SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
รายชื่อสมาชิก
• นาย จุมพฏ
อาพันพงษ์ รหัส 5209110009
• นางสาวศุภิสรา
จันทร์ทอง รหัส 5209110022
• นางสาวชวานันท์ ไชยมี
รหัส 5209110038
• นางสาวเบญจพร อุทกัง
รหัส 5209110039
• นางสาวธีรดา
มุ่งทวีพงศ์ษา รหัส 5209110045
นิสิตทันตแพทยศาตร์ ชั้นปีที่ 3

Western University
Monomer ionized with Glass
HISTORY
1. 1873 Thomus Fletcher : silicate cement
(powder : aluminosilicate glass )
(liquid : phospholic acid )

2. 1908 shoenbeck ได้เพิมฟลูออไรด์ลงใน silicate cement
่
(powder : aluminosilicate glass +fluoride )
(liquid : phospholic acid )

3. 1968 Dennis C.Smith : polycaboxylate cement
(powder : zinc oxide)
(liquid : polyacrylic acid )
HISTORY(Cont.)
4. Wilson & Kent [kent เติม ฟลูออไรด์ ลงใน powder
= aluminosilicate polyacrylate] จุดเริมต้น GICs
่
(powder : fluoroaluminosilicate glass)
(liquid : polyacrylic acid )

5. 1972 wilson and Crisp
(powder : fluoroaluminosilicate glass)
(liquid : polyacrylic acid+tartalic acid )

6. 1984 Prosser
(powder :fluoroaluminosilicate glass+ polyacrylic acid+tartalic acid )
(liquid : water)
Tooth color material’s continuum
GLASS
IONOMER

RESIN
COMPOSITE
RESIN
MODIFIED
GLASS
IONOMER

POLY ACID
MODIFIED
RESIN
COMPOSITE
OR COMPOMER

GIOMER
Tooth color material’s continuum
GLASS IONOMER

วัสดุบรณะสีเหมือนฟัน
ู

ข้อดี
- คุณสมบัติทางกายภาพคล้ายคลึงกับ
เนื้อฟัน
- สัมประสิทธิ์การขยายตัวเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงอุณภูมิใกล้เคียงกับเนื้อฟัน
- ยึดติดกับฟันด้วยฟันธะทางเคมี
- ปล่อยฟลูออไรด์ได้
ข้อเสีย
- มีtensile strength ต่า
- สีขาวไม่สวย

RESIN COMPOSITE
ข้อดี
- มีความแข็งแรง
- ทนทานและมีสีให้เลือกใช้
มากมาย
ข้อเสีย
-ไม่มีการปลดปล่อยฟลูออไรด์
-Polymerlize shinkage มาก
RESIN MODIFIED GLASS IONOMER
• ส่วนประกอบ
– powder : Calciumfuoroalumino silicate glass
– liquid : polyacrylic acid +methacrylate monomer +camphorquinone +amine

• มีคุณสมบัติคล้ายGIC คือ ปลดปล่อยฟลูออไรด์และคุณสมบัติคล้าย

เนื้อฟัน
• สีสวยงามแข็งแรงทนทานมากกว่า GIC แต่สีก็ยังไม่ใสเท่าฟันมนุษย์

จึงทาให้มีการผลิต compomer ขึ้นมา
•
•
•
•

POLY ACID MODIFIED RESIN COMPOSITE
OR COMPOMER
สีเหมือนฟัน และสวยเหมือน RESIN COMPOSITE
สามารถยึดติดฟันธรรมชาติได้เหมือนGIC
วัสดุสามารถปลดปล่อยฟลูออไรด์ได้แต่ปริมาณไม่สงเท่าGIC
ู
ข้อเสีย มันจะหลุดได้ง่ายเมื่อ นาไปบูรณะฟันclass V
แต่ก็ยังใช้เรื่อยมาจนกระทั่ง 2544
Giomer
• ส่วนประกอบ
filler: fluoroaluminosilicateglass+polyacrylic acid
liquid : monomer(Bis GMA,TEGDEMA)

ข้อดี สีสวยเหมือนฟัน ทนทานต่อการแตกหักและแข็งแรงสูง
ข้อเสีย ปล่อยฟลูออไรด์น้อย
ส่วนประกอบ
=> Hydrous

=> AnHydrous
การเกิดปฏิกิริยา : acid base reaction

Dissolution phase

Gelation phase
Initial set

Dissolution phase
Gelation phase

Final set
โครงสร้างของ GIC ทีแข็งตัว
่
Glass Filler

Polysalt Matrix

Silica Gel
[ Silica แยกจาก Ca2+ + Al3+ แล้ว ไปทา ไปทาปฏิกิรยากับ H+  Silica hydrogel]
ิ
สมดุลย์ของน้าในวัสดุ (water balance)
• water base material  GICs เป็นวัสดุที่มีน้าเป็น
ส่วนประกอบ
• Cement ที่แข็งตัวแล้วมีน้าเป็นองค์ประกอบ 24%
• ระวัง “water intake @ ระยะแรกของการแข็งตัว”
• ระวัง “water uptake @ ระยะหลังของการแข็งตัว”
วิธีการรักษาสมดุลน้าใน GICs ทา varnish หลังอุดเสร็จ
Cement ทีแข็งตัวแล้ว
่
Glass Filler ≈ 12-18%
Matrix
= Free ion
(more release)
การปล่อย F
ไม่มีผลต่อโครงสร้าง
และ Physical properties ของ GIC
Burst Effect
ความสัมพันธ์ระหว่าง ฟัน กับ GICs

คือ การเกิด Chemical bond
HA ก่อน ทาปฏิกิรยา กับ GIC
ิ

Matrix @ GIC

HA เมื่อสัมผัสกับ GIC

Chemical Bond
Classification GICs
ตาม wilson and Mclean ปี 1988
Type I Luting cements : Fuji Plus ,Vitremer Luting
cements
**Type II Restorative cement : Fuji II LC ,Vitremer
-restorative aesthetic ปรับปรุงคุณสมบัติให้ใกล้เคียงกับ
วัสดุบูรณะในอุดมคติ
-Restorative reinforced เติมโลหะบางอย่างเพื่อความ
แข็งแรง
Type III Base or lining cement : Fuji lining LC,Vitrebond
www.uhs.edu.pk/downloads/examination_data/bds/dm_SEQ.pdf
เราจะมาดูเฉพาะ Type II นะ
Type II Restorative cement
- Restorative aesthetic
พบได้ใน conventional GI and Resin Modified GIC (RM-GIC)

- Restorative reinforced (Metal-reinforced glass ionomer
cement)
คือการเพิ่มอนุภาค mental เข้าไป ซึ่งทาได้ 3 วิธี

1. Sintering metal powders on glass surface
2. Incorporation of amalgam alloy ผงโลหะ
3. Siver alloy admix
Restorative cement
Restorative aesthetic
1. conventional GICs : auto cure คือแข็งตัวได้เอง
powder : fluoroalumino silicate glass
liquids : polyacrylic acid
เกิดปฎิกิรยา acid-base reaction
ิ
2.Resin Modified GIC (RM-GIC)
: dual cure คือการแข็งตัวแบบธรรมดาและแข็งตัวได้แสง
• การใช้งาน เช่น เป็นวัสดุอุดรองพื้น, อุดฟัน Class III, อุดเป็นแกน
สาหรับครอบฟัน, อุดชั่วคราว เป็นต้น
• ส่วนประกอบของ RM-GIC
ผง : Calcium alumino silicate glass
ของเหลว : Polyacrylic acid หรือ modified polyacrylic acid with
methacrylic end group + hydrophilic resin คือ HEMA
photoinitiator
ปฏิกิริยาการก่อตัวของ RM-GIC
ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยา

1. ปฏิกิรยา Polymerization (light cure)
ิ
มีสารเริ่มปฏิกิริยาเป็น Camphorquinone เมื่อถูกแสง
ความยาวคลื่น 470 nm ซึ่งเป็น แสงสีฟา จะทาให้
้
Camphorquinone แตกตัวเป็นอิสระ ทาให้เกิดปฏิกิริยา
แบบ Polymerization
2. ปฏิกิริยากรด-เบส (Acid-base reaction)
RM-GIC จึงจัดเป็น “Dual-cured” ซึ่งแม้ว่าจะไม่มีการฉาย
แสงก็จะมี Initial set ได้เองโดยปฏิกิริยากรด-เบส แต่สมบัติ
ความแข็งแรงต่าง ๆ จะลดน้อยลงกว่าเมื่อฉายแสงร่วม
Restorative reinforced
แบ่งได้ 3 ประเภท

• Sintering metal powders on glass surface
• Incorporation of amalgam alloy
• Siver alloy admix
1. Sintering metal powders on glass
surface
•
•
•
•
•

เป็นcement ผงโลหะเงินทีผ่านการเผามาผสม
่
ทาให้ค่าของ flexural strength สูงขึ้น
แต่จะลดค่าแรงพันธะต่อเนื้อฟันลง
การปล่อยฟลูออไรด์ จะลดลงโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
ตัวอย่าง Ketac Silver (3M ESPE, USA)
Ketac Silver (3M ESPE, USA)
ทีมา : http://www.clickdental.com/Restoratives/Glass-Ionomers/Ketac-Silver-Aplicap-Capsules/lid/7852
่
2. Incorporation of amalgam alloy
• เป็นผงโลหะอมัลกัมอัลลอยรูปกลม (Spherical amalgum
alloy)
• เวลาใช้จะนาผงอะมัลกัมมาผสมกับผง GIC และเขย่าให้เข้ากัน
ก่อนนาไปผสมกับของเหลว GIC
• ชนิดนีพบว่าไม่ได้ทาให้สมบัติความแข็งแรงโดยทั่วไปดีขึ้น
้
• ตัวอย่าง Miracle-Mix(GC, Japan)
Miracle-Mix(GC, Japan)

ที่มา : http://www.alibaba.com/producttp/110510281/DENTAL_GC_FUJI_MIRACLE_MIX.html
3. Siver alloy admix
• นา Ag, Cu, Sn มาผสมใน GIC
• ทาให้ค่าความแข็งแรงของ GIC เพิ่มขึ้น แต่ต่ากว่า RMGIC
• สีอ่อนกว่าชนิด Cermet cement
Properties
Physical property
• Compressive strength ของ GIC ไม่ค่อยต่ามากเมื่อเทียบกับ
Composite resin และ Amalgam
• ความทนแรงดัด ของ GIC < Composite resin และ Amalgam
• Water solubility ของ GIC > Composite resin และ Amalgam
• ความโปร่งแสง (Translucency) ของ GIC < Composite resin
• ความคงตัวของสี (Color stability) มีค่าความคงตัวค่อนข้างสูง
ความเข้ากันได้กับเนือเยื่อชีวภาพ (Biocompatibility)
้
- ปฏิกิริยาตอบสนองต่อโพรงประสาทฟันของ GIC นั้นมีค่อนข้าง
น้อย
- ในกรณีที่มีการบูรณะที่ใกล้โพรงประสาทฟันมาก ๆ มักจะปิดชั้น
เนื้อฟันด้วย Calcium hydroxide เพื่อป้องกันสิ่งที่เป็นอันตรายต่อ
โพรงประสาทฟันผ่านไปทาง Dentinal tubule
* การแพร่ของสารต่าง ๆ นั้นขึ้นกับ ขนาดโมเลกุลของสาร, ขนาด
พื้นที่ผิวของการซึมผ่าน,สภาพของ Dentinal tuble,ความหนาของ
ชั้นเนื้อฟันที่เหลืออยู่
ข้อดี-ข้อเสีย ของ GIC เมือเทียบกับวัสดุ อื่น ๆ
่
ข้อดีของ GIC

1. มี chemical bond with
tooth surface
2. Release fluoride
3. Biocompatibility
4. Radiopaque

ข้อเสียของ GIC
1. Resorption ในระยะแรก
2. dehydration ในระยะหลัง
3. ต้องรออย่างน้อย 24 ชั่วโมง จึง
จะขัดแต่งได้
4. Long setting time
Clinical use
•
•
•
•
•

Root carie
Rampant caries because release Fluoride
Permanent in temporary teeth
Filling class III class V
Sealant in temporary
Journal : A review of their Current
status
โดย G J. Mount จากวารสาร operative
dentistry ปี 1999 ฉบับที่ 24
INTRODUCTION
•
•
•
•
•

Glass Inomer ใช้เป็นวัสดุบูรณะฟันกันมาอย่างยาวนาน
ถูกคิด เพื่อใช้แทนที่ silicate cement
เป็นวัสดุบูรณะที่ปลดปล่อยฟลูออไรด์ได้
มีน้าเป็นส่วนประกอบพื้นฐาน
ก่อตัวด้วยการเกิดปฏิกิริยาแบบ Acid-base การรักษาความสมดุลของ
น้า จึงเป็นสิ่งสาคัญ
IDENTIFICATION OF GLASS IONOMERS
• GI ประกอบด้วย Aluminosilicate glass และ Polyalkenoic acid
• การใช้งานทางคลินิก สามารถแยกชนิดได้ดังนี้
ชนิดที่ 1 Luting cement
ชนิดที่ 2.1 Restorative aesthetic cement
2.2 Restorative reinforced
ชนิดที่ 3 Linning or base cement
Resin-modified Glass Ionomers
• เติม HEMA และ มี Light เป็น Activator
• HEMA เป็น hydrophilic  hydrogel เล็กน้อย
• เมื่อเทียบกับ GI ในส่วนของการเติม resin
ข้อดี คือ คงตัวได้ทันทีของสมดุลของน้า หลังจากถูกกระตุ้นด้วยแสง และ
translucency ได้ทันที
ข้อเสีย คือ จาเป็นต้องทาทีละชั้น สาหรับการอุดที่ลึกกว่า 3-4 มิลลิเมตร
เพราะการส่งผ่านของแสงจากัดในบริเวณที่ลก
ึ
• Redox reaction ทาให้การเกิดการก่อตัวสมบูรณ์ของวัสดุที่อยู่ด้านล่างโดยรอบ
Compomer
• เป็น resin composite ที่มี filler เป็นแก้ว เหมือน GI
• ปฏิกิริยาการก่อตัวเริ่มแรก ถูกกระตุ้นด้วยแสง เหมือน resin
composite
• หลังจากนั้น จะเกิด การยับยังAcid-base reaction ของ GI
้
• ทาให้มีการปลดปล่อยของ fluoride น้อย
• การยึดอยู่ resin กับ dentin เกิดการยึดติดแบบ ion-exchange
FLUORIDE RELEASE
• Topical fluoride will result in a further up take of
fluoride ion in to restoration
• Increase in the rate of release for a short period
• The ion release is sufficient to buffer the acid level of
plaque in the vicinity and thus the potential for
demineralization
ION-EXCHANGE ADHESION WITH TOOTH
STRUCTURE
• Diffusion based adhesive  P[Poly alkenoic acid] + Ca[HA]
---> Electrical neutrality[@Surface of GICs]

• Electrical neutrality  Intermediate Layer{ Firmly layer
attached  Tooth surface }

• ซึ่งระดับการยึดเกาะกับ Collagen of Dentin ขึ้นอยู่กับ
OR

• Hydrogen Bonding
• Metallic ion [Carboxyl gr. Of Poly acrylic acid + Collagen Molecules]
ION-EXCHANGE ADHESION WITH TOOTH
STRUCTURE
• ในการขั้นการเตรียมสภาพของ Tooth Surface
– Original  50% Citric acid
– Now  10% Polyacrylic acid(มีประสิทธิภาพในการทาความสะอาดสูงสุดใน
10 วินาที)

ข้อดี
• ส่วนที่เหลือจากกรดนี้จะไม่รบกวน Setting Reaction ของ GIC

• Surface energy ↑  Cement แนบกับ cavity ได้ดี

• กรดที่มี ความเข้มข้นมาก ไม่แนะนาให้ใช้ในการปรับสภาพผิว Cavity
 เพราะจะทาให้เกิดการ Demineralization มากเกินไป และยังลด
ประสิทธิภาพของ Ion-Exchange อีกด้วย
ION-EXCHANGE ADHESION WITH TOOTH
STRUCTURE

• ความล้มเหลวที่จะทาให้เกิดการหลุดของวัสดุ
–มักจะเกิดการหลุดของที่ตัววัสดุ มากกว่า การหลุดทีบริเวณรอยต่อของ
่
วัสดุกับฟัน
–นั้นหมายความว่า = ยังคงมีชั้นบางๆ ของ Ion-Enriched
Material เหลือ ยึดติดกับ Tooth Surface

– ดังนัน หลังจากเกิดความล้มเหลว Dentinal Tube ก็ยังคงถูก
้
sealed ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งยังคงมีความสามารถในการ
ป้องกันการเกิด Microleakage อยู่
BIOCOMPATIBILITY
• Ion-Exchange  Prevent Microleakage
• แนะนาให้ใช้ในฟันผุที่มีการลุกลาม(active caries)
• GIC มีผลต่อการช่วยลดการอักเสบ และยังส่งผลให้มีการสนับสนุนการ
Remineralization @ Demineralized affected Dentin
• GIC ยังสามารถปลดปล่อยประจุอื่น นอกจาก F ได้อีก เช่น Calcium,
Strontium & Phosphate ions  Reminerazation process
BIOCOMPATIBILITY
• Now  Fast-setting autocure material
• Esthetics ↑
• ใช้ง่าย
• เป็นสารตัวกลางที่ทาให้มีความทนต่อการดูดซึมน้า ในการ set ตัวอีกด้วย

• @ Affected Dentine ควรที่เหลือไว้ เป็นพื้นให้กับ Pulp [Pulpal floor] และ
โพรงฟันควรมีการเตรียมให้อยู่ในสภาพที่ปกติ  การอุด GIC [ที่มีอัตราส่วนของ
powder เข้มข้น = Optimum physical properties] แล้วปล่อยทิ้งไว้อย่างน้อย 3 เดือน
สิ่งที่เราจะพบหลังจากที่เอามันออกคือ
•
•
•
•

ฟันมีลักษณะเหมือนปกติ
มีการสะสมแร่ธาตุ
พื้นฟัน(Floor remining)ก็ยังคงเหลืออยู่ (ไม่มีการลุกลามของรอยโรคฟันผุ)
Restoration designed, based on a minimal cavity design.
Ease of Handing

Capsule

• เก็บรักษาง่าย
• สามารถใส่ใน Syringe
แล้วฉีดเข้า cavity ลึกๆ
ได้

Packing
Powder
• เก็บรักษายาก (Liquid
+
ระเหยได้)
Liquid
Development of Translucency
• ระยะแรกของการแข็งตัว จะเกิด “loose bound” ของน้า คือ วัสดุมี
ความเหลว มีการสูญเสียการเด้งกลับ
• วัสดุที่บูรณะอาจมีการดูดซึมน้าจากแหล่งอื่น ทาให้เกิดการหลุดออกของ
metal ion
• Ca  สร้างรูปแบบใหม่ของ calcium polyalkenoate chain
ซึ่งมี - ความสามารถในการละลายน้าสูง
- คุณสมบัติทางกายภาพลดลง
- ความโปร่งแสงจะถูกลดลง
Maintenance of water balance
• การควบคุมการสมดุลของน้า เป็นสิ่งจาเป็นต่อ restorative
aesthetic material
• วัสดุบูรณะควรจะได้รบการปกป้องทันทีจากชั้นต่าง ๆ และ
ั
สามารถตกแต่งในขณะที่ยังไม่แข็งตัว และตามด้วยการเคลือบทับ
สุดท้ายถูกกระตุ้นด้วยแสง ส่งผลให้สามารถป้องกันน้าได้เป็นระยะ
เวลานาน
• การปิดผิวที่มีประสิทธิภาพอย่างน้อยสุด 24 ชั่วโมง
Minimal cavity design
• ใช้ประโยชน์จาก micromechanical adhesion คือ การบูรณะฟัน
โดยใช้ GI ยึดกับ dentin และ resin composite ยึดกับ enamel
• GI มีการเหนี่ยวนาการเกิด remineralization
• ไม่จาเป็นต้องขยายcavity ไปถึง contact area หรือกาจัด enamel
ออกไปมาก จาเป็นแค่เอา enamel ทีแตกหักไม่สมบูรณ์ออก หรือ
่
enamel ที่มีรอยโรคออก ให้คง enamel สภาพดี ที่ยังคง
remineralization ได้
• มีการแนะนาว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน gingival ของโพรงฟัน ใช้
GI เป็นฐานด้านล่าง เพือหวังผลการปลดปล่อยฟลูออไรด์
่
LIMITATION
• GI มีการต้านทานการแตกหักที่ต่า
• สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในขณะที่ผสม powder กับ liquid คือ การ
เกิดรูพรุน และ รอยแตกหัก
• วัสดุอุดเมื่อมีการแข็งตัวเต็มที่ (ประมาณ 2 สัปดาห์) มักจะเกิด
dehydration (การสูญเสียน้า) และเกิดรอยแตก
• GI ในปัจจุบันมีความแข็งแรงสูงขึ้น ประมาณ 3 เท่าของ GI รุ่นเดิม
Reduction of Porosity
• รูพรุน เกิดจากการผสมของวัสดุสองส่วน ในระหว่างการผสม ไม่
ว่าจะผสมด้วยเครื่องหรือมือ
• ถ้าสามารถกาจัดรูพรุนออกหมดได้ แต่อาจทาให้วัสดุมความหนืด
ี
มากไป
• ซึ่งการลดรูพรุนทาได้โดยการผสมวัสดุภายใต้ความดันอากาศต่า
หรือ ใช้แรงเหวี่ยง เพื่ออัดแน่นวัสดุ
Modifications to the Glass
• อาจมีการนาสารอื่นใส่เข้าไปผสมแทนแคลเซียม เพื่อให้เกิดการทึบ
แสง
– เช่น strontium (Sr) lanthanum (La) โดย Sr จะมีคุณสมบัติคล้ายกับ
Ca ในตารางธาตุ ซึ่งเป็นธาตุในหมู่เดียวกัน เป็นไปได้ว่า strontium มีการ
form เป็น strontium apatite ในโครงสร้างฟันปกติ

• การพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพ โดยการควบคุมขนาดของ
powder และ การกระจายของขนาด
Modification to the Liquid
• Polyalkenoic acids ที่บ่อยใช้ คือ
- Polyacrylic acid
- Itaconic acid
- Polymaleic acid
• การเพิ่มน้าหนักโมเลกุลของกรด จะเพิ่มคุณสมบัติทางกายภาพ มีผลต่อ
การแข็งตัวของซีเมนต์ และเพิ่มความหนืด
• การผสมส่วน Power & Liquid และขจัดน้าออก(Dehydration)
Disperse Phase Inclusions
• แนวคิดในการรวมส่วนผงที่มีขนาดเล็กละเอียดต่างๆ เพื่อป้องกัน
เกิดรอยร้าว
Enhanced Therapeutic Effect
ผลการรักษาที่ดี ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมในช่องปาก และการลุกลามของรอยโรคการเกิดฟันผุ

1. Ion-Exchange + Diffusion based adhesive  ช่วยลดการเกิด
Microleakage และมีการ sealed ที่มีประสิทธิภาพ
2. Fluoride release [จุดเด่น]
1.
2.
3.

Remineralization
Caries resistance
รบกวน Metabolism ของ Bacterial

3. GIC ยังสามารถปลดปล่อยประจุอื่น นอกจาก F ได้อีก เช่น Calcium,
Strontium & Phosphate ions  Reminerazation process +
Buffer pH @Plaque
4. และหากมาการสะสมกับของ Calcium, Strontium & Phosphate ions
ที่พียงพอ  surface ของ GIC แข็งขึ้นอีกด้วย
CONCLUSIONS
• ไม่มีวัสดุใดทีสามารถใช้ได้ครอบคลุมทั้งหมด วัสดุแต่ละชนิดย่อมมีข้อจากัด
่
• GIC เป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเด่น คือ fluoride release 
anticariogenic properties
• GIC มี Chemical bond  ion-exchange
• ควรระลึกอยู่เสมอว่า Restoration designed, based on a
minimal cavity design. GIC จะเป็นวัสดุที่ทางเลือกอย่างหนึ่งทีมี
่
ส่วนที่จะช่วยในการบรรลุเป้าหมาย
ประโยชน์ที่ได้รับจาก Journal ฉบับนี้
• ได้รู้การพัฒนาและข้อจากัดในการทางานของ GICs ตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน
• ได้รู้ คุณสมบัติและข้อดี-ข้อเสีย ของ GICs
• ได้รู้ถึงการใช้งานต่าง ๆ และเปรียบเทียบการใช้งานกับวัสดุบูรณะฟันชนิด
อื่น ๆ
• ได้รับความรู้จากงานวิจยที่หลากหลาย
ั
Glass ionomer
Glass ionomer

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Mandibular anesthesia
Mandibular anesthesia Mandibular anesthesia
Mandibular anesthesia
 
special tray in complete denture
special tray in complete denturespecial tray in complete denture
special tray in complete denture
 
General Principles of Surgical Techniques for Periodontal Regeneration
General Principles of Surgical Techniques for Periodontal RegenerationGeneral Principles of Surgical Techniques for Periodontal Regeneration
General Principles of Surgical Techniques for Periodontal Regeneration
 
Periodontal pocket
Periodontal pocketPeriodontal pocket
Periodontal pocket
 
Splinting of teeth in periodontics
Splinting of teeth in periodonticsSplinting of teeth in periodontics
Splinting of teeth in periodontics
 
Defence mechanism of gingiva
Defence mechanism of gingivaDefence mechanism of gingiva
Defence mechanism of gingiva
 
Principles of flap surgery copy
Principles of flap surgery   copyPrinciples of flap surgery   copy
Principles of flap surgery copy
 
Pontics in Fixed Partial Dentures
Pontics in Fixed Partial DenturesPontics in Fixed Partial Dentures
Pontics in Fixed Partial Dentures
 
Classification of dental implant
Classification of dental implantClassification of dental implant
Classification of dental implant
 
Papilla Preservation Techniques.pptx
Papilla Preservation Techniques.pptxPapilla Preservation Techniques.pptx
Papilla Preservation Techniques.pptx
 
Isolation final seminar
Isolation final seminarIsolation final seminar
Isolation final seminar
 
Periodontal flap surgery
Periodontal flap surgeryPeriodontal flap surgery
Periodontal flap surgery
 
Max/prosthodontic courses
Max/prosthodontic coursesMax/prosthodontic courses
Max/prosthodontic courses
 
Incisions in head and neck region
Incisions in head and neck regionIncisions in head and neck region
Incisions in head and neck region
 
Dental calculus
Dental calculusDental calculus
Dental calculus
 
Anatomy of the Periodontium
Anatomy of the PeriodontiumAnatomy of the Periodontium
Anatomy of the Periodontium
 
PRIMARY & SECONDARY IMPRESSION IN CD.ppt
PRIMARY & SECONDARY IMPRESSION IN CD.pptPRIMARY & SECONDARY IMPRESSION IN CD.ppt
PRIMARY & SECONDARY IMPRESSION IN CD.ppt
 
RETENTION IN COMPLETE DENTURE
RETENTION IN COMPLETE DENTURERETENTION IN COMPLETE DENTURE
RETENTION IN COMPLETE DENTURE
 
posterior palatal seal ppt
posterior palatal seal pptposterior palatal seal ppt
posterior palatal seal ppt
 
Fluid control and Soft tissue management in Prosthodontics
Fluid control and Soft tissue management in ProsthodonticsFluid control and Soft tissue management in Prosthodontics
Fluid control and Soft tissue management in Prosthodontics
 

Viewers also liked

GLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALA
GLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALAGLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALA
GLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALA
Jagadeesh Kodityala
 
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 535 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
techno UCH
 
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
Nithimar Or
 

Viewers also liked (20)

Glass Ionomer Cement (GIC) - Science of Dental materials
Glass Ionomer Cement (GIC) - Science of Dental materialsGlass Ionomer Cement (GIC) - Science of Dental materials
Glass Ionomer Cement (GIC) - Science of Dental materials
 
GLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALA
GLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALAGLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALA
GLASS IONOMER CEMENT AND ITS RECENT ADVANCES- by Dr. JAGADEESH KODITYALA
 
Glass ionomer cement
Glass ionomer cementGlass ionomer cement
Glass ionomer cement
 
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 535 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
5 การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน สบ 53
 
Dental restorative material in pediatric dentistry
Dental restorative material in pediatric dentistryDental restorative material in pediatric dentistry
Dental restorative material in pediatric dentistry
 
glass ionomer Metal-Modified GIC Resin-Modified GIC dental material
 glass ionomer Metal-Modified GIC  Resin-Modified GIC dental material glass ionomer Metal-Modified GIC  Resin-Modified GIC dental material
glass ionomer Metal-Modified GIC Resin-Modified GIC dental material
 
DENTIN BONDING AGENTS
 DENTIN BONDING AGENTS DENTIN BONDING AGENTS
DENTIN BONDING AGENTS
 
Review literature vital pulp therapy
Review literature vital pulp therapyReview literature vital pulp therapy
Review literature vital pulp therapy
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
Crack tooth
Crack tooth Crack tooth
Crack tooth
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
Finishing and polishing
Finishing and polishingFinishing and polishing
Finishing and polishing
 
Sealant 2553
Sealant 2553Sealant 2553
Sealant 2553
 
Cement 2
Cement 2Cement 2
Cement 2
 
5 finalseminar
5 finalseminar 5 finalseminar
5 finalseminar
 
Seminar monday-13-01-57
Seminar monday-13-01-57Seminar monday-13-01-57
Seminar monday-13-01-57
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
 
Complete case
Complete caseComplete case
Complete case
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 

Glass ionomer

  • 1.
  • 2. รายชื่อสมาชิก • นาย จุมพฏ อาพันพงษ์ รหัส 5209110009 • นางสาวศุภิสรา จันทร์ทอง รหัส 5209110022 • นางสาวชวานันท์ ไชยมี รหัส 5209110038 • นางสาวเบญจพร อุทกัง รหัส 5209110039 • นางสาวธีรดา มุ่งทวีพงศ์ษา รหัส 5209110045 นิสิตทันตแพทยศาตร์ ชั้นปีที่ 3 Western University
  • 4. HISTORY 1. 1873 Thomus Fletcher : silicate cement (powder : aluminosilicate glass ) (liquid : phospholic acid ) 2. 1908 shoenbeck ได้เพิมฟลูออไรด์ลงใน silicate cement ่ (powder : aluminosilicate glass +fluoride ) (liquid : phospholic acid ) 3. 1968 Dennis C.Smith : polycaboxylate cement (powder : zinc oxide) (liquid : polyacrylic acid )
  • 5. HISTORY(Cont.) 4. Wilson & Kent [kent เติม ฟลูออไรด์ ลงใน powder = aluminosilicate polyacrylate] จุดเริมต้น GICs ่ (powder : fluoroaluminosilicate glass) (liquid : polyacrylic acid ) 5. 1972 wilson and Crisp (powder : fluoroaluminosilicate glass) (liquid : polyacrylic acid+tartalic acid ) 6. 1984 Prosser (powder :fluoroaluminosilicate glass+ polyacrylic acid+tartalic acid ) (liquid : water)
  • 6. Tooth color material’s continuum GLASS IONOMER RESIN COMPOSITE RESIN MODIFIED GLASS IONOMER POLY ACID MODIFIED RESIN COMPOSITE OR COMPOMER GIOMER
  • 7. Tooth color material’s continuum GLASS IONOMER วัสดุบรณะสีเหมือนฟัน ู ข้อดี - คุณสมบัติทางกายภาพคล้ายคลึงกับ เนื้อฟัน - สัมประสิทธิ์การขยายตัวเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงอุณภูมิใกล้เคียงกับเนื้อฟัน - ยึดติดกับฟันด้วยฟันธะทางเคมี - ปล่อยฟลูออไรด์ได้ ข้อเสีย - มีtensile strength ต่า - สีขาวไม่สวย RESIN COMPOSITE ข้อดี - มีความแข็งแรง - ทนทานและมีสีให้เลือกใช้ มากมาย ข้อเสีย -ไม่มีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ -Polymerlize shinkage มาก
  • 8. RESIN MODIFIED GLASS IONOMER • ส่วนประกอบ – powder : Calciumfuoroalumino silicate glass – liquid : polyacrylic acid +methacrylate monomer +camphorquinone +amine • มีคุณสมบัติคล้ายGIC คือ ปลดปล่อยฟลูออไรด์และคุณสมบัติคล้าย เนื้อฟัน • สีสวยงามแข็งแรงทนทานมากกว่า GIC แต่สีก็ยังไม่ใสเท่าฟันมนุษย์ จึงทาให้มีการผลิต compomer ขึ้นมา
  • 9. • • • • POLY ACID MODIFIED RESIN COMPOSITE OR COMPOMER สีเหมือนฟัน และสวยเหมือน RESIN COMPOSITE สามารถยึดติดฟันธรรมชาติได้เหมือนGIC วัสดุสามารถปลดปล่อยฟลูออไรด์ได้แต่ปริมาณไม่สงเท่าGIC ู ข้อเสีย มันจะหลุดได้ง่ายเมื่อ นาไปบูรณะฟันclass V แต่ก็ยังใช้เรื่อยมาจนกระทั่ง 2544
  • 10. Giomer • ส่วนประกอบ filler: fluoroaluminosilicateglass+polyacrylic acid liquid : monomer(Bis GMA,TEGDEMA) ข้อดี สีสวยเหมือนฟัน ทนทานต่อการแตกหักและแข็งแรงสูง ข้อเสีย ปล่อยฟลูออไรด์น้อย
  • 12. การเกิดปฏิกิริยา : acid base reaction Dissolution phase Gelation phase
  • 14. โครงสร้างของ GIC ทีแข็งตัว ่ Glass Filler Polysalt Matrix Silica Gel [ Silica แยกจาก Ca2+ + Al3+ แล้ว ไปทา ไปทาปฏิกิรยากับ H+  Silica hydrogel] ิ
  • 15. สมดุลย์ของน้าในวัสดุ (water balance) • water base material  GICs เป็นวัสดุที่มีน้าเป็น ส่วนประกอบ • Cement ที่แข็งตัวแล้วมีน้าเป็นองค์ประกอบ 24% • ระวัง “water intake @ ระยะแรกของการแข็งตัว” • ระวัง “water uptake @ ระยะหลังของการแข็งตัว” วิธีการรักษาสมดุลน้าใน GICs ทา varnish หลังอุดเสร็จ
  • 16. Cement ทีแข็งตัวแล้ว ่ Glass Filler ≈ 12-18% Matrix = Free ion (more release) การปล่อย F ไม่มีผลต่อโครงสร้าง และ Physical properties ของ GIC
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่าง ฟัน กับ GICs คือ การเกิด Chemical bond
  • 19. HA ก่อน ทาปฏิกิรยา กับ GIC ิ Matrix @ GIC HA เมื่อสัมผัสกับ GIC Chemical Bond
  • 20. Classification GICs ตาม wilson and Mclean ปี 1988 Type I Luting cements : Fuji Plus ,Vitremer Luting cements **Type II Restorative cement : Fuji II LC ,Vitremer -restorative aesthetic ปรับปรุงคุณสมบัติให้ใกล้เคียงกับ วัสดุบูรณะในอุดมคติ -Restorative reinforced เติมโลหะบางอย่างเพื่อความ แข็งแรง Type III Base or lining cement : Fuji lining LC,Vitrebond www.uhs.edu.pk/downloads/examination_data/bds/dm_SEQ.pdf
  • 21. เราจะมาดูเฉพาะ Type II นะ Type II Restorative cement - Restorative aesthetic พบได้ใน conventional GI and Resin Modified GIC (RM-GIC) - Restorative reinforced (Metal-reinforced glass ionomer cement) คือการเพิ่มอนุภาค mental เข้าไป ซึ่งทาได้ 3 วิธี 1. Sintering metal powders on glass surface 2. Incorporation of amalgam alloy ผงโลหะ 3. Siver alloy admix
  • 22. Restorative cement Restorative aesthetic 1. conventional GICs : auto cure คือแข็งตัวได้เอง powder : fluoroalumino silicate glass liquids : polyacrylic acid เกิดปฎิกิรยา acid-base reaction ิ
  • 23. 2.Resin Modified GIC (RM-GIC) : dual cure คือการแข็งตัวแบบธรรมดาและแข็งตัวได้แสง • การใช้งาน เช่น เป็นวัสดุอุดรองพื้น, อุดฟัน Class III, อุดเป็นแกน สาหรับครอบฟัน, อุดชั่วคราว เป็นต้น • ส่วนประกอบของ RM-GIC ผง : Calcium alumino silicate glass ของเหลว : Polyacrylic acid หรือ modified polyacrylic acid with methacrylic end group + hydrophilic resin คือ HEMA photoinitiator
  • 24. ปฏิกิริยาการก่อตัวของ RM-GIC ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยา 1. ปฏิกิรยา Polymerization (light cure) ิ มีสารเริ่มปฏิกิริยาเป็น Camphorquinone เมื่อถูกแสง ความยาวคลื่น 470 nm ซึ่งเป็น แสงสีฟา จะทาให้ ้ Camphorquinone แตกตัวเป็นอิสระ ทาให้เกิดปฏิกิริยา แบบ Polymerization 2. ปฏิกิริยากรด-เบส (Acid-base reaction)
  • 25. RM-GIC จึงจัดเป็น “Dual-cured” ซึ่งแม้ว่าจะไม่มีการฉาย แสงก็จะมี Initial set ได้เองโดยปฏิกิริยากรด-เบส แต่สมบัติ ความแข็งแรงต่าง ๆ จะลดน้อยลงกว่าเมื่อฉายแสงร่วม
  • 26. Restorative reinforced แบ่งได้ 3 ประเภท • Sintering metal powders on glass surface • Incorporation of amalgam alloy • Siver alloy admix
  • 27. 1. Sintering metal powders on glass surface • • • • • เป็นcement ผงโลหะเงินทีผ่านการเผามาผสม ่ ทาให้ค่าของ flexural strength สูงขึ้น แต่จะลดค่าแรงพันธะต่อเนื้อฟันลง การปล่อยฟลูออไรด์ จะลดลงโดยเฉพาะในระยะแรกๆ ตัวอย่าง Ketac Silver (3M ESPE, USA)
  • 28. Ketac Silver (3M ESPE, USA) ทีมา : http://www.clickdental.com/Restoratives/Glass-Ionomers/Ketac-Silver-Aplicap-Capsules/lid/7852 ่
  • 29. 2. Incorporation of amalgam alloy • เป็นผงโลหะอมัลกัมอัลลอยรูปกลม (Spherical amalgum alloy) • เวลาใช้จะนาผงอะมัลกัมมาผสมกับผง GIC และเขย่าให้เข้ากัน ก่อนนาไปผสมกับของเหลว GIC • ชนิดนีพบว่าไม่ได้ทาให้สมบัติความแข็งแรงโดยทั่วไปดีขึ้น ้ • ตัวอย่าง Miracle-Mix(GC, Japan)
  • 30. Miracle-Mix(GC, Japan) ที่มา : http://www.alibaba.com/producttp/110510281/DENTAL_GC_FUJI_MIRACLE_MIX.html
  • 31. 3. Siver alloy admix • นา Ag, Cu, Sn มาผสมใน GIC • ทาให้ค่าความแข็งแรงของ GIC เพิ่มขึ้น แต่ต่ากว่า RMGIC • สีอ่อนกว่าชนิด Cermet cement
  • 32. Properties Physical property • Compressive strength ของ GIC ไม่ค่อยต่ามากเมื่อเทียบกับ Composite resin และ Amalgam • ความทนแรงดัด ของ GIC < Composite resin และ Amalgam • Water solubility ของ GIC > Composite resin และ Amalgam • ความโปร่งแสง (Translucency) ของ GIC < Composite resin • ความคงตัวของสี (Color stability) มีค่าความคงตัวค่อนข้างสูง
  • 33. ความเข้ากันได้กับเนือเยื่อชีวภาพ (Biocompatibility) ้ - ปฏิกิริยาตอบสนองต่อโพรงประสาทฟันของ GIC นั้นมีค่อนข้าง น้อย - ในกรณีที่มีการบูรณะที่ใกล้โพรงประสาทฟันมาก ๆ มักจะปิดชั้น เนื้อฟันด้วย Calcium hydroxide เพื่อป้องกันสิ่งที่เป็นอันตรายต่อ โพรงประสาทฟันผ่านไปทาง Dentinal tubule * การแพร่ของสารต่าง ๆ นั้นขึ้นกับ ขนาดโมเลกุลของสาร, ขนาด พื้นที่ผิวของการซึมผ่าน,สภาพของ Dentinal tuble,ความหนาของ ชั้นเนื้อฟันที่เหลืออยู่
  • 34. ข้อดี-ข้อเสีย ของ GIC เมือเทียบกับวัสดุ อื่น ๆ ่ ข้อดีของ GIC 1. มี chemical bond with tooth surface 2. Release fluoride 3. Biocompatibility 4. Radiopaque ข้อเสียของ GIC 1. Resorption ในระยะแรก 2. dehydration ในระยะหลัง 3. ต้องรออย่างน้อย 24 ชั่วโมง จึง จะขัดแต่งได้ 4. Long setting time
  • 35. Clinical use • • • • • Root carie Rampant caries because release Fluoride Permanent in temporary teeth Filling class III class V Sealant in temporary
  • 36. Journal : A review of their Current status โดย G J. Mount จากวารสาร operative dentistry ปี 1999 ฉบับที่ 24
  • 37. INTRODUCTION • • • • • Glass Inomer ใช้เป็นวัสดุบูรณะฟันกันมาอย่างยาวนาน ถูกคิด เพื่อใช้แทนที่ silicate cement เป็นวัสดุบูรณะที่ปลดปล่อยฟลูออไรด์ได้ มีน้าเป็นส่วนประกอบพื้นฐาน ก่อตัวด้วยการเกิดปฏิกิริยาแบบ Acid-base การรักษาความสมดุลของ น้า จึงเป็นสิ่งสาคัญ
  • 38. IDENTIFICATION OF GLASS IONOMERS • GI ประกอบด้วย Aluminosilicate glass และ Polyalkenoic acid • การใช้งานทางคลินิก สามารถแยกชนิดได้ดังนี้ ชนิดที่ 1 Luting cement ชนิดที่ 2.1 Restorative aesthetic cement 2.2 Restorative reinforced ชนิดที่ 3 Linning or base cement
  • 39. Resin-modified Glass Ionomers • เติม HEMA และ มี Light เป็น Activator • HEMA เป็น hydrophilic  hydrogel เล็กน้อย • เมื่อเทียบกับ GI ในส่วนของการเติม resin ข้อดี คือ คงตัวได้ทันทีของสมดุลของน้า หลังจากถูกกระตุ้นด้วยแสง และ translucency ได้ทันที ข้อเสีย คือ จาเป็นต้องทาทีละชั้น สาหรับการอุดที่ลึกกว่า 3-4 มิลลิเมตร เพราะการส่งผ่านของแสงจากัดในบริเวณที่ลก ึ • Redox reaction ทาให้การเกิดการก่อตัวสมบูรณ์ของวัสดุที่อยู่ด้านล่างโดยรอบ
  • 40. Compomer • เป็น resin composite ที่มี filler เป็นแก้ว เหมือน GI • ปฏิกิริยาการก่อตัวเริ่มแรก ถูกกระตุ้นด้วยแสง เหมือน resin composite • หลังจากนั้น จะเกิด การยับยังAcid-base reaction ของ GI ้ • ทาให้มีการปลดปล่อยของ fluoride น้อย • การยึดอยู่ resin กับ dentin เกิดการยึดติดแบบ ion-exchange
  • 41. FLUORIDE RELEASE • Topical fluoride will result in a further up take of fluoride ion in to restoration • Increase in the rate of release for a short period • The ion release is sufficient to buffer the acid level of plaque in the vicinity and thus the potential for demineralization
  • 42. ION-EXCHANGE ADHESION WITH TOOTH STRUCTURE • Diffusion based adhesive  P[Poly alkenoic acid] + Ca[HA] ---> Electrical neutrality[@Surface of GICs] • Electrical neutrality  Intermediate Layer{ Firmly layer attached  Tooth surface } • ซึ่งระดับการยึดเกาะกับ Collagen of Dentin ขึ้นอยู่กับ OR • Hydrogen Bonding • Metallic ion [Carboxyl gr. Of Poly acrylic acid + Collagen Molecules]
  • 43. ION-EXCHANGE ADHESION WITH TOOTH STRUCTURE • ในการขั้นการเตรียมสภาพของ Tooth Surface – Original  50% Citric acid – Now  10% Polyacrylic acid(มีประสิทธิภาพในการทาความสะอาดสูงสุดใน 10 วินาที) ข้อดี • ส่วนที่เหลือจากกรดนี้จะไม่รบกวน Setting Reaction ของ GIC • Surface energy ↑  Cement แนบกับ cavity ได้ดี • กรดที่มี ความเข้มข้นมาก ไม่แนะนาให้ใช้ในการปรับสภาพผิว Cavity  เพราะจะทาให้เกิดการ Demineralization มากเกินไป และยังลด ประสิทธิภาพของ Ion-Exchange อีกด้วย
  • 44. ION-EXCHANGE ADHESION WITH TOOTH STRUCTURE • ความล้มเหลวที่จะทาให้เกิดการหลุดของวัสดุ –มักจะเกิดการหลุดของที่ตัววัสดุ มากกว่า การหลุดทีบริเวณรอยต่อของ ่ วัสดุกับฟัน –นั้นหมายความว่า = ยังคงมีชั้นบางๆ ของ Ion-Enriched Material เหลือ ยึดติดกับ Tooth Surface – ดังนัน หลังจากเกิดความล้มเหลว Dentinal Tube ก็ยังคงถูก ้ sealed ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งยังคงมีความสามารถในการ ป้องกันการเกิด Microleakage อยู่
  • 45. BIOCOMPATIBILITY • Ion-Exchange  Prevent Microleakage • แนะนาให้ใช้ในฟันผุที่มีการลุกลาม(active caries) • GIC มีผลต่อการช่วยลดการอักเสบ และยังส่งผลให้มีการสนับสนุนการ Remineralization @ Demineralized affected Dentin • GIC ยังสามารถปลดปล่อยประจุอื่น นอกจาก F ได้อีก เช่น Calcium, Strontium & Phosphate ions  Reminerazation process
  • 46. BIOCOMPATIBILITY • Now  Fast-setting autocure material • Esthetics ↑ • ใช้ง่าย • เป็นสารตัวกลางที่ทาให้มีความทนต่อการดูดซึมน้า ในการ set ตัวอีกด้วย • @ Affected Dentine ควรที่เหลือไว้ เป็นพื้นให้กับ Pulp [Pulpal floor] และ โพรงฟันควรมีการเตรียมให้อยู่ในสภาพที่ปกติ  การอุด GIC [ที่มีอัตราส่วนของ powder เข้มข้น = Optimum physical properties] แล้วปล่อยทิ้งไว้อย่างน้อย 3 เดือน สิ่งที่เราจะพบหลังจากที่เอามันออกคือ • • • • ฟันมีลักษณะเหมือนปกติ มีการสะสมแร่ธาตุ พื้นฟัน(Floor remining)ก็ยังคงเหลืออยู่ (ไม่มีการลุกลามของรอยโรคฟันผุ) Restoration designed, based on a minimal cavity design.
  • 47. Ease of Handing Capsule • เก็บรักษาง่าย • สามารถใส่ใน Syringe แล้วฉีดเข้า cavity ลึกๆ ได้ Packing Powder • เก็บรักษายาก (Liquid + ระเหยได้) Liquid
  • 48. Development of Translucency • ระยะแรกของการแข็งตัว จะเกิด “loose bound” ของน้า คือ วัสดุมี ความเหลว มีการสูญเสียการเด้งกลับ • วัสดุที่บูรณะอาจมีการดูดซึมน้าจากแหล่งอื่น ทาให้เกิดการหลุดออกของ metal ion • Ca  สร้างรูปแบบใหม่ของ calcium polyalkenoate chain ซึ่งมี - ความสามารถในการละลายน้าสูง - คุณสมบัติทางกายภาพลดลง - ความโปร่งแสงจะถูกลดลง
  • 49. Maintenance of water balance • การควบคุมการสมดุลของน้า เป็นสิ่งจาเป็นต่อ restorative aesthetic material • วัสดุบูรณะควรจะได้รบการปกป้องทันทีจากชั้นต่าง ๆ และ ั สามารถตกแต่งในขณะที่ยังไม่แข็งตัว และตามด้วยการเคลือบทับ สุดท้ายถูกกระตุ้นด้วยแสง ส่งผลให้สามารถป้องกันน้าได้เป็นระยะ เวลานาน • การปิดผิวที่มีประสิทธิภาพอย่างน้อยสุด 24 ชั่วโมง
  • 50. Minimal cavity design • ใช้ประโยชน์จาก micromechanical adhesion คือ การบูรณะฟัน โดยใช้ GI ยึดกับ dentin และ resin composite ยึดกับ enamel • GI มีการเหนี่ยวนาการเกิด remineralization • ไม่จาเป็นต้องขยายcavity ไปถึง contact area หรือกาจัด enamel ออกไปมาก จาเป็นแค่เอา enamel ทีแตกหักไม่สมบูรณ์ออก หรือ ่ enamel ที่มีรอยโรคออก ให้คง enamel สภาพดี ที่ยังคง remineralization ได้ • มีการแนะนาว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน gingival ของโพรงฟัน ใช้ GI เป็นฐานด้านล่าง เพือหวังผลการปลดปล่อยฟลูออไรด์ ่
  • 51. LIMITATION • GI มีการต้านทานการแตกหักที่ต่า • สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในขณะที่ผสม powder กับ liquid คือ การ เกิดรูพรุน และ รอยแตกหัก • วัสดุอุดเมื่อมีการแข็งตัวเต็มที่ (ประมาณ 2 สัปดาห์) มักจะเกิด dehydration (การสูญเสียน้า) และเกิดรอยแตก • GI ในปัจจุบันมีความแข็งแรงสูงขึ้น ประมาณ 3 เท่าของ GI รุ่นเดิม
  • 52. Reduction of Porosity • รูพรุน เกิดจากการผสมของวัสดุสองส่วน ในระหว่างการผสม ไม่ ว่าจะผสมด้วยเครื่องหรือมือ • ถ้าสามารถกาจัดรูพรุนออกหมดได้ แต่อาจทาให้วัสดุมความหนืด ี มากไป • ซึ่งการลดรูพรุนทาได้โดยการผสมวัสดุภายใต้ความดันอากาศต่า หรือ ใช้แรงเหวี่ยง เพื่ออัดแน่นวัสดุ
  • 53. Modifications to the Glass • อาจมีการนาสารอื่นใส่เข้าไปผสมแทนแคลเซียม เพื่อให้เกิดการทึบ แสง – เช่น strontium (Sr) lanthanum (La) โดย Sr จะมีคุณสมบัติคล้ายกับ Ca ในตารางธาตุ ซึ่งเป็นธาตุในหมู่เดียวกัน เป็นไปได้ว่า strontium มีการ form เป็น strontium apatite ในโครงสร้างฟันปกติ • การพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพ โดยการควบคุมขนาดของ powder และ การกระจายของขนาด
  • 54. Modification to the Liquid • Polyalkenoic acids ที่บ่อยใช้ คือ - Polyacrylic acid - Itaconic acid - Polymaleic acid • การเพิ่มน้าหนักโมเลกุลของกรด จะเพิ่มคุณสมบัติทางกายภาพ มีผลต่อ การแข็งตัวของซีเมนต์ และเพิ่มความหนืด • การผสมส่วน Power & Liquid และขจัดน้าออก(Dehydration)
  • 55. Disperse Phase Inclusions • แนวคิดในการรวมส่วนผงที่มีขนาดเล็กละเอียดต่างๆ เพื่อป้องกัน เกิดรอยร้าว
  • 56. Enhanced Therapeutic Effect ผลการรักษาที่ดี ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมในช่องปาก และการลุกลามของรอยโรคการเกิดฟันผุ 1. Ion-Exchange + Diffusion based adhesive  ช่วยลดการเกิด Microleakage และมีการ sealed ที่มีประสิทธิภาพ 2. Fluoride release [จุดเด่น] 1. 2. 3. Remineralization Caries resistance รบกวน Metabolism ของ Bacterial 3. GIC ยังสามารถปลดปล่อยประจุอื่น นอกจาก F ได้อีก เช่น Calcium, Strontium & Phosphate ions  Reminerazation process + Buffer pH @Plaque 4. และหากมาการสะสมกับของ Calcium, Strontium & Phosphate ions ที่พียงพอ  surface ของ GIC แข็งขึ้นอีกด้วย
  • 57. CONCLUSIONS • ไม่มีวัสดุใดทีสามารถใช้ได้ครอบคลุมทั้งหมด วัสดุแต่ละชนิดย่อมมีข้อจากัด ่ • GIC เป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเด่น คือ fluoride release  anticariogenic properties • GIC มี Chemical bond  ion-exchange • ควรระลึกอยู่เสมอว่า Restoration designed, based on a minimal cavity design. GIC จะเป็นวัสดุที่ทางเลือกอย่างหนึ่งทีมี ่ ส่วนที่จะช่วยในการบรรลุเป้าหมาย
  • 58. ประโยชน์ที่ได้รับจาก Journal ฉบับนี้ • ได้รู้การพัฒนาและข้อจากัดในการทางานของ GICs ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน • ได้รู้ คุณสมบัติและข้อดี-ข้อเสีย ของ GICs • ได้รู้ถึงการใช้งานต่าง ๆ และเปรียบเทียบการใช้งานกับวัสดุบูรณะฟันชนิด อื่น ๆ • ได้รับความรู้จากงานวิจยที่หลากหลาย ั