SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
ประเภท ( / ) วิชาการ
( ) กีฬาและการออกกาลังกาย
( ) ภาษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
( ) อื่น ๆ
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสาคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนามาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
ประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ซึ่งความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคม ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ก่อให้การปฏิรูปการศึกษา
ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้สนับสนุนให้มีการส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนา
การศึกษาและสนับสนุน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาการศึกษา ส่งผลให้อาจารย์
และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางการศึกษาต้องหันมาคิดค้นนวัตกรรมต่างๆ เพื่อช่วยในการจัดการเรียน
การสอนให้มีประสิทธิภาพ (สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. 2545 : 75) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนา
การศึกษาให้เข้าถึงประชาชน ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
ช่วยจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและความแม่นยาในการ
จัดทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่างๆ ในงานจัด
การศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอนจากคากล่าวที่ว่า “ถ้าเราให้
ปลา เขากินอิ่มได้เพียงมื้อเดียว ถ้าเราสอนวิธีหาปลา เขาจะหาปลารับประทานได้เองตลอดชีวิต”
(Give a man a fish and he can eat for a day. Teach a man to fish and he can eat for
the rest of his life) จะเห็นได้ว่าการสอนวิธีการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้มีความสาคัญยิ่งกว่า
การให้ความรู้ เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาความรู้ใหม่ ๆ และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้
การศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจึงมีความสาคัญยิ่งต่อการเรียนทุกระดับ เป็นการพัฒนาคนให้เป็นคนที่
มีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติในยุคเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการ
เรียนรู้ (Knowledge-based Learning Economy) (น้าทิพย์ วิภาวิน. 2546 : 15) ซึ่งจาก
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศดังที่เกริ่นมาข้างต้น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาทต่อ
ระบบการศึกษาและวิธีการเรียนการสอนที่ทาให้เกิดแนวทางใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไปจากการศึกษารูป
แบบเดิม คือ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อวิธีการเรียนการสอน ผู้เรียนจะเรียนเมื่อต้องการ
เรียนเท่านั้น กล่าวคือผู้เรียนสามารถเลือกวิชา เวลา สถานที่ ได้ตามความสนใจโดยไม่ต้องมีตาราง
เรียน ไม่จาเป็นต้องเข้าชั้นเรียน และสามารถเลือกศึกษาตามเรื่องที่ตนอยากรู้ซึ่งอาจเลือกเรียนด้วย
ตนเองเพียงลาพัง หรือเรียนรู้พร้อมๆ กับผู้อื่นที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกันก็ได้ ลักษณะการเรียนรู้
จะเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งความรู้ต่างๆ ทั่วโลกโดยไม่มีขีดจากัดด้านเวลา และสถานที่
เพราะผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยระบบออนไลน์ทั่วโลก และการเรียนรู้
จะเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต รูปแบบการเรียนรู้ และเป้าหมายของการศึกษาได้เปลี่ยนไปจากเดิม
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ถือเป็นขั้นตอนที่สาคัญในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู โดยครูจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นครูมืออาชีพ ตลอดจน
คิดค้นหาแนวทางใหม่ๆ ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ กระบวนการเรียนการ
สอน เป็นส่วนหนึ่งที่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้และช่วยเหลือครูให้เป็นครูมืออาชีพตามแนวทาง
ดาเนินงานปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นอกจากนี้ครูยังมีบทบาทที่สาคัญในการจัด
การศึกษาให้นักเรียนเพื่อการเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พ.ศ.2558
โดยเสริมสร้างให้นักเรียนมีคุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้
ด้านทักษะ/กระบวน และด้านเจตคติ โดยเฉพาะด้านทักษะเกี่ยวกับทักษะการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน นาเสนอ เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงาน และ
การพัฒนาทักษะที่จาเป็นให้กับนักเรียนสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือทักษะด้านการเรียนรู้
และนวัตกรรมเป็นหัวใจสาหรับทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ยังต้องมีทักษะอื่น
มาประกอบและส่งเสริม ได้แก่ทักษะในด้านสารสนเทศ (information) ด้านสื่อ (media) และ
ด้านดิจิตอล (digital literacy) เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึงต่อไป
การใช้สื่อเทคโนโลยีออนไลน์เข้ามามีบทบาทในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง การเล่น
Facebook Twitter สื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของนักเรียน ดังนั้น
การเข้าถึงผู้เรียนอีกทางหนึ่งคือการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ได้ทุกสถานที่ทุกเวลา และผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับครูได้ตลอดเวลาที่ออนไลน์ในอินเตอร์เน็ต ทาให้
นักเรียนได้รับผลในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับเป้าหมายของการจัดการศึกษาแบบ
มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข นาความรู้
ที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง ชุมชน และประเทศชาติสืบต่อไป และสร้างเจตคติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์
อย่างสร้างสรรค์
กิจกรรมชุมนุมเป็นทางออกหนึ่งที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์จะปลูกฝังความรักในคณิตศาสตร์
และเปิดโอกาสให้นักเรียนเห็นว่าคณิตศาสตร์นาไปใช้งานต่อได้หรือสามารถนาไปสร้างสรรค์งาน ๆ
อื่นได้ต่อไป
ชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์ เป็นการจัดกิจกรรมชุมนุมเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาการใช้สื่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ พัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 และเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์ของชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
1. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บูรณาการการเรียนรู้คณิตศาสตร์และเตรียม
ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
เป้าหมาย
นักเรียนที่มีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 40 คน
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ 1 โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
ช่วงเวลาที่ปฏิบัติกิจกรรม
คาบที่ 6 ของทุกวันศุกร์
คุณสมบัติของผู้สมัคร
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1 รับสมัคร สัปดาห์แรกของภาคเรียนที่ 1 นายนรินทร์โชติ
บุณยนันท์สิริ2 ชี้แจงจุดประสงค์ของชุมนุม สัปดาห์ที่ 2 ของภาคเรียน
3 ดาเนินกิจกรรม สัปดาห์ที่ 3 -17 ของภาคเรียน
4 ประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรม สัปดาห์ที่ 18 ของภาคเรียน
เกณฑ์การประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม
1. นักเรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมไม่น้อยกว่า 80%
2. นักเรียนมีผลงาน Blog อย่างน้อยคนละ 1 เรื่อง
งบประมาณ
ไม่มี
ผู้รับผิดชอบ
นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
2. ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
3. ผู้เรียนมีเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ปฏิทินกิจกรรมชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
จัดกิจกรรมชุมนุมทุกวันศุกร์ เวลา 13.50 – 14.40 น. ณ ห้องคอมพิวเตอร์ 1
ครั้งที่ สัปดาห์ รายละเอียดกิจกรรม หมายเหตุ
1 สัปดาห์ที่ 1 ชี้แจงจุดประสงค์ของชุมนุม
2 สัปดาห์ที่ 2 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
3 สัปดาห์ที่ 3 Social media กับการศึกษา
4 สัปดาห์ที่ 4 การสมัครใช้งาน wordpress
5 สัปดาห์ที่ 5 การปรับแต่ง wordpress เบื้องต้น
6 สัปดาห์ที่ 6 การจัดการธีม
7 สัปดาห์ที่ 7 Page และ post
8 สัปดาห์ที่ 8 การสร้าง link
9 สัปดาห์ที่ 9 การใส่วีดีโอ
10 สัปดาห์ที่ 10 การจัดการ widgets
11 - 17 สัปดาห์ที่ 11- 17 สร้างโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์
หมายเหตุ ปฏิทินกิจกรรมเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556Piphat Kon Kean Chalk
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfssuser29b0ec
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007Krukomnuan
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1Totsaporn Inthanin
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
ข้อสอบสุขศึกษาและพลศึกษา ป-2-2-2556
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
สูจิบัตรกีฬาสี วิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด ประจำปี 2557 ฉบับที่ 1
 
แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...
 

Viewers also liked

แผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลายแผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลายjunyarat
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์kruthanapornkodnara
 
แผน ค31201 แผนที่ 1
แผน ค31201 แผนที่ 1แผน ค31201 แผนที่ 1
แผน ค31201 แผนที่ 1krucharuncha2
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (6)

แผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลายแผ่นพับปลาย
แผ่นพับปลาย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
แผน ค31201 แผนที่ 1
แผน ค31201 แผนที่ 1แผน ค31201 แผนที่ 1
แผน ค31201 แผนที่ 1
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
 
Final 31201 53
Final 31201 53Final 31201 53
Final 31201 53
 

Similar to รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์

การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmediatayval
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mew46716
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictsarayuttong
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictnamyensudarat
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationTor Jt
 

Similar to รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์ (20)

Chapter 6 gw
Chapter 6 gwChapter 6 gw
Chapter 6 gw
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmedia
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
Ict
IctIct
Ict
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 

More from Aon Narinchoti

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 

รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์

  • 1. ชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์ ประเภท ( / ) วิชาการ ( ) กีฬาและการออกกาลังกาย ( ) ภาษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ( ) อื่น ๆ หลักการและเหตุผล ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสาคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนามาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ซึ่งความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคม ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ก่อให้การปฏิรูปการศึกษา ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้สนับสนุนให้มีการส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนา การศึกษาและสนับสนุน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาการศึกษา ส่งผลให้อาจารย์ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางการศึกษาต้องหันมาคิดค้นนวัตกรรมต่างๆ เพื่อช่วยในการจัดการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพ (สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. 2545 : 75) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนา การศึกษาให้เข้าถึงประชาชน ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและความแม่นยาในการ จัดทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่างๆ ในงานจัด การศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอนจากคากล่าวที่ว่า “ถ้าเราให้ ปลา เขากินอิ่มได้เพียงมื้อเดียว ถ้าเราสอนวิธีหาปลา เขาจะหาปลารับประทานได้เองตลอดชีวิต” (Give a man a fish and he can eat for a day. Teach a man to fish and he can eat for the rest of his life) จะเห็นได้ว่าการสอนวิธีการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้มีความสาคัญยิ่งกว่า การให้ความรู้ เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาความรู้ใหม่ ๆ และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ การศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจึงมีความสาคัญยิ่งต่อการเรียนทุกระดับ เป็นการพัฒนาคนให้เป็นคนที่ มีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติในยุคเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการ เรียนรู้ (Knowledge-based Learning Economy) (น้าทิพย์ วิภาวิน. 2546 : 15) ซึ่งจาก ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศดังที่เกริ่นมาข้างต้น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาทต่อ ระบบการศึกษาและวิธีการเรียนการสอนที่ทาให้เกิดแนวทางใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไปจากการศึกษารูป แบบเดิม คือ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อวิธีการเรียนการสอน ผู้เรียนจะเรียนเมื่อต้องการ เรียนเท่านั้น กล่าวคือผู้เรียนสามารถเลือกวิชา เวลา สถานที่ ได้ตามความสนใจโดยไม่ต้องมีตาราง เรียน ไม่จาเป็นต้องเข้าชั้นเรียน และสามารถเลือกศึกษาตามเรื่องที่ตนอยากรู้ซึ่งอาจเลือกเรียนด้วย ตนเองเพียงลาพัง หรือเรียนรู้พร้อมๆ กับผู้อื่นที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกันก็ได้ ลักษณะการเรียนรู้ จะเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งความรู้ต่างๆ ทั่วโลกโดยไม่มีขีดจากัดด้านเวลา และสถานที่
  • 2. เพราะผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยระบบออนไลน์ทั่วโลก และการเรียนรู้ จะเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต รูปแบบการเรียนรู้ และเป้าหมายของการศึกษาได้เปลี่ยนไปจากเดิม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ถือเป็นขั้นตอนที่สาคัญในการจัดการศึกษาของโรงเรียน กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู โดยครูจะต้องพัฒนาตนเองให้เป็นครูมืออาชีพ ตลอดจน คิดค้นหาแนวทางใหม่ๆ ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ กระบวนการเรียนการ สอน เป็นส่วนหนึ่งที่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้และช่วยเหลือครูให้เป็นครูมืออาชีพตามแนวทาง ดาเนินงานปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นอกจากนี้ครูยังมีบทบาทที่สาคัญในการจัด การศึกษาให้นักเรียนเพื่อการเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน พ.ศ.2558 โดยเสริมสร้างให้นักเรียนมีคุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวน และด้านเจตคติ โดยเฉพาะด้านทักษะเกี่ยวกับทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน นาเสนอ เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงาน และ การพัฒนาทักษะที่จาเป็นให้กับนักเรียนสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือทักษะด้านการเรียนรู้ และนวัตกรรมเป็นหัวใจสาหรับทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ยังต้องมีทักษะอื่น มาประกอบและส่งเสริม ได้แก่ทักษะในด้านสารสนเทศ (information) ด้านสื่อ (media) และ ด้านดิจิตอล (digital literacy) เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึงต่อไป การใช้สื่อเทคโนโลยีออนไลน์เข้ามามีบทบาทในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง การเล่น Facebook Twitter สื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของนักเรียน ดังนั้น การเข้าถึงผู้เรียนอีกทางหนึ่งคือการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้ทุกสถานที่ทุกเวลา และผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับครูได้ตลอดเวลาที่ออนไลน์ในอินเตอร์เน็ต ทาให้ นักเรียนได้รับผลในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับเป้าหมายของการจัดการศึกษาแบบ มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข นาความรู้ ที่ได้รับไปพัฒนาตนเอง ชุมชน และประเทศชาติสืบต่อไป และสร้างเจตคติในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมชุมนุมเป็นทางออกหนึ่งที่ครูผู้สอนคณิตศาสตร์จะปลูกฝังความรักในคณิตศาสตร์ และเปิดโอกาสให้นักเรียนเห็นว่าคณิตศาสตร์นาไปใช้งานต่อได้หรือสามารถนาไปสร้างสรรค์งาน ๆ อื่นได้ต่อไป ชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์ เป็นการจัดกิจกรรมชุมนุมเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศบูรณาการการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ พัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ของชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บูรณาการการเรียนรู้คณิตศาสตร์และเตรียม ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
  • 3. เป้าหมาย นักเรียนที่มีความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 40 คน สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ 1 โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด ช่วงเวลาที่ปฏิบัติกิจกรรม คาบที่ 6 ของทุกวันศุกร์ คุณสมบัติของผู้สมัคร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) ขั้นตอนการดาเนินงาน ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1 รับสมัคร สัปดาห์แรกของภาคเรียนที่ 1 นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ2 ชี้แจงจุดประสงค์ของชุมนุม สัปดาห์ที่ 2 ของภาคเรียน 3 ดาเนินกิจกรรม สัปดาห์ที่ 3 -17 ของภาคเรียน 4 ประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรม สัปดาห์ที่ 18 ของภาคเรียน เกณฑ์การประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมไม่น้อยกว่า 80% 2. นักเรียนมีผลงาน Blog อย่างน้อยคนละ 1 เรื่อง งบประมาณ ไม่มี ผู้รับผิดชอบ นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. ผู้เรียนมีเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
  • 4. ปฏิทินกิจกรรมชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จัดกิจกรรมชุมนุมทุกวันศุกร์ เวลา 13.50 – 14.40 น. ณ ห้องคอมพิวเตอร์ 1 ครั้งที่ สัปดาห์ รายละเอียดกิจกรรม หมายเหตุ 1 สัปดาห์ที่ 1 ชี้แจงจุดประสงค์ของชุมนุม 2 สัปดาห์ที่ 2 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3 สัปดาห์ที่ 3 Social media กับการศึกษา 4 สัปดาห์ที่ 4 การสมัครใช้งาน wordpress 5 สัปดาห์ที่ 5 การปรับแต่ง wordpress เบื้องต้น 6 สัปดาห์ที่ 6 การจัดการธีม 7 สัปดาห์ที่ 7 Page และ post 8 สัปดาห์ที่ 8 การสร้าง link 9 สัปดาห์ที่ 9 การใส่วีดีโอ 10 สัปดาห์ที่ 10 การจัดการ widgets 11 - 17 สัปดาห์ที่ 11- 17 สร้างโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์ หมายเหตุ ปฏิทินกิจกรรมเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม