SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ใบความรู้
เรื่อง การทดลองสุ่ม
การทดลองสุ่ม (Random Experiment)
การทดลองสุ่ม คือ การทดลองซึ่งทราบว่า ผลลัพธ์อาจจะเป็นอะไรได้บ้าง
แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่า ในแต่ละครั้งที่ทดลองผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอะไร
ในบรรดาผลลัพธ์ที่อาจเป็นได้เหล่านั้น
เช่น ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง แต้มที่ปรากฏบนหน้าลูกเต๋าอาจจะเป็น 1 , 2 ,
3 , 4 , 5 หรือ 6 เรียกการทอดลูกเต๋าว่า “การทดลองสุ่ม”
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนผลการทดลองทอดลูกเต๋า 2 ลูก จานวนหนึ่งครั้ง
วิธีทา เนื่องจากโจทย์สนใจแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น ดังนั้นเราจะต้องเขียนแต้มของ
ลูกเต๋าที่มีโอกาสที่จะหงายขึ้นทั้งหมด
 ผลการทดลองสุ่ม คือ
(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6),
(2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6),
(3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
(4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6),
(5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6),
(6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)
ตัวอย่างที่ 2 โยนเหรียญ 1 เหรียญ และลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนแผนภาพต้นไม้
แสดงผลลัพธ์
วิธีทา เขียนแผนภาพต้นไม้ได้ดังนี้
เหรียญบาท แต้มบนลูกเต๋า ผลลัพธ์
1 (H, 1)
2 (H, 2)
3 (H, 3)
4 (H, 4)
5 (H, 5)
6 (H, 6)
1 (T, 1)
2 (T, 2)
3 (T, 3)
4 (T, 4)
5 (T, 5)
6 (T, 6)
 ผลการทดลองสุ่ม คือ (H, 1), (H, 2), (H, 3), (H, 4), (H, 5), (H, 6), (T, 1), (T, 2), (T, 3),
(T, 4), (T, 5), (T, 6)
H
T
ตัวอย่างที่ 3
1. การโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ ผลที่จะเกิดขึ้นได้คือ ขึ้นหัวหรือก้อย ดังรูป
หัว ก้อย
ดังนั้น ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ หัว ก้อย
2. การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง แต้มที่จะเกิดขึ้นได้คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ซึ่งไม่สามารถบอก
ได้ว่าจะเป็นแต้มอะไรใน 6 แต้มนี้
ดังนั้นผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6
3. บัตรรูปเรขาคณิตดังรูป สุ่มหยิบขึ้นมา 1 ใบ
ดังนั้น ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ บัตรรูปสามเหลี่ยม บัตรรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส บัตรรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้า และบัตรรูปวงกลม
4. บัตรคาตั้งแต่ ก ถึง ฮ สุ่มหยิบขึ้นมา 1 ใบ ผลที่จะเกิดขึ้นได้คือ บัตร ก บัตร ข บัตร ฃ
บัตร ค บัตร ฅ บัตร ฆ บัตร ง..บัตร อ และบัตร ฮ ซึ่งไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นบัตรของพยัญชนะใด
ใน 44 บัตรคานี้
ดังนั้นผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ บัตร ก บัตร ข บัตร ฃ บัตร ค บัตร ฅ ... บัตร อ บัตร ฮ
5. การสุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ ออกจากไพ่สารับหนึ่ง ซึ่งมี 52 ใบ โดยไพ่นั้นแบ่งเป็น
ชุด 4 ชุด ชุดละ 13 ใบ ดังนี้
จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 52
ดังนั้น ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ
A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, ..., K โพดา
A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, ..., K โพแดง
A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, ..., K ข้าวหลามตัด
A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, ..., K ดอกจิก
แบบฝึกทักษะ
เรื่อง การทดลองสุ่ม
ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่…….
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างในแต่ละข้อต่อไปนี้ที่การทดลองนั้น
เป็นการทดลองสุ่ม
ข้อที่ การทดลอง
การทดลองสุ่ม
เป็น ไม่เป็น
1 โยนเหรียญ 2 เหรียญ 1 ครั้ง
2 ดึงไพ่ 1 ใบ จากสารับ
3 หาผลบวกของจานวนสามจานวน
4 เลือกนักเรียนที่มีความสูงที่สุดในห้อง
5 เลือกยืมหนังสือที่ชอบอ่าน 1 เล่ม จากห้องสมุดกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
6 ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 1 ใบ
7 เปิดหนังสือหน้าที่มีรูปภาพมากที่สุด
8 จับสลากชื่อของนักเรียนในห้องขึ้นมา 1 คน
เฉลยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง การทดลองสุ่ม
ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่…….
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างในแต่ละข้อต่อไปนี้ที่การทดลองนั้น
เป็นการทดลองสุ่ม
ข้อที่ การทดลอง
การทดลองสุ่ม
เป็น ไม่เป็น
1 โยนเหรียญ 2 เหรียญ 1 ครั้ง /
2 ดึงไพ่ 1 ใบ จากสารับ /
3 หาผลบวกของจานวนสามจานวน /
4 เลือกนักเรียนที่มีความสูงที่สุดในห้อง /
5 เลือกยืมหนังสือที่ชอบอ่าน 1 เล่ม จากห้องสมุดกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ /
6 ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 1 ใบ /
7 เปิดหนังสือหน้าที่มีรูปภาพมากที่สุด /
8 จับสลากชื่อของนักเรียนในห้องขึ้นมา 1 คน /

More Related Content

What's hot

ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Janova Kknd
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็นKrukomnuan
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAon Narinchoti
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นอนันตชัย แปดเจริญ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKruAm Maths
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007Krukomnuan
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นchantana17
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKrutom Nyschool
 
กฎการนับ
กฎการนับกฎการนับ
กฎการนับJutaros Tosakul
 

What's hot (19)

ม.3
ม.3ม.3
ม.3
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็นแบบฝึกเสริมทักษะ  ความน่าจะเป็น
แบบฝึกเสริมทักษะ ความน่าจะเป็น
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
Counting theorem2
Counting theorem2Counting theorem2
Counting theorem2
 
Test
TestTest
Test
 
กฎการนับ
กฎการนับกฎการนับ
กฎการนับ
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 

Viewers also liked

Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .
Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .
Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .Som-Deepak Kumar-Sawant
 
Funciones del sistema excretor
Funciones del sistema excretorFunciones del sistema excretor
Funciones del sistema excretorAlejandro Manrique
 
Ruta de aprendizaje semana 4
Ruta de aprendizaje semana 4Ruta de aprendizaje semana 4
Ruta de aprendizaje semana 4Kattia Rodriguez
 
Nabeel Khan - Professional Persona Presentation
Nabeel Khan - Professional Persona PresentationNabeel Khan - Professional Persona Presentation
Nabeel Khan - Professional Persona PresentationNabeel Khan
 
ANIN intro derecho informatico
ANIN intro derecho informaticoANIN intro derecho informatico
ANIN intro derecho informaticoErnesto Silva
 
Bitwow present 2016
Bitwow present 2016Bitwow present 2016
Bitwow present 2016krisruan
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายAon Narinchoti
 

Viewers also liked (19)

His brob
His brobHis brob
His brob
 
Counting theorem
Counting theoremCounting theorem
Counting theorem
 
Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .
Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .
Soul setting in january-17-2017 and february-4&5-2017 from chief-devdoot .
 
Tablas dinamicas
Tablas dinamicasTablas dinamicas
Tablas dinamicas
 
Funciones del sistema excretor
Funciones del sistema excretorFunciones del sistema excretor
Funciones del sistema excretor
 
Negocios
NegociosNegocios
Negocios
 
Ruta de aprendizaje semana 4
Ruta de aprendizaje semana 4Ruta de aprendizaje semana 4
Ruta de aprendizaje semana 4
 
Nabeel Khan - Professional Persona Presentation
Nabeel Khan - Professional Persona PresentationNabeel Khan - Professional Persona Presentation
Nabeel Khan - Professional Persona Presentation
 
Clase n° 5 passo
Clase n° 5   passoClase n° 5   passo
Clase n° 5 passo
 
COSTO Y VOLUMEN
COSTO Y VOLUMENCOSTO Y VOLUMEN
COSTO Y VOLUMEN
 
ANIN intro derecho informatico
ANIN intro derecho informaticoANIN intro derecho informatico
ANIN intro derecho informatico
 
Funciones cuadráticas
Funciones cuadráticasFunciones cuadráticas
Funciones cuadráticas
 
Sexualidad responsable
Sexualidad responsableSexualidad responsable
Sexualidad responsable
 
Bitwow present 2016
Bitwow present 2016Bitwow present 2016
Bitwow present 2016
 
Roxi y tirso
Roxi y tirsoRoxi y tirso
Roxi y tirso
 
Crystallography
CrystallographyCrystallography
Crystallography
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชาAon Narinchoti
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศAon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 

Random experiment

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่ม (Random Experiment) การทดลองสุ่ม คือ การทดลองซึ่งทราบว่า ผลลัพธ์อาจจะเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่า ในแต่ละครั้งที่ทดลองผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอะไร ในบรรดาผลลัพธ์ที่อาจเป็นได้เหล่านั้น เช่น ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง แต้มที่ปรากฏบนหน้าลูกเต๋าอาจจะเป็น 1 , 2 , 3 , 4 , 5 หรือ 6 เรียกการทอดลูกเต๋าว่า “การทดลองสุ่ม” ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนผลการทดลองทอดลูกเต๋า 2 ลูก จานวนหนึ่งครั้ง วิธีทา เนื่องจากโจทย์สนใจแต้มของลูกเต๋าที่หงายขึ้น ดังนั้นเราจะต้องเขียนแต้มของ ลูกเต๋าที่มีโอกาสที่จะหงายขึ้นทั้งหมด  ผลการทดลองสุ่ม คือ (1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6), (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)
  • 2. ตัวอย่างที่ 2 โยนเหรียญ 1 เหรียญ และลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนแผนภาพต้นไม้ แสดงผลลัพธ์ วิธีทา เขียนแผนภาพต้นไม้ได้ดังนี้ เหรียญบาท แต้มบนลูกเต๋า ผลลัพธ์ 1 (H, 1) 2 (H, 2) 3 (H, 3) 4 (H, 4) 5 (H, 5) 6 (H, 6) 1 (T, 1) 2 (T, 2) 3 (T, 3) 4 (T, 4) 5 (T, 5) 6 (T, 6)  ผลการทดลองสุ่ม คือ (H, 1), (H, 2), (H, 3), (H, 4), (H, 5), (H, 6), (T, 1), (T, 2), (T, 3), (T, 4), (T, 5), (T, 6) H T
  • 3. ตัวอย่างที่ 3 1. การโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ ผลที่จะเกิดขึ้นได้คือ ขึ้นหัวหรือก้อย ดังรูป หัว ก้อย ดังนั้น ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ หัว ก้อย 2. การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง แต้มที่จะเกิดขึ้นได้คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ซึ่งไม่สามารถบอก ได้ว่าจะเป็นแต้มอะไรใน 6 แต้มนี้ ดังนั้นผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 3. บัตรรูปเรขาคณิตดังรูป สุ่มหยิบขึ้นมา 1 ใบ ดังนั้น ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ บัตรรูปสามเหลี่ยม บัตรรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส บัตรรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า และบัตรรูปวงกลม 4. บัตรคาตั้งแต่ ก ถึง ฮ สุ่มหยิบขึ้นมา 1 ใบ ผลที่จะเกิดขึ้นได้คือ บัตร ก บัตร ข บัตร ฃ บัตร ค บัตร ฅ บัตร ฆ บัตร ง..บัตร อ และบัตร ฮ ซึ่งไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นบัตรของพยัญชนะใด ใน 44 บัตรคานี้ ดังนั้นผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ บัตร ก บัตร ข บัตร ฃ บัตร ค บัตร ฅ ... บัตร อ บัตร ฮ
  • 4. 5. การสุ่มหยิบไพ่ 1 ใบ ออกจากไพ่สารับหนึ่ง ซึ่งมี 52 ใบ โดยไพ่นั้นแบ่งเป็น ชุด 4 ชุด ชุดละ 13 ใบ ดังนี้ จานวนผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นเท่ากับ 52 ดังนั้น ผลทั้งหมดที่จะเกิดขึ้น คือ A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, ..., K โพดา A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, ..., K โพแดง A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, ..., K ข้าวหลามตัด A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, ..., K ดอกจิก
  • 5. แบบฝึกทักษะ เรื่อง การทดลองสุ่ม ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่……. คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างในแต่ละข้อต่อไปนี้ที่การทดลองนั้น เป็นการทดลองสุ่ม ข้อที่ การทดลอง การทดลองสุ่ม เป็น ไม่เป็น 1 โยนเหรียญ 2 เหรียญ 1 ครั้ง 2 ดึงไพ่ 1 ใบ จากสารับ 3 หาผลบวกของจานวนสามจานวน 4 เลือกนักเรียนที่มีความสูงที่สุดในห้อง 5 เลือกยืมหนังสือที่ชอบอ่าน 1 เล่ม จากห้องสมุดกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ 6 ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 1 ใบ 7 เปิดหนังสือหน้าที่มีรูปภาพมากที่สุด 8 จับสลากชื่อของนักเรียนในห้องขึ้นมา 1 คน
  • 6. เฉลยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การทดลองสุ่ม ชื่อ…………………………………………..ชั้น………………..เลขที่……. คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / ลงในช่องว่างในแต่ละข้อต่อไปนี้ที่การทดลองนั้น เป็นการทดลองสุ่ม ข้อที่ การทดลอง การทดลองสุ่ม เป็น ไม่เป็น 1 โยนเหรียญ 2 เหรียญ 1 ครั้ง / 2 ดึงไพ่ 1 ใบ จากสารับ / 3 หาผลบวกของจานวนสามจานวน / 4 เลือกนักเรียนที่มีความสูงที่สุดในห้อง / 5 เลือกยืมหนังสือที่ชอบอ่าน 1 เล่ม จากห้องสมุดกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ / 6 ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 1 ใบ / 7 เปิดหนังสือหน้าที่มีรูปภาพมากที่สุด / 8 จับสลากชื่อของนักเรียนในห้องขึ้นมา 1 คน /