SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
Matrix
1. นิยามของเมตริกซ์ นิยามที่ 1 เมตริกซ์คือ กลุ่มของจำนวนจริง หรือ  จำนวนเชิงซ้อน มาจัดเรียงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็น แถวตามแนวนอน (Horizontal) และ แนวตั้ง (Vertical) ซึ่งมีแถวตามแนวนอนเรียกว่า แถว (Row)และตาม แนวตั้งเรียกว่า สดมภ์ (Column)
โดยทั่วไปนิยมใช้ในรูปต่อไปนี้แทน ใช้สัญลักษณ์ เป็น                             หรือ
    เมตริกซ์ที่มี 1 แถวและ n สดมภ์ เรียก เมตริกซ์ เชิงแถว หรือ เวกเตอร์เชิงแถว  เช่น     เมตริกซ์ที่มี m แถวและ 1 สดมภ์ เรียก เมตริกซ์ เชิงสดมภ์ หรือ เวกเตอร์เชิงสดมภ์ เช่น
      เมตริกซ์จัตุรัส(Square Matrix)คือ เมตริกซ์ที่มี จำนวนแถวเท่ากับจำนวนสดมภ์ (m=n) หรือเรียกว่า เมตริกซ์อันดับ nมีรูปทั่วไปคือ สมาชิกที่อยู่ในตำแหน่ง i=jเรียก เส้นเส้นทแยงมุมหลัก
เมตริกซ์ศูนย์ (Zero MatrixหรือNull Matrix) คือ เมตริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์หมด เช่น 0     0     0 0     0     0 0     0     0  0     0     0 0     0     0  O = 			        หรือ
เมตริกซ์เฉียง (Diagonal Matrix)คือเมตริกซ์ จัตุรัสที่มีสมาชิกทุกตัวที่ไม่ได้อยู่บนเส้นทแยงมุมหลัก มีค่าเป็นศูนย์ทั้งหมด เช่น 4     0     0     0 0     3     0     0 0     0     2     0 0     0     0     1 2     0     0 0     3     0 0     0     4 หรือ
สเกล่าร์เมตริกซ์ (Scalar Matrix)คือเมตริกซ์ เฉียงที่มีสมาชิกทุกตัวบนเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากัน ทั้งหมด  เช่น 5     0     0     0 0     5     0     0 0     0     5     0 0     0     0     5 4     0     0 0     4     0 0     0     4 หรือ
เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix หรือ Unit Matrix)คือ เมตริกซ์เฉียงที่มีสมาชิกทุกตัวบน เส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากับ 1 ทั้งหมด ใช้สัญลักษณ์  Iหรือ Inแทนเอกลักษณ์เมตริกซ์อันดับ nเช่น 1     0     0     0 0     1     0     0 0     0     1     0 0     0     0     1 1     0     0 0     1     0 0     0     1 I3 = 			  หรือ I4 =
Ex. 3     2     0     1 7     1     6     4 A =  เป็นเมตริกซ์ขนาด     _________ แถว       _________ คอลัมน์ เขียนด้วยสัญลักษณ์   _____________
Ex.  จงบอกประเภทและมิติของเมตริกซ์ลักษณะ พิเศษต่อไปนี้ เมตริกซ์ศูนย์ มิติ  0     0     0 0     0     0  1.    O =  เมตริกซ์เชิงสดมภ์ มิติ 1 8 2.    A =
Ex.  จงบอกประเภทและอันดับของเมตริกซ์ลักษณะ พิเศษต่อไปนี้ 3.    B  =  2     4     6      8      0 เมตริกซ์เชิงแถว มิติ 2     0     0 0     3     0 0     0     4 เมตริกซ์เฉียง มิติ 4.   C  =
2. พีชคณิตของเมตริกซ์  2.1 การเท่ากันของเมตริกซ์ (Equal Matrix) ถ้า                             และ จะได้ A = Bก็ต่อเมื่อ   m = p และ    n = q และ  aij = bij   ทุกค่าของ    iและ   j
Ex. ดังนั้น Ex. ดังนั้น
Ex.ให้                              เมื่อ         และ         ถ้า A = B จงหาค่า x และ  y วิธีทำ นั่นคือ
2.2 การบวกลบเมตริกซ์ (Matrix Addition or Subtraction) 	   ให้                          และ    แล้ว   A + B   =   C    โดยที่
-1     2      4  3     -6    10  A =  4       2     -3 1       7      9  B =  Ex. และ จงหา C = A + Bและ     D  =  A - B วิธีทำ
คุณสมบัติของการบวกเมตริกซ์ ถ้า                         และ                        และ และ        แล้ว A + B   =   B + A กฎการสลับที่ (Commutative Law) A + (B + C)  =  (A + B) + C กฎการเปลี่ยนกลุ่ม (Associative Law)
คุณสมบัติของการบวกเมตริกซ์ A + B  =  A + Cก็ต่อเมื่อ    B = C A + (-A)   =   Oเมื่อ    -A = A + O  =  A
จงหาเมทริกซ์ X เมื่อกำหนดให้ วิธีทำ
วิธีทำ
แบบฝึกหัด  จงหาเมทริกซ์ X
2.3  การคูณเมตริกซ์        การคูณเมตริกซ์ด้วยสเกล่าร์ (Scalar Multiplication)  ให้                           และ k เป็นสเกลล่าร์  ดังนั้น นั่นคือ  เป็นการนำ k คูณกับสมาชิกทุกตัวในเมตริกซ์ เช่น a     b c     d ka	kb kc       kd k   =
Ex.  -5	       3 4	  1	       0 A =  จงคำนวณหา B  =  4A   ,     C  =  -3Aและ  D  =  (1/2)A วิธีทำ
Ex.  -5	       3 4	  1	       0 A =  จงคำนวณหา B  =  4A   ,     C  =  -3Aและ  D  =  (1/2)A วิธีทำ
กำหนดให้  จงหา  1)  3A            2)  -4B            3) -2A + 3B            4)  5B – 3A             5)  (1/2)B
4.2 การคูณเมตริกซ์ด้วยเมตริกซ์ (Matrix Multiplication) ถ้า                        และ                        แล้วผลคูณของเมตริกซ์ คือ                ซึ่งมีอันดับ               โดยที่                        คือ cij = aikbkj
b11   b12    ………   b1p b21   b22    ………   b2p . . bn1  bn2    ………    bnp a11   a12  ………  a1n a21   a22  ………  a2n . . am1  am2  ………  amn c11   c12  ………  c1p c21   c22  ………  c2p . cm1  cm2  ………  cmp เช่น =
Ex.จงหาผลคูณของเมตริกซ์ AB เมื่อ วิธีทำ
กำหนดให้ จงหา AB BA AC BC BD 6.  AA 7.  BC+AC DD (AB)C (AB)(BB) 11.  (A+B)C A(B+B) 3A2 – 2B2
คุณสมบัติของการคูณเมตริกซ์ ให้                            และ                          และ  และ   α     และ    β   เป็นสเกลล่าร์  (α+ β)A     = αA + βA α(A + B)= αA + α B 3.    α(β A)        =     (α β )A A(BC)      =     (AB)C            กฎการเปลี่ยนกลุ่ม 5.   A(B + C)    =   AB +  AC       กฎการแจกแจง
คุณสมบัติของการคูณเมตริกซ์ (A + B)C    =    AC + BC        กฎการแจกแจง ถ้า AB = AC  แล้ว ไม่จำเป็นว่า  B = C ถ้า  BA = CA แล้ว ไม่จำเป็นว่า B = C 9.   ถ้า AB = O  แล้ว ไม่จำเป็นว่า A = O  หรือ  B = O
Ex. กำหนดให้  และ                               จงแก้สมการหาเมตริกซ์ X เมื่อ
3. ชนิดของเมตริกซ์ 3.1  เมตริกซ์สลับเปลี่ยน (Transposed Matrix) 	ถ้า แล้ว เมตริกซ์สลับเปลี่ยนของ A คือ                          และใช้สัญลักษณ์  ATหรือ A' แทนเมตริกซ์สลับเปลี่ยนของ A
a11     a12     a13 a21     a22     a23 a31     a32     a33 a41     a42     a43 เช่น A =  4x3 a11     a12     a13      a14 a21     a22     a23      a24 a31     a32     a33      a34 A T=  3x4
คุณสมบัติของเมตริกซ์สลับเปลี่ยน 1.   (AT)T       =    A (kA )T       =   kATเมื่อk เป็นสเกลล่าร์ 3.   (A + B)T  =    AT + BT (AB)T      =   BTAT ATBT≠    BTAT 6.   (ABC)T   =    CTBTAT
Ex.จงหาเมตริกซ์สลับเปลี่ยนของเมตริกซ์ต่อไปนี้  1     2  3     0 -4     7 AT =  A =   4      4      -1  2      3      -4 -7      2       3 BT =  B =  2 8 2 CT =  C =
กำหนดให้ จงหา At Bt Ct Dt (At )t 6.  2At 7.  -3Bt 8.  D+Ct 9.  AB-Bt 10.  (At )2 11.  (AB)t 12.  BtAt 13.  (B+C)t 14.  (3B-2D)t 15.  (D+Ct )2
3.2  เมตริกซ์สมมาตร (Symmetric  Matrix) และ         เมตริกซ์เสมือนสมมาตร (Skew Symmetric Matrix) เมตริกซ์สมมาตร คือเมตริกซ์จัตุรัสที่มีคุณสมบัติว่า A =At เมตริกซ์เสมือนสมมาตร คือเมตริกซ์จัตุรัสที่มีคุณสมบัติว่า A = -At
Ex. ดังนั้น A เป็นเมตริกซ์สมมาตร ดังนั้น B ไม่เป็นเมตริกซ์สมมาตร
3.3  เมตริกซ์เฮอร์มิเชียน (Hermitian Matrix) และ        เมตริกซ์เสมือนเฮอร์มิเชียน (Skew Hermitian  Matrix) เมตริกซ์เฮอร์มิเชียน คือเมตริกซ์จัตุรัสซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนเชิงซ้อน ที่มีคุณสมบัติว่า  เมตริกซ์เสมือนเฮอร์มิเชียน คือเมตริกซ์จัตุรัสซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนเชิงซ้อน ที่มีคุณสมบัติว่า       คือเมตริกซ์สังยุค (Conjugate) ของเมตริกซ์  ซึ่งมีสมาชิกเป็นคู่สังยุคของสมาชิกเมตริกซ์  ที่สมนัยกัน
Ex. ดังนั้น Aเป็นเมตริกซ์เฮอร์มิเชียน ดังนั้น Bไม่เป็นเมตริกซ์เสมือนเฮอร์มิเชียน
3.4  เมตริกซ์สามเหลี่ยม (Triangular Matrix) เมตริกซ์สามเหลี่ยมบน (Lower Triangular Matrix) คือ  เมตริกซ์จัตุรัสใดๆ ที่มีสมาชิกทุกตัวที่อยู่เหนือเส้นทแยงมุมหลัก เป็นศูนย์หมด  เมตริกซ์สามเหลี่ยมล่าง (Upper Triangular Matrix) คือ  เมตริกซ์จัตุรัสใดๆ ที่มีสมาชิกทุกตัวที่อยู่ใต้เส้นทแยงมุมหลัก เป็นศูนย์หมด
เช่น เป็นเมตริกซ์สามเหลี่ยมบน เป็นเมตริกซ์สามเหลี่ยมล่าง
3.5  เมตริกซ์มีคาบ (Periodic Matrix) เมตริกซ์จัตุรัส A  ใดๆ จะเรียกว่ามีคาบ  k  ถ้ามีจำนวนเต็มบวก  kที่เล็กที่สุดที่ทำให้  Ak+1=  A
3.6ไอเดมโพเทนต์เมตริกซ์ (Idempotent Matrix) และ        นิลโพเทนต์เมตริกซ์ (Niplotent Matrix) ไอเดมโพเทนต์เมตริกซ์ คือเมตริกซ์จัตุรัส A  ใดๆที่มีคุณสมบัติว่า A2 = A  หรือเป็นเมตริกซ์มีคาบเท่ากับหนึ่ง นิลโพเทนต์เมตริกซ์ คือเมตริกซ์จัตุรัส A  ใดๆที่มีคุณสมบัติว่า AP = O  ซึ่ง P เป็นจำนวนเต็มบวกที่เล็กที่สุด และ O เป็นเมตริกซ์ศูนย์
3.7  เมตริกซ์ลดรูปเป็นศูนย์ (Echelon Matrix) และ        เมตริกซ์ลดรูปเป็นขั้น (Reduced Echelon Matrix) เมตริกซ์ลดรูปเป็นศูนย์  คือเมตริกซ์ เมตริกซ์  ที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1.  แถวที่มีสมาชิกเป็น “0” ทั้งหมด (ถ้ามี) จะอยู่แถวล่างสุด 2.  สมาชิกที่ไม่ใช่ “0” ตัวแรกในแต่ละแถวจะต้องเป็น “1” 3.  “1”ตัวแรกในแต่ละแถวจะต้องปรากฏอยู่ในสดมภ์ที่อยู่ทาง      ด้านขวาของ “1” ตัวแรกในแถวข้างบนที่ติดกัน
เมตริกซ์ลดรูปเป็นขั้น คือเมตริกซ์ เมตริกซ์  ที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1.  อยู่ในรูปเมตริกซ์ลดรูปเป็นศูนย์ (Echelon Matrix)   “1” ตัวแรกในแต่ละแถว เมื่อปรากฏอยู่ในสดมภ์ใดแล้ว      สมาชิกตัวอื่นๆในหลักนั้นจะเป็น “0” ทั้งหมด
4     2      3 0     1     1     2 0     0     1     5 A =  1      2      3 0      0      4 0      0      0 0      0      0 B =  Ex.เมตริกซ์ต่อไปนี้อยู่ในรูป row echelon หรือไม่ อยู่ในรูป row echelon  ไม่อยู่ในรูป row echelon
0     1     0    -1 0     0     3     0 0     0     0     0 C =  0     0     1    -1 0     1     0     0 0     0     0     0 D =  Ex.เมตริกซ์ต่อไปนี้อยู่ในรูป row echelon หรือไม่  ไม่อยู่ในรูป row echelon  ไม่อยู่ในรูป row echelon
 0     0 0     1     0 0     0     1 A =  1      2      0      0       1 0      0      1      2       3 0      0      0      0       0 B =  Ex.เมตริกซ์ใดที่อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced  echelon
0     1     0 0     0     1 0     0     0 C =  0     1 0     0  0     0 D =  Ex.เมตริกซ์ใดที่อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon
3.8  เมตริกซ์ย่อย (Submatrix) เมตริกซ์ย่อยของเมตริกซ์ A  คือสมาชิกในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ยังคงอยู่ เมื่อตัดบางแถว หรือบางสดมภ์ของเมตริกซ์ Aออกแล้ว หรือตัดทั้งแถวและสดมภ์ของ A ออกแล้ว ในการแบ่งเมตริกซ์เป็นเมตริกซ์ย่อย จะใช้เส้นประเป็นเส้นแบ่งกั้น เช่น
3.9  เมตริกซ์สัมประสิทธิ์ (Coefficient Matrix) ในรูปของสมการเชิงเส้น (Linear Equation)  สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเมตริกซ์ได้  a11x1 + a12x2 + a13x3 + ……. + a1nxn         =   b1 a21x1 + a22x2 + a23x3 + ……. + a2nxn         =   b2           .           . am1x1 + am2x2 + am3x3 + ……. + amnxn    =  bm
เขียนได้เป็น    AX  = B โดยที่     a11     a12 a13…….   a1n a21 a22a23…….   a2n           . am1 am2 am3…….  amn A =  mxn x1 x2 . xn b1 b2 . bm X =		              และ   B  =  nx1 mx1
เรียกเมตริกซ์ Aว่าเป็น เมตริกซ์สัมประสิทธิ์  และ  [A : B]  เรียกว่า เมตริกซ์แต่งเติม (Augmented Matrix) เรียกเมตริกซ์ Xว่าเป็น เมตริกซ์ตัวไม่ทราบค่า  (Unknown)  และเรียกเมตริกซ์ Bว่าเป็น เมตริกซ์ค่าคงที่  (Constant)
 1   -1 -2    2 A =  3.10  เมตริกซ์เอกฐาน (Singular Matrix) และ          เมตริกซ์ที่ไม่ใช่เอกฐาน (Non-Singular Matrix) เมตริกซ์เอกฐาน คือเมตริกซ์จัตุรัสที่ไม่สามารถหาเมตริกซ์อื่นใดมาคูณ  แล้วให้ผลคูณเป็นเมตริกซ์เอกลักษณ์ได้ เช่น
เมตริกซ์ที่ไม่ใช่เอกฐาน คือเมตริกซ์จัตุรัสที่สามารถหาเมตริกซ์อื่นใดมาคูณ  แล้วให้ผลคูณเป็นเมตริกซ์เอกลักษณ์ได้  บางที่เรียกว่า  Invertible Matrix เช่น      2     1 -2     2 A =

More Related Content

What's hot

สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์pohn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์kruthanapornkodnara
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์porntipa Thupmongkol
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม Patteera Praew
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 

What's hot (20)

สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์การคูณระหว่างเมทริกซ์
การคูณระหว่างเมทริกซ์
 
Unit 1 matrix
Unit 1 matrixUnit 1 matrix
Unit 1 matrix
 
Matrix2
Matrix2Matrix2
Matrix2
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
Matrix3
Matrix3Matrix3
Matrix3
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
Addition matrix
Addition matrixAddition matrix
Addition matrix
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 

Similar to Matrix53

ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์kroojaja
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vectorRangsit
 
เมทริกซ์
เมทริกซ์เมทริกซ์
เมทริกซ์Terayut Jeenjam
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทTutor Ferry
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 

Similar to Matrix53 (20)

Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2Ch02 linear algrebra2
Ch02 linear algrebra2
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vector
 
เมทริกซ์
เมทริกซ์เมทริกซ์
เมทริกซ์
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]Ppt%20vector[1]
Ppt%20vector[1]
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
01
0101
01
 
31201-01-03 Type
31201-01-03 Type31201-01-03 Type
31201-01-03 Type
 
123456789
123456789123456789
123456789
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Matrix53

  • 2. 1. นิยามของเมตริกซ์ นิยามที่ 1 เมตริกซ์คือ กลุ่มของจำนวนจริง หรือ จำนวนเชิงซ้อน มาจัดเรียงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็น แถวตามแนวนอน (Horizontal) และ แนวตั้ง (Vertical) ซึ่งมีแถวตามแนวนอนเรียกว่า แถว (Row)และตาม แนวตั้งเรียกว่า สดมภ์ (Column)
  • 4. เมตริกซ์ที่มี 1 แถวและ n สดมภ์ เรียก เมตริกซ์ เชิงแถว หรือ เวกเตอร์เชิงแถว เช่น เมตริกซ์ที่มี m แถวและ 1 สดมภ์ เรียก เมตริกซ์ เชิงสดมภ์ หรือ เวกเตอร์เชิงสดมภ์ เช่น
  • 5. เมตริกซ์จัตุรัส(Square Matrix)คือ เมตริกซ์ที่มี จำนวนแถวเท่ากับจำนวนสดมภ์ (m=n) หรือเรียกว่า เมตริกซ์อันดับ nมีรูปทั่วไปคือ สมาชิกที่อยู่ในตำแหน่ง i=jเรียก เส้นเส้นทแยงมุมหลัก
  • 6. เมตริกซ์ศูนย์ (Zero MatrixหรือNull Matrix) คือ เมตริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็นศูนย์หมด เช่น 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 O = หรือ
  • 7. เมตริกซ์เฉียง (Diagonal Matrix)คือเมตริกซ์ จัตุรัสที่มีสมาชิกทุกตัวที่ไม่ได้อยู่บนเส้นทแยงมุมหลัก มีค่าเป็นศูนย์ทั้งหมด เช่น 4 0 0 0 0 3 0 0 0 0 2 0 0 0 0 1 2 0 0 0 3 0 0 0 4 หรือ
  • 8. สเกล่าร์เมตริกซ์ (Scalar Matrix)คือเมตริกซ์ เฉียงที่มีสมาชิกทุกตัวบนเส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากัน ทั้งหมด เช่น 5 0 0 0 0 5 0 0 0 0 5 0 0 0 0 5 4 0 0 0 4 0 0 0 4 หรือ
  • 9. เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix หรือ Unit Matrix)คือ เมตริกซ์เฉียงที่มีสมาชิกทุกตัวบน เส้นทแยงมุมหลักมีค่าเท่ากับ 1 ทั้งหมด ใช้สัญลักษณ์ Iหรือ Inแทนเอกลักษณ์เมตริกซ์อันดับ nเช่น 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 1 I3 = หรือ I4 =
  • 10. Ex. 3 2 0 1 7 1 6 4 A = เป็นเมตริกซ์ขนาด _________ แถว _________ คอลัมน์ เขียนด้วยสัญลักษณ์ _____________
  • 11. Ex. จงบอกประเภทและมิติของเมตริกซ์ลักษณะ พิเศษต่อไปนี้ เมตริกซ์ศูนย์ มิติ 0 0 0 0 0 0 1. O = เมตริกซ์เชิงสดมภ์ มิติ 1 8 2. A =
  • 12. Ex. จงบอกประเภทและอันดับของเมตริกซ์ลักษณะ พิเศษต่อไปนี้ 3. B = 2 4 6 8 0 เมตริกซ์เชิงแถว มิติ 2 0 0 0 3 0 0 0 4 เมตริกซ์เฉียง มิติ 4. C =
  • 13. 2. พีชคณิตของเมตริกซ์ 2.1 การเท่ากันของเมตริกซ์ (Equal Matrix) ถ้า และ จะได้ A = Bก็ต่อเมื่อ m = p และ n = q และ aij = bij ทุกค่าของ iและ j
  • 14. Ex. ดังนั้น Ex. ดังนั้น
  • 15. Ex.ให้ เมื่อ และ ถ้า A = B จงหาค่า x และ y วิธีทำ นั่นคือ
  • 16. 2.2 การบวกลบเมตริกซ์ (Matrix Addition or Subtraction) ให้ และ แล้ว A + B = C โดยที่
  • 17. -1 2 4 3 -6 10 A = 4 2 -3 1 7 9 B = Ex. และ จงหา C = A + Bและ D = A - B วิธีทำ
  • 18. คุณสมบัติของการบวกเมตริกซ์ ถ้า และ และ และ แล้ว A + B = B + A กฎการสลับที่ (Commutative Law) A + (B + C) = (A + B) + C กฎการเปลี่ยนกลุ่ม (Associative Law)
  • 19. คุณสมบัติของการบวกเมตริกซ์ A + B = A + Cก็ต่อเมื่อ B = C A + (-A) = Oเมื่อ -A = A + O = A
  • 23. 2.3 การคูณเมตริกซ์ การคูณเมตริกซ์ด้วยสเกล่าร์ (Scalar Multiplication) ให้ และ k เป็นสเกลล่าร์ ดังนั้น นั่นคือ เป็นการนำ k คูณกับสมาชิกทุกตัวในเมตริกซ์ เช่น a b c d ka kb kc kd k =
  • 24. Ex. -5 3 4 1 0 A = จงคำนวณหา B = 4A , C = -3Aและ D = (1/2)A วิธีทำ
  • 25. Ex. -5 3 4 1 0 A = จงคำนวณหา B = 4A , C = -3Aและ D = (1/2)A วิธีทำ
  • 26. กำหนดให้ จงหา 1) 3A 2) -4B 3) -2A + 3B 4) 5B – 3A 5) (1/2)B
  • 27. 4.2 การคูณเมตริกซ์ด้วยเมตริกซ์ (Matrix Multiplication) ถ้า และ แล้วผลคูณของเมตริกซ์ คือ ซึ่งมีอันดับ โดยที่ คือ cij = aikbkj
  • 28. b11 b12 ……… b1p b21 b22 ……… b2p . . bn1 bn2 ……… bnp a11 a12 ……… a1n a21 a22 ……… a2n . . am1 am2 ……… amn c11 c12 ……… c1p c21 c22 ……… c2p . cm1 cm2 ……… cmp เช่น =
  • 30. กำหนดให้ จงหา AB BA AC BC BD 6. AA 7. BC+AC DD (AB)C (AB)(BB) 11. (A+B)C A(B+B) 3A2 – 2B2
  • 31. คุณสมบัติของการคูณเมตริกซ์ ให้ และ และ และ α และ β เป็นสเกลล่าร์ (α+ β)A = αA + βA α(A + B)= αA + α B 3. α(β A) = (α β )A A(BC) = (AB)C กฎการเปลี่ยนกลุ่ม 5. A(B + C) = AB + AC กฎการแจกแจง
  • 32. คุณสมบัติของการคูณเมตริกซ์ (A + B)C = AC + BC กฎการแจกแจง ถ้า AB = AC แล้ว ไม่จำเป็นว่า B = C ถ้า BA = CA แล้ว ไม่จำเป็นว่า B = C 9. ถ้า AB = O แล้ว ไม่จำเป็นว่า A = O หรือ B = O
  • 33. Ex. กำหนดให้ และ จงแก้สมการหาเมตริกซ์ X เมื่อ
  • 34. 3. ชนิดของเมตริกซ์ 3.1 เมตริกซ์สลับเปลี่ยน (Transposed Matrix) ถ้า แล้ว เมตริกซ์สลับเปลี่ยนของ A คือ และใช้สัญลักษณ์ ATหรือ A' แทนเมตริกซ์สลับเปลี่ยนของ A
  • 35. a11 a12 a13 a21 a22 a23 a31 a32 a33 a41 a42 a43 เช่น A = 4x3 a11 a12 a13 a14 a21 a22 a23 a24 a31 a32 a33 a34 A T= 3x4
  • 36. คุณสมบัติของเมตริกซ์สลับเปลี่ยน 1. (AT)T = A (kA )T = kATเมื่อk เป็นสเกลล่าร์ 3. (A + B)T = AT + BT (AB)T = BTAT ATBT≠ BTAT 6. (ABC)T = CTBTAT
  • 38. กำหนดให้ จงหา At Bt Ct Dt (At )t 6. 2At 7. -3Bt 8. D+Ct 9. AB-Bt 10. (At )2 11. (AB)t 12. BtAt 13. (B+C)t 14. (3B-2D)t 15. (D+Ct )2
  • 39. 3.2 เมตริกซ์สมมาตร (Symmetric Matrix) และ เมตริกซ์เสมือนสมมาตร (Skew Symmetric Matrix) เมตริกซ์สมมาตร คือเมตริกซ์จัตุรัสที่มีคุณสมบัติว่า A =At เมตริกซ์เสมือนสมมาตร คือเมตริกซ์จัตุรัสที่มีคุณสมบัติว่า A = -At
  • 40. Ex. ดังนั้น A เป็นเมตริกซ์สมมาตร ดังนั้น B ไม่เป็นเมตริกซ์สมมาตร
  • 41. 3.3 เมตริกซ์เฮอร์มิเชียน (Hermitian Matrix) และ เมตริกซ์เสมือนเฮอร์มิเชียน (Skew Hermitian Matrix) เมตริกซ์เฮอร์มิเชียน คือเมตริกซ์จัตุรัสซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนเชิงซ้อน ที่มีคุณสมบัติว่า เมตริกซ์เสมือนเฮอร์มิเชียน คือเมตริกซ์จัตุรัสซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนเชิงซ้อน ที่มีคุณสมบัติว่า คือเมตริกซ์สังยุค (Conjugate) ของเมตริกซ์ ซึ่งมีสมาชิกเป็นคู่สังยุคของสมาชิกเมตริกซ์ ที่สมนัยกัน
  • 42. Ex. ดังนั้น Aเป็นเมตริกซ์เฮอร์มิเชียน ดังนั้น Bไม่เป็นเมตริกซ์เสมือนเฮอร์มิเชียน
  • 43. 3.4 เมตริกซ์สามเหลี่ยม (Triangular Matrix) เมตริกซ์สามเหลี่ยมบน (Lower Triangular Matrix) คือ เมตริกซ์จัตุรัสใดๆ ที่มีสมาชิกทุกตัวที่อยู่เหนือเส้นทแยงมุมหลัก เป็นศูนย์หมด เมตริกซ์สามเหลี่ยมล่าง (Upper Triangular Matrix) คือ เมตริกซ์จัตุรัสใดๆ ที่มีสมาชิกทุกตัวที่อยู่ใต้เส้นทแยงมุมหลัก เป็นศูนย์หมด
  • 45. 3.5 เมตริกซ์มีคาบ (Periodic Matrix) เมตริกซ์จัตุรัส A ใดๆ จะเรียกว่ามีคาบ k ถ้ามีจำนวนเต็มบวก kที่เล็กที่สุดที่ทำให้ Ak+1= A
  • 46. 3.6ไอเดมโพเทนต์เมตริกซ์ (Idempotent Matrix) และ นิลโพเทนต์เมตริกซ์ (Niplotent Matrix) ไอเดมโพเทนต์เมตริกซ์ คือเมตริกซ์จัตุรัส A ใดๆที่มีคุณสมบัติว่า A2 = A หรือเป็นเมตริกซ์มีคาบเท่ากับหนึ่ง นิลโพเทนต์เมตริกซ์ คือเมตริกซ์จัตุรัส A ใดๆที่มีคุณสมบัติว่า AP = O ซึ่ง P เป็นจำนวนเต็มบวกที่เล็กที่สุด และ O เป็นเมตริกซ์ศูนย์
  • 47. 3.7 เมตริกซ์ลดรูปเป็นศูนย์ (Echelon Matrix) และ เมตริกซ์ลดรูปเป็นขั้น (Reduced Echelon Matrix) เมตริกซ์ลดรูปเป็นศูนย์ คือเมตริกซ์ เมตริกซ์ ที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1. แถวที่มีสมาชิกเป็น “0” ทั้งหมด (ถ้ามี) จะอยู่แถวล่างสุด 2. สมาชิกที่ไม่ใช่ “0” ตัวแรกในแต่ละแถวจะต้องเป็น “1” 3. “1”ตัวแรกในแต่ละแถวจะต้องปรากฏอยู่ในสดมภ์ที่อยู่ทาง ด้านขวาของ “1” ตัวแรกในแถวข้างบนที่ติดกัน
  • 48. เมตริกซ์ลดรูปเป็นขั้น คือเมตริกซ์ เมตริกซ์ ที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1. อยู่ในรูปเมตริกซ์ลดรูปเป็นศูนย์ (Echelon Matrix) “1” ตัวแรกในแต่ละแถว เมื่อปรากฏอยู่ในสดมภ์ใดแล้ว สมาชิกตัวอื่นๆในหลักนั้นจะเป็น “0” ทั้งหมด
  • 49. 4 2 3 0 1 1 2 0 0 1 5 A = 1 2 3 0 0 4 0 0 0 0 0 0 B = Ex.เมตริกซ์ต่อไปนี้อยู่ในรูป row echelon หรือไม่ อยู่ในรูป row echelon ไม่อยู่ในรูป row echelon
  • 50. 0 1 0 -1 0 0 3 0 0 0 0 0 C = 0 0 1 -1 0 1 0 0 0 0 0 0 D = Ex.เมตริกซ์ต่อไปนี้อยู่ในรูป row echelon หรือไม่ ไม่อยู่ในรูป row echelon ไม่อยู่ในรูป row echelon
  • 51. 0 0 0 1 0 0 0 1 A = 1 2 0 0 1 0 0 1 2 3 0 0 0 0 0 B = Ex.เมตริกซ์ใดที่อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon
  • 52. 0 1 0 0 0 1 0 0 0 C = 0 1 0 0 0 0 D = Ex.เมตริกซ์ใดที่อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon อยู่ในรูป row reduced echelon
  • 53. 3.8 เมตริกซ์ย่อย (Submatrix) เมตริกซ์ย่อยของเมตริกซ์ A คือสมาชิกในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ยังคงอยู่ เมื่อตัดบางแถว หรือบางสดมภ์ของเมตริกซ์ Aออกแล้ว หรือตัดทั้งแถวและสดมภ์ของ A ออกแล้ว ในการแบ่งเมตริกซ์เป็นเมตริกซ์ย่อย จะใช้เส้นประเป็นเส้นแบ่งกั้น เช่น
  • 54. 3.9 เมตริกซ์สัมประสิทธิ์ (Coefficient Matrix) ในรูปของสมการเชิงเส้น (Linear Equation) สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเมตริกซ์ได้ a11x1 + a12x2 + a13x3 + ……. + a1nxn = b1 a21x1 + a22x2 + a23x3 + ……. + a2nxn = b2 . . am1x1 + am2x2 + am3x3 + ……. + amnxn = bm
  • 55. เขียนได้เป็น AX = B โดยที่ a11 a12 a13……. a1n a21 a22a23……. a2n . am1 am2 am3……. amn A = mxn x1 x2 . xn b1 b2 . bm X = และ B = nx1 mx1
  • 56. เรียกเมตริกซ์ Aว่าเป็น เมตริกซ์สัมประสิทธิ์ และ [A : B] เรียกว่า เมตริกซ์แต่งเติม (Augmented Matrix) เรียกเมตริกซ์ Xว่าเป็น เมตริกซ์ตัวไม่ทราบค่า (Unknown) และเรียกเมตริกซ์ Bว่าเป็น เมตริกซ์ค่าคงที่ (Constant)
  • 57. 1 -1 -2 2 A = 3.10 เมตริกซ์เอกฐาน (Singular Matrix) และ เมตริกซ์ที่ไม่ใช่เอกฐาน (Non-Singular Matrix) เมตริกซ์เอกฐาน คือเมตริกซ์จัตุรัสที่ไม่สามารถหาเมตริกซ์อื่นใดมาคูณ แล้วให้ผลคูณเป็นเมตริกซ์เอกลักษณ์ได้ เช่น
  • 58. เมตริกซ์ที่ไม่ใช่เอกฐาน คือเมตริกซ์จัตุรัสที่สามารถหาเมตริกซ์อื่นใดมาคูณ แล้วให้ผลคูณเป็นเมตริกซ์เอกลักษณ์ได้ บางที่เรียกว่า Invertible Matrix เช่น 2 1 -2 2 A =