SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ใบความรู้
เรื่อง ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น (probability)
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด เท่ากับอัตราส่วนของจานวนผลที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น ต่อ
จานวนผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้
เมื่อผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม แต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่าๆ กัน
กาหนดให้ E เป็นเหตุการณ์ที่เราสนใจ
P(E) เป็นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์นั้น
n(s) เป็นจานวนสมาชิกทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่ม
n(E) เป็นจานวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่เราสนใจ
ดังนั้น P(E) =
)(
)(
Sn
En
ตัวอย่างที่ 1 ขวดแก้วใบหนึ่ง มีลูกแก้วอยู่ 10 ลูก เป็นลูกแก้วสีขาว 7 ลูก ที่เหลือเป็นลูกแก้วสี
ดา เมื่อสุ่มหยิบลูกแก้วขึ้นมา 1 ลูก ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีขาวเป็น
เท่าไร และความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีดาเป็นเท่าไร
วิธีทา ในขวดแก้วมีลูกแก้วสีดา 10 - 7 = 3 ลูก
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีขาว
10
7
และความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีดา
10
3
ตัวอย่างที่ 2 จงบอกผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นจากการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง และ
จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองเท่ากับ 11
วิธีทา ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ ขึ้นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5, 6
ดังรูป
ถ้าทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน ผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นสามารถแสดงได้ด้วยตารางต่อไปนี้
ลูกเต๋า ลูกที่ 2
ลูกเต๋าลูกที่1
1 2 3 4 5 6
1
2
3
4
5
6
(1, 1)
(2, 1)
(3, 1)
(4, 1)
(5, 1)
(6, 1)
(1, 2)
(2, 2)
(3, 2)
(4, 2)
(5, 2)
(6, 2)
(1, 3)
(2, 3)
(3, 3)
(4, 3)
(5, 3)
(6, 3)
(1, 4)
(2, 4)
(3, 4)
(4, 4)
(5, 4)
(6, 4)
(1, 5)
(2, 5)
(3, 5)
(4, 5)
(5, 5)
(6, 5)
(1, 6)
(2, 6)
(3, 6)
(4, 6)
(5, 6)
(6, 6)
ในตาราง สมาชิกตัวหน้า หมายถึง แต้มของลูกเต๋าลูกที่ 1 และสมาชิกตัวหลังคือ
แต้มของลูกเต๋าลูกที่ 2
จะเห็นว่า จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36
ผลบวกของแต้มทั้งสองเท่ากับ 11 เมื่อลูกเต๋าลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ขึ้นหน้าตามคู่อันดับ
(5, 6) และ (6, 5) ตามลาดับ
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองเท่ากับ 11 คือ
36
2
=
18
1
หมายเหตุ ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จะเกิดผลทั้งหมดเหมือนกับการทอด
ลูกเต๋าหนึ่งลูกพร้อมกัน 2 ครั้ง
ตัวอย่างที่ 3 ในขวดโหลทึบใบหนึ่ง มีลูกปิงปองสีส้ม 3 ลูก และลูกปิงปองสีแดง 2 ลูกถ้าหยิบ
ลูกปิงปองครั้งละหนึ่งลูก แล้วใส่กลับคืน โดยหยิบจานวน 2 ครั้ง จงหาผลที่
เกิดขึ้นทั้งหมด และความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกัน
และเป็นลูกเดียวกัน
วิธีทา กาหนดให้ ส1 ส2 ส3 แทนลูกปิงปองสีส้มลูกที่ 1 ลูกที่ 2 และลูกที่ 3 ตามลาดับ
ด1 ด2 แทนลูกปิงปองสีแดงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ
ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25
จานวนผลที่ได้ลูกปิงปองแต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็นลูกเดียวกันเท่ากับ 5
ดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็นลูกเดียวกัน
เท่ากับ
25
5
=
5
1
ตัวอย่างที่ 4 ในการหยิบไพ่ 1 ใบ ออกจากไพ่สารับหนึ่ง จานวนผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นเป็น
เท่าไร จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรือไพ่หมายเลข 7
ข้าวหลามตัด
วิธีทา ไพ่ 1 สารับ มี 52 ใบ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ชุด ชุดละ 13 ใบ ดังนี้
ผลทั้งหมด คือ A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, ..., K โพดา
A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, ..., K โพแดง
A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, ..., K ข้าวหลามตัด
A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, ..., K ดอกจิก
จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 52
จานวนที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรือไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัด
เท่ากับ 2
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรือไพ่หมายเลข 7
ข้าวหลามตัดเท่ากับ
52
2
=
26
1
ตัวอย่างที่ 5 จากการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้
1) ที่แต้มเป็นจานวนคู่ทั้งสองลูก
2) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋าทั้งสองมากกว่า 10
3) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋าทั้งสองเป็น 15
4) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋าทั้งสองมากกว่า 1
วิธีทา ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกันผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็นดังตาราง
จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36
1) เหตุการณ์ที่แต้มเป็นจานวนคู่ทั้งสองลูก ได้แก่ (2, 2), (2, 4) (2, 6), (4, 2),
(4, 4), (4, 6), (6, 2), (6, 4), (6, 6)
จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 9
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่แต้มเป็นจานวนคู่ทั้งสองลูกเท่ากับ
36
9
=
4
1
2) ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 ได้แก่ (5, 6), (6, 5), (6, 6)
จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 3
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 เท่ากับ
36
3
=
12
1
3) ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 ไม่มี เพราะผลรวมของแต้มสูงสุดเท่ากับ 12
จึงไม่มีจานวนเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 หรือจานวนเหตุการณ์นั้น
เท่ากับ 0
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 คือ
36
0
= 0
4) ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 ได้แก่ (1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1),
(2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
(4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5),
(5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)
จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 36
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 เท่ากับ
36
36
= 1
ตัวอย่างที่ 6 ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลขนาดเดียวกัน แต่สีต่างกันดังนี้ ลูกบอลสีเขียว 2 ลูก ลูก
บอล สีม่วง 2 ลูก และลูกบอลสีฟ้า 1 ลูกถ้าเขย่าถุงแล้วหลับตาหยิบลูกบอล 2 ลูก
จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้า และลูกบอลสีม่วงอย่างละลูก เมื่อ
1) หยิบทีละลูก หยิบแล้วไม่ใส่คืน
2) หยิบทีละลูก เมื่อหยิบลูกแรกแล้วใส่คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง
3) หยิบสองลูกพร้อมกัน
วิธีทา ให้ ข1 ข2 แทน ลูกบอลสีเขียวลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ
ม1 ม2 แทน ลูกบอลสีม่วงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ
ฟ แทน ลูกบอลสีฟ้า
เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและสีม่วง ได้แก่ (ม1, ฟ), (ม2, ฟ), (ฟ, ม1), (ฟ, ม2)
จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 4
1) หยิบทีละลูกหยิบแล้วไม่ใส่คืน ลูกบอลทั้งสองลูกจะไม่ซ้ากัน จากตาราง
จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 20
ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ
20
4
=
5
1
2) หยิบทีละลูกหยิบแล้วใส่คืน ลูกบอลที่หยิบครั้งที่ 2 เป็นลูกเดียวกับลูกบอลที่
หยิบได้ครั้งที่ 1 จากตาราง
จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25
ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ
25
4
3) หยิบสองลูกพร้อมกัน ลูกบอลทั้งสองจะไม่ซ้ากัน การหาค่าความน่าจะเป็นทาได้
2 วิธี
วิธีที่ 1 ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เป็นลูกบอลลูกที่ 1 และลูกที่ 2
ตามลาดับ วิธีนี้ใช้จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และจานวน
เหตุการณ์ เช่นเดียวกับข้อ1
ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ
20
4
=
5
1
วิธีที่ 2 ไม่ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เนื่องจากไม่ทราบว่าหยิบลูกใด
ก่อน ในกรณีนี้จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และเหตุการณ์แตกต่าง
ไปจากข้อ 1 ดังนี้
จากตารางข้างต้นถือว่า (ข1, ข2) เหมือนกับ (ข2, ข1), (ข1, ม1)
เหมือนกับ (ม1, ข1), ...
ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 10
เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วง คือ ม1 กับ ฟ
และ ม2 กับ ฟ (สลับที่กันได้)
จานวนเหตุการณ์ที่สนใจเท่ากับ 2
ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ
10
2
=
5
1
ข้อสังเกต 1. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 0
2. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่นอนเท่ากับ 1
3. ความน่าจะเป็นจะมีค่าระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 0 และน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1
นั่นคือ 0 ≤ P(E) ≤ 1
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง ความน่าจะเป็น
ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่…….
คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็นถุงเท้าสีดา 2 คู่ และสีขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่มโดยการ
หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็นสีเดียวกัน
2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรือ 11 ไว้ ถ้าสุ่มหยิบ
เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตัวเลขเป็น
2.1 จานวนคู่
2.2 จานวนเฉพาะ
2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
2.4 จานวนที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
3. หยิบลูกปิงปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกปิงปองสีแดงอยู่ 15 ลูก สีขาว 1 ลูก สีเหลือง
1 ลูก สีเขียว 1 ลูก สีฟ้า 1 ลูก และสีดา 1 ลูก จงหา
3.1 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีแดง
3.2 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิงปองสีดา
3.3 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีดา หรือสีขาว
4. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
ข้อที่ โจทย์ คาตอบ
1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้
1.1 บุตรคนแรกเป็นชาย
1.2 บุตรทั้งสองคนเป็นหญิง
1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน
1.1 ………………….
1.2 ………………….
1.3 ………………….
2 จากการสอบถามนักเรียน 3 คน ว่าชอบเรียนคณิตศาสตร์หรือไม่
จงหาความน่าจะเป็นที่
2.1 นักเรียนทั้งสามคนชอบเรียนคณิตศาสตร์
2.2 นักเรียนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์
2.1 ………………….
2.2 ………………….
3 สุ่มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็น
3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ
3.2 ที่จะเลือกได้ตัวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ
3.3 ที่จะเลือกได้ n
3.1 ………………….
3.2 ………………….
3.3 ………………….
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง ความน่าจะเป็น
ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่…….
คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็นถุงเท้าสีดา 2 คู่ และสีขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่มโดยการ
หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็นสีเดียวกัน
วิธีทา สมมติ ด1 แทน ถุงเท้าสีดาคู่ที่ 1
ด2 แทน ถุงเท้าสีดาคู่ที่ 2
ข1 แทน ถุงเท้าสีขาวคู่ที่ 1
ข2 แทน ถุงเท้าสีขาวคู่ที่ 2
จะได้ แซมเปิลสเปซ S = { ด1ด2 , ด1ข1 , ด1ข2 , ด2ข1 , ด2ข2 , ข1ข2 }
ให้ E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ถุงเท้าทั้ง 2 คู่ เป็นสีเดียวกัน
จะได้ E = { ด1ด2 , ข1ข2 }
นั่นคือ  
3
1
6
2
EP
2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรือ 11 ไว้ ถ้าสุ่มหยิบ
เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตัวเลขเป็น
2.1 จานวนคู่
2.2 จานวนเฉพาะ
2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
2.4 จานวนที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
วิธีทา สมมติให้ S แทน แซมเปิลสเปซของเหตุการณ์ทดลองสุ่มครั้งนี้
1E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยมีตัวเลขเป็นจานวนคู่
2E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็นจานวนเฉพาะ
3E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็นจานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
4E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็นจานวนที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
จะได้ S =  11,10,9,7,4,3
 10,41 E
 11,7,32 E
 
 9,4
9,3
4
3


E
E
นั่นคือ  
3
1
6
2
1 EP
 
 
 
3
1
6
2
3
1
6
2
2
1
6
3
4
3
2



EP
EP
EP
3. หยิบลูกปิงปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกปิงปองสีแดงอยู่ 15 ลูก สีขาว 1 ลูก
สีเหลือง 1 ลูก สีเขียว 1 ลูก สีฟ้า 1 ลูก และสีดา 1 ลูก จงหา
3.1 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีแดง
3.2 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิงปองสีดา
3.3 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีดา หรือสีขาว
วิธีทา ให้ S แทน แซมเปิลสเปซของการสุ่มหยิบลูกปิงปอง 1 ลูก
1E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิงปองสีแดง
2E แทน เหตุการณ์ที่หยิบไม่ได้ลูกปิงปองสีดา
3E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิงปองสีดา หรือสีขาว
ดังนั้น    
  4
3
20
151
1 
sn
En
EP
   
 
 
 
  10
1
20
2
20
19
3
3
2
2


sn
En
EP
sn
En
EP
4. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
ข้อที่ โจทย์ คาตอบ
1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้
1.1 บุตรคนแรกเป็นชาย
1.2 บุตรทั้งสองคนเป็นหญิง
1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน
1.1 2
1
1.2 4
1
1.3 4
3
2 จากการสอบถามนักเรียน 3 คน ว่าชอบเรียนคณิตศาสตร์หรือไม่
จงหาความน่าจะเป็นที่
2.1 นักเรียนทั้งสามคนชอบเรียนคณิตศาสตร์
2.2 นักเรียนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์
2.1
8
1
2.2
8
7
3 สุ่มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็น
3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ
3.2 ที่จะเลือกได้ตัวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ
3.3 ที่จะเลือกได้ n
3.1 2
1
3.2 2
1
3.3 4
1

More Related Content

What's hot

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล NOranee Seelopa
 

What's hot (20)

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
หู
หูหู
หู
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล Nแบบฝึก แฟกทอเรียล N
แบบฝึก แฟกทอเรียล N
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 

Similar to Prob

ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKrutom Nyschool
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02thetong1229
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02thetong1229
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นMc'Napat KhunKhoei
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
122121
122121122121
122121kay
 

Similar to Prob (20)

Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
การทดลองสุ่ม.Pdf
การทดลองสุ่ม.Pdfการทดลองสุ่ม.Pdf
การทดลองสุ่ม.Pdf
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
 
Najapen
NajapenNajapen
Najapen
 
Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02Najapen 140203041835-phpapp02
Najapen 140203041835-phpapp02
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
สูตรการหาความน่าจะเป็น
สูตรการหาความน่าจะเป็นสูตรการหาความน่าจะเป็น
สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
122121
122121122121
122121
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชาAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 

Prob

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น (probability) ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด เท่ากับอัตราส่วนของจานวนผลที่จะเกิดเหตุการณ์นั้น ต่อ จานวนผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้ เมื่อผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม แต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่าๆ กัน กาหนดให้ E เป็นเหตุการณ์ที่เราสนใจ P(E) เป็นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์นั้น n(s) เป็นจานวนสมาชิกทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่ม n(E) เป็นจานวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่เราสนใจ ดังนั้น P(E) = )( )( Sn En ตัวอย่างที่ 1 ขวดแก้วใบหนึ่ง มีลูกแก้วอยู่ 10 ลูก เป็นลูกแก้วสีขาว 7 ลูก ที่เหลือเป็นลูกแก้วสี ดา เมื่อสุ่มหยิบลูกแก้วขึ้นมา 1 ลูก ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีขาวเป็น เท่าไร และความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีดาเป็นเท่าไร วิธีทา ในขวดแก้วมีลูกแก้วสีดา 10 - 7 = 3 ลูก ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีขาว 10 7 และความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีดา 10 3
  • 2. ตัวอย่างที่ 2 จงบอกผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นจากการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง และ จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองเท่ากับ 11 วิธีทา ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ ขึ้นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังรูป ถ้าทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน ผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นสามารถแสดงได้ด้วยตารางต่อไปนี้ ลูกเต๋า ลูกที่ 2 ลูกเต๋าลูกที่1 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 (1, 1) (2, 1) (3, 1) (4, 1) (5, 1) (6, 1) (1, 2) (2, 2) (3, 2) (4, 2) (5, 2) (6, 2) (1, 3) (2, 3) (3, 3) (4, 3) (5, 3) (6, 3) (1, 4) (2, 4) (3, 4) (4, 4) (5, 4) (6, 4) (1, 5) (2, 5) (3, 5) (4, 5) (5, 5) (6, 5) (1, 6) (2, 6) (3, 6) (4, 6) (5, 6) (6, 6) ในตาราง สมาชิกตัวหน้า หมายถึง แต้มของลูกเต๋าลูกที่ 1 และสมาชิกตัวหลังคือ แต้มของลูกเต๋าลูกที่ 2 จะเห็นว่า จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36 ผลบวกของแต้มทั้งสองเท่ากับ 11 เมื่อลูกเต๋าลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ขึ้นหน้าตามคู่อันดับ (5, 6) และ (6, 5) ตามลาดับ
  • 3. ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองเท่ากับ 11 คือ 36 2 = 18 1 หมายเหตุ ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จะเกิดผลทั้งหมดเหมือนกับการทอด ลูกเต๋าหนึ่งลูกพร้อมกัน 2 ครั้ง ตัวอย่างที่ 3 ในขวดโหลทึบใบหนึ่ง มีลูกปิงปองสีส้ม 3 ลูก และลูกปิงปองสีแดง 2 ลูกถ้าหยิบ ลูกปิงปองครั้งละหนึ่งลูก แล้วใส่กลับคืน โดยหยิบจานวน 2 ครั้ง จงหาผลที่ เกิดขึ้นทั้งหมด และความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกัน และเป็นลูกเดียวกัน วิธีทา กาหนดให้ ส1 ส2 ส3 แทนลูกปิงปองสีส้มลูกที่ 1 ลูกที่ 2 และลูกที่ 3 ตามลาดับ ด1 ด2 แทนลูกปิงปองสีแดงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25 จานวนผลที่ได้ลูกปิงปองแต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็นลูกเดียวกันเท่ากับ 5 ดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองที่แต่ละลูกมีสีเดียวกันและเป็นลูกเดียวกัน เท่ากับ 25 5 = 5 1
  • 4. ตัวอย่างที่ 4 ในการหยิบไพ่ 1 ใบ ออกจากไพ่สารับหนึ่ง จานวนผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นเป็น เท่าไร จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรือไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัด วิธีทา ไพ่ 1 สารับ มี 52 ใบ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ชุด ชุดละ 13 ใบ ดังนี้ ผลทั้งหมด คือ A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, ..., K โพดา A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, ..., K โพแดง A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, ..., K ข้าวหลามตัด A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, ..., K ดอกจิก จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 52 จานวนที่จะหยิบไพ่ 1 ใบ จะได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรือไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัด เท่ากับ 2 ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ไพ่หมายเลข 4 โพแดง หรือไพ่หมายเลข 7 ข้าวหลามตัดเท่ากับ 52 2 = 26 1
  • 5. ตัวอย่างที่ 5 จากการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ต่อไปนี้ 1) ที่แต้มเป็นจานวนคู่ทั้งสองลูก 2) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋าทั้งสองมากกว่า 10 3) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋าทั้งสองเป็น 15 4) ผลรวมของแต้มบนหน้าของลูกเต๋าทั้งสองมากกว่า 1 วิธีทา ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกันผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็นดังตาราง จานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 36 1) เหตุการณ์ที่แต้มเป็นจานวนคู่ทั้งสองลูก ได้แก่ (2, 2), (2, 4) (2, 6), (4, 2), (4, 4), (4, 6), (6, 2), (6, 4), (6, 6) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 9 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่แต้มเป็นจานวนคู่ทั้งสองลูกเท่ากับ 36 9 = 4 1 2) ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 ได้แก่ (5, 6), (6, 5), (6, 6) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 3 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 10 เท่ากับ 36 3 = 12 1
  • 6. 3) ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 ไม่มี เพราะผลรวมของแต้มสูงสุดเท่ากับ 12 จึงไม่มีจานวนเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 หรือจานวนเหตุการณ์นั้น เท่ากับ 0 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเท่ากับ 15 คือ 36 0 = 0 4) ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 ได้แก่ (1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6), (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 36 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มมากกว่า 1 เท่ากับ 36 36 = 1 ตัวอย่างที่ 6 ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลขนาดเดียวกัน แต่สีต่างกันดังนี้ ลูกบอลสีเขียว 2 ลูก ลูก บอล สีม่วง 2 ลูก และลูกบอลสีฟ้า 1 ลูกถ้าเขย่าถุงแล้วหลับตาหยิบลูกบอล 2 ลูก จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้า และลูกบอลสีม่วงอย่างละลูก เมื่อ 1) หยิบทีละลูก หยิบแล้วไม่ใส่คืน 2) หยิบทีละลูก เมื่อหยิบลูกแรกแล้วใส่คืนก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง 3) หยิบสองลูกพร้อมกัน วิธีทา ให้ ข1 ข2 แทน ลูกบอลสีเขียวลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ ม1 ม2 แทน ลูกบอลสีม่วงลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ ฟ แทน ลูกบอลสีฟ้า
  • 7. เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและสีม่วง ได้แก่ (ม1, ฟ), (ม2, ฟ), (ฟ, ม1), (ฟ, ม2) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจทั้งหมดเท่ากับ 4 1) หยิบทีละลูกหยิบแล้วไม่ใส่คืน ลูกบอลทั้งสองลูกจะไม่ซ้ากัน จากตาราง จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 20 ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ 20 4 = 5 1 2) หยิบทีละลูกหยิบแล้วใส่คืน ลูกบอลที่หยิบครั้งที่ 2 เป็นลูกเดียวกับลูกบอลที่ หยิบได้ครั้งที่ 1 จากตาราง จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 25 ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ 25 4 3) หยิบสองลูกพร้อมกัน ลูกบอลทั้งสองจะไม่ซ้ากัน การหาค่าความน่าจะเป็นทาได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เป็นลูกบอลลูกที่ 1 และลูกที่ 2 ตามลาดับ วิธีนี้ใช้จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และจานวน เหตุการณ์ เช่นเดียวกับข้อ1 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ 20 4 = 5 1
  • 8. วิธีที่ 2 ไม่ให้ลาดับที่ของลูกบอลที่หยิบได้เนื่องจากไม่ทราบว่าหยิบลูกใด ก่อน ในกรณีนี้จานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด และเหตุการณ์แตกต่าง ไปจากข้อ 1 ดังนี้ จากตารางข้างต้นถือว่า (ข1, ข2) เหมือนกับ (ข2, ข1), (ข1, ม1) เหมือนกับ (ม1, ข1), ... ดังนั้นจานวนผลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเท่ากับ 10 เหตุการณ์ที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วง คือ ม1 กับ ฟ และ ม2 กับ ฟ (สลับที่กันได้) จานวนเหตุการณ์ที่สนใจเท่ากับ 2 ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีฟ้าและลูกบอลสีม่วงเท่ากับ 10 2 = 5 1 ข้อสังเกต 1. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 0 2. ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่นอนเท่ากับ 1 3. ความน่าจะเป็นจะมีค่าระหว่างมากกว่าหรือเท่ากับ 0 และน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 นั่นคือ 0 ≤ P(E) ≤ 1
  • 9. แบบฝึกทักษะ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่……. คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็นถุงเท้าสีดา 2 คู่ และสีขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่มโดยการ หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็นสีเดียวกัน 2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรือ 11 ไว้ ถ้าสุ่มหยิบ เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตัวเลขเป็น 2.1 จานวนคู่ 2.2 จานวนเฉพาะ 2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว 2.4 จานวนที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ 3. หยิบลูกปิงปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกปิงปองสีแดงอยู่ 15 ลูก สีขาว 1 ลูก สีเหลือง 1 ลูก สีเขียว 1 ลูก สีฟ้า 1 ลูก และสีดา 1 ลูก จงหา 3.1 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีแดง 3.2 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิงปองสีดา 3.3 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีดา หรือสีขาว
  • 10. 4. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ โจทย์ คาตอบ 1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ 1.1 บุตรคนแรกเป็นชาย 1.2 บุตรทั้งสองคนเป็นหญิง 1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน 1.1 …………………. 1.2 …………………. 1.3 …………………. 2 จากการสอบถามนักเรียน 3 คน ว่าชอบเรียนคณิตศาสตร์หรือไม่ จงหาความน่าจะเป็นที่ 2.1 นักเรียนทั้งสามคนชอบเรียนคณิตศาสตร์ 2.2 นักเรียนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์ 2.1 …………………. 2.2 …………………. 3 สุ่มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็น 3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ 3.2 ที่จะเลือกได้ตัวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ 3.3 ที่จะเลือกได้ n 3.1 …………………. 3.2 …………………. 3.3 ………………….
  • 11. เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่……. คาชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทาในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1. ในลิ้นชักมีถุงเท้าอยู่ 4 คู่ เป็นถุงเท้าสีดา 2 คู่ และสีขาว 2 คู่ ถ้าทาการทดลองสุ่มโดยการ หยิบถุงเท้ามา 2 คู่ ให้หาความน่าจะเป็นที่จะได้ถุงเท้าทั้งสองเป็นสีเดียวกัน วิธีทา สมมติ ด1 แทน ถุงเท้าสีดาคู่ที่ 1 ด2 แทน ถุงเท้าสีดาคู่ที่ 2 ข1 แทน ถุงเท้าสีขาวคู่ที่ 1 ข2 แทน ถุงเท้าสีขาวคู่ที่ 2 จะได้ แซมเปิลสเปซ S = { ด1ด2 , ด1ข1 , ด1ข2 , ด2ข1 , ด2ข2 , ข1ข2 } ให้ E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ถุงเท้าทั้ง 2 คู่ เป็นสีเดียวกัน จะได้ E = { ด1ด2 , ข1ข2 } นั่นคือ   3 1 6 2 EP 2. ในกล่องใบหนึ่งมีเบี้ย 6 อัน ซึ่งแต่ละอันเขียนตัวเลข 3 , 4 , 7 , 9 , 10 หรือ 11 ไว้ ถ้าสุ่มหยิบ เบี้ย 1 อัน ออกมาจากกล่องใบนี้ จงหาโอกาสที่จะได้เบี้ยที่มีตัวเลขเป็น 2.1 จานวนคู่ 2.2 จานวนเฉพาะ 2.3 จานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว 2.4 จานวนที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ วิธีทา สมมติให้ S แทน แซมเปิลสเปซของเหตุการณ์ทดลองสุ่มครั้งนี้ 1E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยมีตัวเลขเป็นจานวนคู่ 2E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็นจานวนเฉพาะ 3E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็นจานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว 4E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้เบี้ยเป็นจานวนที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
  • 12. จะได้ S =  11,10,9,7,4,3  10,41 E  11,7,32 E    9,4 9,3 4 3   E E นั่นคือ   3 1 6 2 1 EP       3 1 6 2 3 1 6 2 2 1 6 3 4 3 2    EP EP EP 3. หยิบลูกปิงปอง 1 ลูก จากถุงใบหนึ่ง ซึ่งมีลูกปิงปองสีแดงอยู่ 15 ลูก สีขาว 1 ลูก สีเหลือง 1 ลูก สีเขียว 1 ลูก สีฟ้า 1 ลูก และสีดา 1 ลูก จงหา 3.1 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีแดง 3.2 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบไม่ได้ลูกปิงปองสีดา 3.3 ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกปิงปองสีดา หรือสีขาว วิธีทา ให้ S แทน แซมเปิลสเปซของการสุ่มหยิบลูกปิงปอง 1 ลูก 1E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิงปองสีแดง 2E แทน เหตุการณ์ที่หยิบไม่ได้ลูกปิงปองสีดา 3E แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ลูกปิงปองสีดา หรือสีขาว ดังนั้น       4 3 20 151 1  sn En EP             10 1 20 2 20 19 3 3 2 2   sn En EP sn En EP
  • 13. 4. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่าแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ โจทย์ คาตอบ 1 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ 1.1 บุตรคนแรกเป็นชาย 1.2 บุตรทั้งสองคนเป็นหญิง 1.3 บุตรชายอย่างน้อย 1 คน 1.1 2 1 1.2 4 1 1.3 4 3 2 จากการสอบถามนักเรียน 3 คน ว่าชอบเรียนคณิตศาสตร์หรือไม่ จงหาความน่าจะเป็นที่ 2.1 นักเรียนทั้งสามคนชอบเรียนคณิตศาสตร์ 2.2 นักเรียนอย่างน้อย 1 คน ไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์ 2.1 8 1 2.2 8 7 3 สุ่มเลือกตัวอักษรในคาว่า “mountain” จงหาความน่าจะเป็น 3.1 ที่จะเลือกได้สระในภาษาอังกฤษ 3.2 ที่จะเลือกได้ตัวอักษรที่ไม่ใช่สระภาษาอังกฤษ 3.3 ที่จะเลือกได้ n 3.1 2 1 3.2 2 1 3.3 4 1