลมเข้าปอดทั้งสอง
ข้างดีหรือไม่
١٤ ดู SpO2 ปลายนิ้ว Keep > 92%
١٥
พิจารณาเจาะ ABG หลังใส่เครื่องช่วงหายใจ ١٠-
١٥ นาที
Note ในกรณี ที่ SpO2 < 92% ให้เปลี่ยนจาก Air-
mixed เป็น FiO2 1.0 และปรับปุ่ม Flow rate ให้เพิ่ม
ขึ้น(ทวนเข็มนาฬิกา)ถ้า Flow rate ลดลง และผู้
ป่วยอึดอัดและอาจต้องพิจารณา sedation ผู้ป่วย
ชื่อผู้ปฎิบัติ…………………………………วันที่……………………………………
WARD……………………………
เอกสารอ้างอิง
1. อดิศร วงษา.ภาวะการหายใจล้มเหลว(Respiratory failure).ใน อภิรักษ์
ปาลวัฒน์วิไชย,อดิศร วงษาและคณะ.บรรณาธิการ.เวชบำาบัดวิกฤต.พิมพ์
ครั้งที่2 พฤษภาคม 2545.หน้า 13-18.
2. อนันต์ วัฒนธรรม.การใช้เครื่องช่วยหายใจเบื้องต้น(Basic mechanical
ventilation).ใน อภิรักษ์ ปาลวัฒน์วิไช ย,อดิศร วงษาและ คณะ.
บรรณาธิการ.เวชบำาบัดวิกฤต.พิมพ์ครั้งที่2 พฤษภาคม 2545.หน้า 45-53.
3. เ อ ก ริ น ท ร์ ภู มิ พิ เ ช ฐ .Practical Mechanical Ventilation:Initial
Setting.ใน เอกรินทร์ ภูมิพิเชฐม,ไชยรัตน์ เพิ่มพิกุล บรรณาธิการ.Critical
Care in Everyday Practice.หนังสือคู่มือการอบรมระยะสั้น ประจำาปี 2550
สมาคมเวชบำาบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย.
4. Mechanical Ventilation and Respiratory Care Principle and Pract
ice.พุฑฒิพรรณี วรกิจโภคาทร,วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัยและคณะ
บรรณาธิการ.พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2546.
5. การบำาบัดระบบหายใจในเวชปฏิบัติ.ทนันชัย บุญบูรพงศ์,ธนิต วีรัง
คบุตร,ประสาทนีย์ จันทร บรรณาธิการ.พิมพ์ครั้งที่1 พฤศจิกายน 2551.
6 .สุนิสา ฉัตรมงคลชาติ. เครื่องช่วยหายใจ Bird (Bird ventilator) ในสุนิ
สา ฉัตรมงคลชาติ บรรณาธิการ.Respiratory care. การดูแลผู้ป่วยที่ใช้
เครื่องช่วยหายใจและได้รับการบำาบัดด้วยออกซิเจน สงขลา, ชานเมืองการ
พิมพ์, 2549 หน้า 187 – 194.
7. Bruce Gammon R, Strickland JH, Kennedy JI, et al. Mechanical
ventilation: A review for the internist. Am J Med 1995;99:553-62.
8. Tobin MJ. Advances in mechanical ventilation. N Engl J Med
2001;344:1986-96.
9. Neil R MacIntyre,Richard D. Branson.Mechanical Ventilation ,
1st ed, Neil R MacIntyre(ed.). Philadelphia, W.B. Saunders 2001.
10. Craig Lilly, Edward P. Ingenito,Steven D. Shapiro.
RESPIRATORY FAILURE.Chapter 250.page 1588-91.HARRISON’S
PRINCIPLES OF Internal Medicine.16th
ed. McGraw-Hill;2005.
(Related Topic page 1498-1505,1581-88)
11. Paul L.Marino,Kenneth M.Sutin.Acute respiratory
failure.SectionVII. The ICU Book.3rd
ed.Lippincott
Williams&Wilkins;2007

More Related Content

What's hot

TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
Ventilator
VentilatorVentilator
Ventilator
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็กแนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
แนวทางการบำบัดรักษาทางระบบหายใจในเด็ก
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 

More from Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 

Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference

  • 1. Basic Mechanical Ventilation นพ.รัฐภูมิ ชามพูนท รพ.พุทธชิน ราช ภาวะหายใจล้มเหลวเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย และจำาเป็นต้องได้รับการ วินิจฉัยอย่างรวดเร็วและต้องการการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที ดังนั้นเมื่อพบผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน แพทย์ควรพิจารณา ถึงพยาธิสรีรวิทยาและให้การดูแลรักษาที่เหมาะสมต่อไป ซึ่งการดูแลรักษา ในปัจจุบัน อาจแบ่งได้เป็น การใช้ออกซิเจนเสริม, การช่วยหายใจด้วย เครื่อง noninvasive positive pressure ventilation (NIPPV) และการใช้ เครื่องช่วยหายใจแบบแรงดันบวก invasive positive pressure ventilation(IPPV) ในที่นี้จะกล่าวเพียงการใช้เครื่องช่วยหายใจแบบแรงดัน บวก invasive positive pressure ventilation(IPPV) วัตถุประสงค์ของการใช้เครื่องช่วยหายใจ 1. แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน (Provide oxygenation) ในผู้ป่วยที่มี ภาวะออกซิเจนที่ไม่ตอบสนองต่อการช่วยการหายใจในรูปแบบต่างๆ เช่น oxygen canula, oxygen mask, oxygen mask with bag หรือในผู้ป่วยที่ ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจในรูปแบบอื่นที่ช่วยแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน (hypoxemia) เช่น ผู้ป่วย ARDS (acute respiratory distress syndrome) ที่ต้องใช้ PEEP (positive end exporatory pressure) 2. ช่วยในการระบายอากาศ (Provide ventilation) เช่น ผู้ป่วยที่ กล้ามเนื้อในการหายใจอ่อนแรงจากโรคทางระบบประสาท ซึ่งพบได้ใน myasthenia gravis, Guillian-Barre syndrome, motor neuron disease หรือในกลุ่มที่มีความผิดปกติของดุลเกลือแร่ที่มีผลต่อกล้ามเนื้อในการ หายใจ เช่น ภาวะโพแทสเซียมในเลือดตำ่ารุนแรง (severe hypokalemia), ภาวะฟอสเฟตในเลือดตำ่ารุนแรง (severe hypophosphatemia), ภาวะ แมกนีเซียมในเลือดตำ่ารุนแรง (severe hypomagnesemia), การได้รับยา เกิดขนาดจนกดศูนย์หายใจ (respiratory center depression) เป็นต้น 3. ลดการทำางานของการหายใจ (Decrease work of breathing) ถือเป็นวัตถุประสงค์หลักที่สำาคัญมากของการใช้เครื่องหายใจ แพทย์ผู้ดูแล จะต้องคอยสังเกตว่าผู้ป่วยสบายขึ้นเมื่อใช้เครื่องช่วยหายใจหรือไม่โดย สังเกตว่ามีการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจหรือไม่ (intercostals muscles, scalene muscles, sternocleidomastoids muscle) สังเกตว่ามี การใช้กล้ามเนื้อส่วนท้อง (abdominal muscle) ช่วยในการหายใจออก หรือไม่ นอกจากนี้ต้องสังเกตว่าการเคลื่อนไหวของทรวงอกและส่วนท้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกันหรือไม่ เครื่องช่วยหายใจจ่ายอากาศสัมพันธ์กับ
  • 2. การหายใจของผู้ป่วยหรือไม่ ถ้าพบสิ่งผิดปกติเหล่านี้ แพทย์ต้องทำาการ แก้ไขโดยด่วน 4. ระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการใช้เครื่องช่วย หายใจ (prevent ventilator complication) ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำาได้ เช่น ภาวะความดันโลหิตตำ่า (hypotension) จากการใช้เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งเกิดจากการที่เครื่องช่วยหายใจลด preload ทำาให้ cardiac output ลด ลง ภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (ventilator associated pneumonia) ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นระยะเวลานาน ภาวะ barotrauma ที่เกิดจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (เช่น pneumothorax, pneumomediastinum, subcutaneous emphysema เป็นต้น) การแบ่งลักษณะชนิดการใช้เครื่องช่วยหายใจ(Ventilator classification system) การแบ่งลักษณะชนิดการใช้Ventilator ทำาได้หลายวิธีดังตารางที่2 แต่ การแบ่งตามลักษณะวงจรของระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจ (phases variables), ตามการเลือกลักษณะการหายใจตามการตัดสินใจ ของสภาพผู้ป่วย (conditional variables), ตามการควบคุมของการใช้ เครื่องช่วยหายใจ (control variables) และตามรูปแบบของการใช้เครื่อง ช่วยหายใจ (mode) เป็นการแบ่งที่ได้รับความนิยมแพร่หลายซึ่งจะขอกล่าว ในที่นี้ ตารางที่2 การแบ่งลักษณะชนิดการใช้เครื่องช่วย หายใจ(Ventilator classification system) • Input eletric pneumatic • Control scheme control variables Pressure ,volume,flow,time phase variables Trigger,Limit,Cycle,Baseline conditional variables modes of ventilation control subsystems control circuit,drive mechanism,output control valve
  • 3. • Output Waveforms pressure ,volume , flow Displays • Alarm systems Input power alarms control circuit alarms output alarms วงจรของระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจ(phases variables) William W.Mushin และคณะได้อาศัยหน้าที่เบื้องต้นของเครื่องช่วยหายใจ มาช่วยใช้ในการจัดแยกระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจแบบอัตโนมัติ ทั่วๆ ไป ออกเป็น 4 ระยะ คือ 1. ระยะของการเปลี่ยนจากการหายใจออกมาเป็นหายใจ เข้า(triggered) 2. ระยะของการหายใจเข้า(inspiration phase,limited) 3. ระยะของการเปลี่ยนจากการหายใจเข้ามาเป็นหายใจ ออก(Cycled) 4. ระยะของการหายใจออก(expiration phase,baseline,PEEP) รูปที่ 1 แสดงวงจร(phases)ของระยะการทำางานของเครื่องช่วย หายใจ ดังนั้นในแต่ละรอบของการช่วยหายใจที่ถูกควบคุมด้วยเครื่องช่วย หายใจก็จะต้องประกอบด้วยระยะทั้ง 4 ระยะนี้ทำางานวนรอบกันไปตลอด
  • 4. และความสัมพันธ์ของระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจทั้ง 4 ระยะกับ ความดันในทางเดินอากาศที่เกิดขึ้นในหนึ่งรอบการหายใจสามารถแสดงได้ ตามรูปที่ 1 อย่างไรก็ตาม ในแต่ละระยะการทำางานของเครื่องช่วยหายใจนี้ ก็ยังมีกลวิธีการทำางานที่แตกต่างกันไปอีกในเครื่องช่วยหายใจแต่ละเครื่อง ซึ่งการทำาความเข้าใจในหลักการทำางานเบื้องต้นของแต่ละระยะการทำางาน ก็จะช่วยส่งเสริมทำาให้ผู้ใช้เครื่องสามารถคาดเดาลักษณะการทำางาน, รูป แบบการช่วยหายใจ มีความเข้าใจในการปรับตั้งตัวแปรต่างๆ ในการควบคุม การทำางานของเครื่อง, การตรวจวัด, การแสดงผล ตลอดจนภาวะการเตือน ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างพอเพียง ลักษณะการหายใจตามการตัดสินใจของสภาพผู้ป่วย(conditional variables) เป็นการแบ่งตามแบบของ Shapiro และ Cane ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ 1. การหายใจเพราะเครื่องช่วยหายใจเป็นผู้ขยายปอดให้กับผู้ป่วย (Mandatory breath) ลักษณะการจ่ายก๊าซ เวลาหายใจเข้า ขนาดของ tidal volume(Vt) หรือ pressure(Pi) และการสิ้นสุด(cycled) จะเกิดโดยเครื่องเป็นผู้จัดการให้ โดยถ้าเวลาตั้งต้น(triggered)ทำาโดยเครื่องเราจะเรียกการหายใจนั้นว่า control แต่ถ้าเวลาตั้งต้น(triggered)ทำาด้วยตัวผู้ป่วยเอง เราจะเรียกการ หายใจนั้นว่า assist และถ้าเวลาตั้งต้น(triggered)ทำาโดยเครื่องและทำาด้วย ตัวผู้ป่วยเองสลับไปมาเราจะเรียกการหายใจนั้นว่า assist/control 2. การหายใจด้วยตัวผู้ป่วยเอง (Spontaneous breath) สิ่งสำาคัญที่แยกจาก Mandatory breath คือ การเริ่มและสิ้นสุดการหายใจ กำาหนดด้วยตัวผู้ป่วยเอง รวมทั้งขนาดของ tidal volume(Vt) อัตราการ หายใจ เวลาการหายใจเข้าออกจะสั้นยาวไม่แน่นอน ขึ้นกับความต้องการ ของผู้ป่วย การควบคุมของการใช้เครื่องช่วยหายใจ(control variables) 1) Volume-controlled ventilation (VCV): เป็นการช่วยหายใจโดย ให้ก๊าซแรงดันบวกเข้าไปในปอดจนถึงระดับของ tidal volume ที่กำาหนดไว้ โดยไม่สนใจว่า airway pressure จะสูงหรือจะตำ่าเพียงใด การช่วยหายใจ แบบนี้ต้องกำาหนดค่าของ tidal volume และอัตราการหายใจที่ต้องการไว้ ก่อน และในรายที่ปอดมีความยืดหยุ่น(compliance)หรือแรงเสียด ทาน(resistance)เปลี่ยนแปลง airway pressure ก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย ในขณะที่ tidal volume จะยังคงที่อยู่เหมือนเดิม เครื่องช่วยหายใจรุ่นใหม่ ในปัจจุบันจะใช้การวัด flow แล้วนำาไปแปลงให้กลายเป็น volume จาก สมการ Volume(L)= Flow(L/sec) x Inspiratory time(sec) ดังนั้นจึงอาจ พูดได้ว่า Flow controlled ventilation ก็คือ Volume controlled ventilation นั่นเอง การช่วยหายใจรูปแบบนี้พบได้ใน controlled mandatory ventilation (CMV) และ synchronized intermittent mandatory ventilation (SIMV)
  • 5. 2) Pressure – controlled ventilation (PCV): การช่วยหายใจ แบบนี้มีความแตกต่างจากชนิด volume-controlled โดยต้องมีการตั้งค่า airway pressure ที่ต้องการไว้ก่อน แทนที่จะตั้ง tidal volume อย่างใน VCV เครื่องจะจ่ายก๊าซแรงดันบวกเข้าสู่ปอดในช่วงของการหายใจเข้า จนถึงระดับของ airway pressure ที่ตั้งไว้ โดยไม่สนใจว่า tidal volume จะสูงตำ่าเพียงใด ดังนั้นในรายที่ปอดมีความยืดหยุ่น(compliance)หรือแรง เสียดทาน(resistance)เปลี่ยนแปลง airway pressure จะยังคงที่อยู่ เหมือนเดิม ในขณะที่ tidal volume จะเปลี่ยนแปลงไปตามการ เปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย 3) Dual – controlled ventilation: เป็นการช่วยหายใจโดยอาศัย หลักการของทั้งสองรูปแบบข้างต้นร่วมกัน พบใน mode การช่วยหายใจ ใหม่ๆ เช่น pressure-regulated volume control (PRVC), adaptive support ventilation (ASV), volume support ventilation (VSV) โดย อาจตั้งระดับ tidal volume หรือ minute ventilation ที่ต้องการไว้ พร้อม กันนั้นก็กำาหนดระดับเพดานของ airway pressure ที่จะยอมให้ขึ้นไปสูงสุด ไว้ด้วย เครื่องจะวิเคราะห์คุณสมบัติทางกลศาสตร์ของปอด ณ ขณะนั้นและ นำาข้อมูลมาใช้ปรับระดับของแรงดันที่เหมาะสมได้เองเพื่อให้ได้ tidal volume หรือ minute ventilation ตามที่ตั้งไว้ รูปแบบ (mode) ของการช่วยการหายใจแบบ IPPV สามารถแบ่งได้หลายประเภท ในที่นี้ขอแบ่งเพื่อประโยชน์ตามการ ใช้งานเป็น ٥ ประเภท 1..CMV (Continuous mandatory ventilation ) เป็นรูปแบบการช่วยการหายใจโดยเครื่องสั่งการ จึงต้องตั้งอัตราการหายใจ (respiratory rate, RR) เสมอ ข้อบ่งชี้ในการใช้ CMV mode 1. ผู้ป่วยไม่มีแรงหายใจเอง หรือศูนย์การหายใจถูกกด 2. ต้องการควบคุมลักษณะการหายใจเพื่อประโยชน์สูงสุดในการ รักษา เช่น ควบคุมระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในผู้ป่วยที่มี ภาวะสมองบวม (brain edema) ขณะทำาการผ่าตัดทรวงอก หรือ ผ่าตัดช่องท้อง โดยเราอาจตั้งเป็น volume-controlled CMV,pressure-controlled CMV หรือ dual-controlled CMV แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้และสภาพผู้ป่วย 2. IMV (Intermittent Mandatory Ventilation) เป็นรูปแบบการช่วยหายใจที่มีการหายใจเองโดยธรรมชาติเองของผู้ ป่วย(spontaneous breath) สลับกับการหายใจด้วยความดันบวก (mandatory breath) ที่เกิดจากการทำางานของเครื่องช่วยหายใจเป็นระ ยะๆตามอัตราที่ได้กำาหนดไว้ ในกรณีนี้อัตราการหายใจทั้งหมดก็คืออัตรา การหายใจของผู้ป่วยเองรวมกับอัตราการช่วยหายใจที่เกิดจากการทำางาน ของเครื่อง ซึ่งเครื่องช่วยหายใจจะปล่อยให้มีอากาศปริมาณหนึ่งไหลต่อ
  • 6. เนื่องอยู่ในวงจรการหายใจตลอดเวลา (continuous flow) และการหายใจก็ อาจจะกระทำาบนระดับความดันบวกตลอดเวลาค่าหนึ่งก็ได้ เปรียบเทียบ IMV และ CMV mode ถ้าตั้งเครื่องช่วยหายใจ เป็น Volume controlled ventilation 12 ครั้งต่อนาที แต่ผู้ป่วยหายใจทั้งหมด 20 ครั้งต่อนาที การหายใจ 12 ครั้งต่อนาทีทั้ง 2 modes จะหายใจได้ tidal volume ที่ตั้งไว้ ส่วนการหายใจอีก 8 ครั้งที่เหลือ ใน CMV mode จะ หายใจได้ tidal volume ตามที่ตั้งไว้ ส่วนใน IMV mode นั้น tidal volume ที่ผู้ป่วยได้ขึ้นกับระดับของ pressure volume และพยาธิสภาพ ของปอดในขณะนั้น ซึ่งอาจไม่เท่ากับ tidal volume ที่ตั้งไว้ก็ได้ พูดง่ายๆ ก็คือในกรณี CMV mode ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เองเลยเครื่องก็จะ ช่วย ١٢ ครั้งต่อนาทีตามที่ตั้งไว้ ถ้าผู้ป่วยกระตุ้นเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด 20 ครั้งต่อนาที เครื่องช่วยหายใจใน CMV mode ก็จะช่วยหายใจทั้งหมด 20 ครั้งต่อนาทีและได้ tidal volume ตามที่ตั้งไว้ทั้ง 20 ครั้ง ในกรณี IMV mode ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เองเลยเครื่องก็จะช่วย ١٢ ครั้งต่อนาที ตามที่ตั้งไว้ ถ้าผู้ป่วยกระตุ้นเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด 20 ครั้งต่อนาที เครื่องช่วยหายใจใน IMV mode ก็จะช่วยหายใจทั้งหมดเพียง ١٢ ครั้งต่อ นาทีและได้ tidal volume ตามที่ตั้งไว้ ١٢ ครั้งส่วนการหายใจอีก 8 ครั้งที่ เหลือผู้ป่วยต้องหายใจเองโดยที่เครื่องไม่ได้ช่วยเลย 3. SIMV (Synchonized Intermittent Mandatory Ventilation) เป็นรูปแบบการช่วยหายใจที่คล้ายกับการหายใจในแบบ IMV mode เพียงแต่ว่าเมื่อถึงช่วงเวลาก่อนที่เครื่องช่วยหายใจจะปล่อยความดันบวก (mandatory breath) ออกมาในวงจรการหายใจนั้น เครื่องจะมีการตรวจ หา negative pressure ที่เกิดจากการเริ่มต้นการหายใจเข้าเองของผู้ป่วย ด้วย และจะปล่อยความดันบวกออกมาพร้อมกับจังหวะการเริ่มต้นการ หายใจเข้าของผู้ป่วยนี้ ทั้งนี้ให้การหายใจเองตามธรรมชาติของผู้ป่วยกับ การช่วยหายใจของเครื่องที่จะเกิดเป็นพักๆ นั้น มีความสอดคล้องกัน (synchronization) ซึ่งอัตราการหายใจโดยรวมก็ยังคงเป็นอัตราการหายใจ ตามธรรมชาติของผู้ป่วยรวมกับอัตราการช่วยหายใจจากเครื่อง การช่วยการหายใจแบบ SIMV เคยมีความนิยมใช้ในผู้ป่วยที่กำาลัง หย่าเครื่องช่วยหายใจ (weaning from mechanical ventilation) อย่างไร ก็ตาม หลักฐานการศึกษาทางคลินิกในปัจจุบันพบว่า การหย่าเครื่องด้วย SIMV ทำาให้ระยะเวลาในการหย่าเครื่องช่วยหายใจนานขึ้น เมื่อเปรียบ เทียบกับ spontaneous breathing trial ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน ดังนั้น จึงควร ใช้ SIMV สำาหรับผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจได้ยาก เมื่อการหย่าเครื่อง ช่วยหายใจโดยวิธีมาตรฐานคือ spontaneous breathing trial ล้มเหลว หรือผู้ป่วยที่มีรอยโรคทางระบบประสาทส่วนกลางที่มีอัตราการหายใจไม่ สมำ่าเสมอ 4. CPAP ( Continuous Positive Airway Pressure)
  • 7. เป็นการหายใจเองโดยธรรมชาติของผู้ป่วยตามปกติ (spontaneous ventilatoin) เพียงแต่เป็นการหายใจในขณะที่ความดันในทางเดินหายใจมี ค่าเป็นบวกหรืออยู่เหนือความดันบรรยากาศอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องช่วย หายใจจะสร้างและรักษาระดับความดันบวกนี้ไว้ตลอดทั้งระยะการหายใจ เข้าและออก 5. CSV ( Continuous Support Ventilation) หรือที่นิยมเรียกกันว่า Pressure support ventilation(PSV) เป็นการ หายใจเองตามธรรมชาติของผู้ป่วย ที่ผู้ป่วยสามารถกำาหนดอัตราการ หายใจ, อัตราการไหลของอากาศหายใจเข้า, เวลาในการหายใจเข้าและ ปริมาตรอากาศได้เอง โดยที่เครื่องช่วยหายใจจะช่วยการหายใจใน ลักษณะของการส่งเสริมความดันบวกออกมา ในจังหวะที่สอดคล้องกับการ เริ่มต้นการหายใจเข้าเองของผู้ป่วย โดยทำาการยกระดับความดันในทาง เดินหายใจของผู้ป่วยในขณะหายใจเข้าให้สูงถึงระดับความดันเป้าหมายที่ ได้ปรับตั้งไว้ และหยุดส่งเสริมความดันบวกออกมาเมื่อผู้ป่วยรู้สึกอิ่มพอแล้ว ตามความต้องการของผู้ป่วย ทั้งนี้เป็นการลดงานในการหายใจของผู้ป่วย และยังช่วยทำาให้ผู้ป่วยหายใจเข้าได้ปริมาตรอากาศที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย นอกจาก mode ที่ได้กล่าวถึงไปแล้ว ยังมี mode ที่ใช้การช่วยหายใจอีก มาก เช่น Airway pressure release ventilation (APRV), Biphasic positive airway pressure (BiPAP), Adaptive support ventilation (ASV), Proportional assist ventilation (PAV), Volume support ventilation(VS), Pressure regulated volume control (PRVC), Volume assure pressure support (VAPS) ซึ่งมีความซับซ้อนและต้องใช้ความ ชำานาญขั้นสูง จึงไม่ได้กล่าวถึง Mechanical ventilation protocol 1. Evaluate indication for mechanical ventilation 2. Initiate mechanical ventilation 3. Stabilize/management 4. Wean ventilator 5. Extubate แนวทางการตั้งเครื่องช่วยหายใจ (Basic Ventilator setting) Mode VC-CMV or S(CMV) ถ้าไม่แน่ใจ และเป็น Acute Respiratory failure ให้ ใช้ mode นี้ไปก่อน ส่วน PC-CMV ควรจะมีความ
  • 8. ชำานาญ VT(Tidal Volume) (ml/kg) – Predicted body weight 8-10 ส่วนใหญ่ให้ VT ขนาดนี้ก็ OK ผู้ใหญ่ ~ 500-550 ml เว้น ARDS ใช้ VT 4-6 ml/kg ต้องเพิ่ม RR RR(ครั้ง/นาที) 12-14 -Sepsis และมีMetabolic acidosis อาจต้องเพิ่ม RR~ 22-26/min (ถ้าจะ ให้ Sedate ลด WOB) -COPD or Asthma ตั้ง RR 8-10/min Ti (Inspiratory time) or I:E ratio I:E =1:2 -1:3 ปรับ ให้ได้ Inspire time 0.7-1.2 sec เน้นดูที่ Inspiratory time เป็นหลักให้เหมาะสมกับผู้ ป่วย ไม่นานและสั้นเกิน FiO2 0.4 Keep O2 sat > 92%, PaO2 ٨٠-١٠٠ mmHg ไม่ ให้hypoxia หรือ O2 toxicity PEEP(cmH2 O) 0 ถ้า ARDS, Pulmonary edema การให้ PEEP จะ ช่วยให้ O2 sat. ดีขึ้น Trigger – flow trigger - Pressure trigger Flow 3 L/ min Pressure – 2 cmH2 O Raphael จะมีแต่ flow trigger /Bennett จะมีให้ เลือก ส่วนใหญ่ใช้ flow trigger Base flow 3 เท่า ถ้าเหนื่อยมาก ดึงเครื่อง เช่น Sepsis อาจเพิ่ม Base flow เป็น ٥–١٠ เท่า Tube On ช่วยลด ET resistance
  • 9. compensation 80-100% ทั่วๆไปจะ off ก็ได้ Note Static Compliance = VT = VT (ml) P pplat-PEEP Resistance (Airway)= P = Ppeak-Pplat flow flow VT = flow x Time (L/Sec) Predicted BW : Male = 50 + (ส่วนสูง (ซม) – 150) x 2.3 2.5 Female = 45.5 + (ส่วนสูง(ซม) -150) x 2.3 2. 5 เช่น ผู้ชายสูง 170 ซม. Predicted BW = 50 + 170-150 x 2.3 = 68.4 kg. 2.5 • Inspiratory time ขึ้นกับ I:E ,RR ถ้ามีปุ่มปรับ I:E กับ RR ก็จะไม่มีปุ่มปรับ Inspiratory time เช่น RR 10 I : E =1 : 2 Inspire time ก็ จะเท่ากับ 2 วินาที RR 15 I : E =1 : 3 Inspire time ก็จะเท่ากับ 1 วินาที การหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Weaning ) 1. ประเมินผู้ป่วยก่อนเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในเรื่องดังต่อไปนี้ 1.1 ภาวะที่ทำาให้เกิดระบบหายใจล้มเหลวดีขึ้น 1.2 ไม่มีภาวะขาด ออกซิเจนทั้ง 3 ข้อ คือ - PaO2 / FiO2 ratio > 150 หรือ O2 sat > 92 % ขณะใช้ FiO2 < 0.4 ใน กรณีมี Monitor p peak ควรน้อยกว่า 20 cm H2O - PEEP < 5 CmH2O - FiO2 < 0.4 - Electrolyte ควรจะปกติ
  • 10. - ไม่ควรมีไข้ > 38 c. 1.3 ระบบการไหลเวียนเลือดปกติทั้ง 2 ข้อ 1.3.1 ไม่มี active Myocardial Ischemia 1.3.2 BP > 90/60 และไม่ต้องใช้ Vasopressor drug เพื่อ เพิ่มความดันโลหิตหรือใช้ Dopamine < 5 mcg / kg / min 1.4 ผู้ป่วยสามารถหายใจเองได้ 1.5 ประเมินการหายใจแบบ short period spontaneous breathing trial ( 5 นาที ) 1.6 อธิบายผู้ป่วย ให้กำาลังใจและความมั่นใจ เกี่ยวกับการฝึก หายใจ และคอยดูแลอย่างใกล้ชิด 1.7 จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหากสามารถทำาได้ หรือท่าศีรษะสูง 30. – 45 องศา 1.8 บันทึกข้อมูลพื้นฐานก่อนทำา short period SBT ได้แก่ BP , HR , RR , O2 sat หลังจากนั้นเปลี่ยนเป็น Mode CPAP ( spontaneous ) โดยใช้ PEEP 5 cm H2 O ไม่ต้องให้ PS 2. ประเมิน BP , HR ,RR , O2 sat ลักษณะการหายใจ ในช่วง 5 นาที หลังจากเปลี่ยนเป็น Mode spontaneus โดยควรยืนเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด ในช่วง 5 นาทีนี้ ถ้ามีข้อบ่งชี้ดังนี้ข้อใด ข้อหนึ่ง ให้หยุดการทำา short period SBT และ Back up กลับไปเป็น Mode , setting เดิม - RR > 35 / min หรือ RR < 10 / min - HR > 140 / min หรือ HR < 50 / min - BP > 180 / 90 หรือ BP < 90/60 - O2 sat < 90 % - ผู้ป่วยมีอาการกระสับกระส่าย หรือ แจ้งให้ทราบว่าทนไม่ ไหว ถ้าใน 5 นาทีแรกผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี้ของการหยุดทำา short period SBT ก็ ดำาเนินการทำา Long - period SBT ต่อได้ 3. การทำา Long - period SBT ( 120 min / SBT ) ทำาโดยให้ผู้ป่วย on T – piece เปิด Flow 8 L /min FiO2 0.4 แล้วติดตามอาการทุก 15 – 30 นาทีตาม Wening record ถ้ามีข้อบ่งชี้ใน การหยุดการทำา เหมือน short period SBP ก็ให้ Back up กลับไปเป็น Mode , setting เดิม หลังจากครบ 120 นาที ถือว่าผู้ป่วยผ่านการทำา 120 min SBT ก็เข้าสู่การทดสอบว่า ผู้ป่วยสามารถ Extubation ได้ หรือ ไม่ 4. ผู้ป่วยที่มีลักษณะดังนี้ข้อใดข้อหนึ่งควร Intubation ไว้ก่อน 1.GCS < 8 หรือ ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว และซึมมาก 2.ผู้ป่วยมีเสมหะปริมาณมาก และไม่มีแรงไอ ขณะ Suction 3.เคยมีประวัติ secretion obstruetion หรือ Reintubation ภายใน 48 ชั่วโมงหลัง Extubation
  • 11. ( ในกรณี ข้อ 3 ถ้า จะ Extubation ควรมีแพทย์เจ้าของไข้อยู่ด้วย ) ถ้าไม่มีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง ดังที่กล่าวมาให้แจ้งแพทย์พิจารณา Extubation ได้ หมายเหตุ 1) ในกรณีที่ทำา SBT 2 วัน ติดต่อกันแล้วยังไม่ผ่าน 120 min SBT ให้พิจารณาปรึกษา chest med 2) ในกรณีที่ผู้ป่วยผ่าน 120 min SBT แต่ยังไม่สามารถ Extubation ได้ ให้ประเมินการ Extubation ต่อทุกวัน ( พิจารณาย้ายกลับ ไปประเมินที่ Ward หรือ SUB ICU โดยมีการส่งเวรการประเมิน Extubation ให้ชัดเจน ) ถ้าประเมินแล้วว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มจะไม่ สามารถ Extubation ได้ ใน 2 อาทิตย์ ให้พิจารณาปรึกษาทำา traeheostomy Bird’s ventilator เครื่องช่วยหายใจ Bird ถูกสร้างและนำามาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1958 โดย ดร. Forest Bird ปัจจุบันพัฒนาเครื่องช่วยหายใจ Bird เป็น Mark ต่างๆ รุ่น ที่ใช้มากที่สุด คือ Mark 7 Bird’s ventilator เป็นเครื่องช่วยหายใจที่ใช้กัน แพร่หลายมากที่สุด มีจำานวนมากที่สุด เป็นเครื่องช่วยหายใจที่มีประโยชน์ ราคาถูก นำ้าหนักเบา ไม่ต้องใช้พลังงานจากแหล่งกำาเนิดไฟฟ้า ผู้ใช้จึงควร มีความรู้อย่างดี เพื่อนำาไปประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลักษณะสำาคัญของ Bird’s ventilator (รูปประกอบ) 1. เป็น flow control และ pressure cycling ventilator กล่าวคือ เมื่อเครื่องปล่อยลมถึง pressure ที่ตั้งไว้ inspiratory valve จะปิดและ exspiratory valve จะเปิด ซึ่งเป็นลักษณะที่แตกต่างจาก PC-CMV mode 2. เป็น pressure guarantee ดังนั้น จึงต้องติดตาม tidal volume โดยใช้ spirometer อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง หรือบ่อยกว่านี้ถ้าผู้ป่วยมีอาการ ไม่คงที่ สิ่งที่ต้องระวังในการใช้ Bird คือ
  • 12. - ไม่มีสัญญาณเตือน (Alarm) กรณีเครื่องหลุดจากผู้ป่วย หรือเมื่อ ความดันสูงเกินไป - ไม่ควรปรับปุ่ม expiratory timer ไว้ที่ตำาแหน่ง off เพราะเครื่องจะ ไม่ทำางานหายผู้ป่วยไม่สามารถกระตุ้นเครื่องหรือหยุดหายใจไป กะทันหัน - ไม่สามารถตั้ง PEEP (positive end-expiratory pressure) ได้ดังนั้น เมื่อต้องการตั้ง PEEP กับเครื่อง Bird ต้องต่ออุปกรณ์อื่นเพิ่มเติม ได้แก่ ● Underwater columns ● Spring-loaded diaphragm or kids ● Balloon valves ● Electromechanical valve - กรณีที่มีการตั้ง PEEP หรือมี auto-PEEP เกิดขึ้น การกระตุ้น เครื่องจะยากขึ้น หากการให้การช่วยหายใจผู้ป่วยรายใดจำาเป็นต้องตั้ง PEEP ควรเลือกใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดอื่นหรือ sedate ให้ผู้ป่วย หายใจตามเครื่องช่วยหายใจไปเลย - ควรใช้ spirometer วัดที่ exhalation valve เพื่อให้มั่นใจว่าได้ tidal volume ที่ต้องการ Protocol ขั้นตอนการตั้ง Bird’s Ventilator สำาหรับแพทย์ และพยาบาล ลำาดั บ รายการ ปกติ ชำารุ ด หมายเหตุ ١ ก่อนต่อเครื่องเข้ากับผู้ป่วย ต่อปลายวงจรสู่ผู้ป่วยของ Bird’s เข้ากับปอดเทียม หรือปิดปลายวงจรสู่ผู้ป่วยเอาไว้กับมือหรือบริเวณที่ ให้ความชื้น (มีแกนไว้เสียบปิดปลายวงจร) ٢ เปิดเครื่องที่ปุ่มด้านบน ٣ ปรับแกนคันโยกด้านซ้าย(ปรับ Sensitivity) สุด มา ด้านหน้าก่อนเพื่อลดความไวในการกระตุ้นเครื่อง จาก artifact ( Auto-triggering) 4 ปรับปุ่ม flow rate (ปุ่มบน) ไว้ที่ตรงกลาง (ประมาณ เลข ١٥ หรือ ٣٠ ลิตร/นาที) ٥ ปรับแกนด้านคันโยกด้านขวา(ปรับ Pressure) มา ตรง แนวกลาง (ประมาณ٢٠ cmH2o ) ٦ ปรับปุ่มควบคุมเวลาหายใจออก (ปุ่มล่าง) เพื่อตั้ง
  • 13. BACK UP Respiratory Rate โดยถ้าหมุนปุ่มตาม เข็มนาฬิกา เวลาในการหายใจออกจะมากขึ้นและ อัตราการหายใจจะลดลง ٧ ให้ตั้ง BACK UP RATE ไว้ที่ประมาณ ١٢-١٤ ครั้ง/นาทีแล้วจึงต่อเครื่องเข้ากับผู้ป่วย 8 หลังต่อเครื่องเข้ากับผู้ป่วย ต่อ Respirometer เข้าทาง expiratory valve ของผู้ ป่วยดูเข็มหน้าปัดของ Respirometer ที่ต่อ กับ expiratory valve จะต้องหมุนเฉพาะช่วงหายใจ ออกเท่านั้น 9 ปรับแกนคันโยกด้านขวา (Pressure) ให้ได้ tidal volume ประมาณ ٥٠٠-٦٠٠ ml โดยดูค่าจากหน้า ปัดของ Respirometer ที่ต่อกับ expiratory valve 10 ปรับปุ่ม Flow rate (ด้านบน) ไปทางซ้ายและขวาฟัง เสียงหายใจเข้าสั้น-ยาว เหมาะสมกับผู้ป่วย และผู้ ป่วยหายใจสัมพันธ์ดีกับเครื่องหรือไม่โดยถ้า Note ปรับปุ่ม Flow rate ไปด้านซ้าย (ทวนเข็ม นาฬิกา) Flow rate จะเพิ่มขึ้น แต่ inspiratory time จะสั้นลง อาจต้องปรับแกนคันโยก Pressure ด้าน ขวาเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้ inspiratory time ที่เหมาะสม และ Tidal volume ที่เหมาะสม ( ในกรณีที่ผู้ป่วย เหนื่อยมาก ๆ เช่น severe sepsis ,COPD, Asthma ให้ปรับปุ่ม Flow rate ไปด้านซ้ายมือสุดก่อน ระหว่างรอ Sedation และ correct condition ผู้ป่วย) 11 ปรับแกนคันโยก sensitivity (ด้านซ้าย) ให้อยู่ ประมาณ -١ ถึง -٢ cmH2o โดยดูจากหน้าปัดของ เครื่อง Bird’s Note ห้ามตั้ง Sensitivity ไว้หนักจนผู้ป่วยไม่ สามารถกระตุ้นเครื่องได้เพราะผู้ป่วยจะรู้สึกอึดอัด และทรมานมาก ١٢ หลังตั้งเครื่องช่วยหายใจ Bird’s เรียบร้อย ดูการหายใจของผู้ป่วยว่าหายใจสัมพันธ์ดีกับเครื่อง หรือไม่ ١٣ ฟังปอดว่าช่วงหายใจเข้ามีเสียงลมเข้าปอดทั้งสอง ข้างดีหรือไม่
  • 14. ١٤ ดู SpO2 ปลายนิ้ว Keep > 92% ١٥ พิจารณาเจาะ ABG หลังใส่เครื่องช่วงหายใจ ١٠- ١٥ นาที Note ในกรณี ที่ SpO2 < 92% ให้เปลี่ยนจาก Air- mixed เป็น FiO2 1.0 และปรับปุ่ม Flow rate ให้เพิ่ม ขึ้น(ทวนเข็มนาฬิกา)ถ้า Flow rate ลดลง และผู้ ป่วยอึดอัดและอาจต้องพิจารณา sedation ผู้ป่วย ชื่อผู้ปฎิบัติ…………………………………วันที่…………………………………… WARD…………………………… เอกสารอ้างอิง 1. อดิศร วงษา.ภาวะการหายใจล้มเหลว(Respiratory failure).ใน อภิรักษ์ ปาลวัฒน์วิไชย,อดิศร วงษาและคณะ.บรรณาธิการ.เวชบำาบัดวิกฤต.พิมพ์ ครั้งที่2 พฤษภาคม 2545.หน้า 13-18. 2. อนันต์ วัฒนธรรม.การใช้เครื่องช่วยหายใจเบื้องต้น(Basic mechanical ventilation).ใน อภิรักษ์ ปาลวัฒน์วิไช ย,อดิศร วงษาและ คณะ. บรรณาธิการ.เวชบำาบัดวิกฤต.พิมพ์ครั้งที่2 พฤษภาคม 2545.หน้า 45-53. 3. เ อ ก ริ น ท ร์ ภู มิ พิ เ ช ฐ .Practical Mechanical Ventilation:Initial Setting.ใน เอกรินทร์ ภูมิพิเชฐม,ไชยรัตน์ เพิ่มพิกุล บรรณาธิการ.Critical Care in Everyday Practice.หนังสือคู่มือการอบรมระยะสั้น ประจำาปี 2550 สมาคมเวชบำาบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย. 4. Mechanical Ventilation and Respiratory Care Principle and Pract ice.พุฑฒิพรรณี วรกิจโภคาทร,วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัยและคณะ บรรณาธิการ.พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2546. 5. การบำาบัดระบบหายใจในเวชปฏิบัติ.ทนันชัย บุญบูรพงศ์,ธนิต วีรัง คบุตร,ประสาทนีย์ จันทร บรรณาธิการ.พิมพ์ครั้งที่1 พฤศจิกายน 2551. 6 .สุนิสา ฉัตรมงคลชาติ. เครื่องช่วยหายใจ Bird (Bird ventilator) ในสุนิ สา ฉัตรมงคลชาติ บรรณาธิการ.Respiratory care. การดูแลผู้ป่วยที่ใช้ เครื่องช่วยหายใจและได้รับการบำาบัดด้วยออกซิเจน สงขลา, ชานเมืองการ พิมพ์, 2549 หน้า 187 – 194. 7. Bruce Gammon R, Strickland JH, Kennedy JI, et al. Mechanical ventilation: A review for the internist. Am J Med 1995;99:553-62. 8. Tobin MJ. Advances in mechanical ventilation. N Engl J Med 2001;344:1986-96. 9. Neil R MacIntyre,Richard D. Branson.Mechanical Ventilation , 1st ed, Neil R MacIntyre(ed.). Philadelphia, W.B. Saunders 2001. 10. Craig Lilly, Edward P. Ingenito,Steven D. Shapiro. RESPIRATORY FAILURE.Chapter 250.page 1588-91.HARRISON’S
  • 15. PRINCIPLES OF Internal Medicine.16th ed. McGraw-Hill;2005. (Related Topic page 1498-1505,1581-88) 11. Paul L.Marino,Kenneth M.Sutin.Acute respiratory failure.SectionVII. The ICU Book.3rd ed.Lippincott Williams&Wilkins;2007