SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
จัดทาโดย
นาย ธนาวุฒิ อุปกา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
เสนอ
คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16
ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกา
ภาษาไทย เป็นผู้แต่งตาราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนใน
โรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้น
สาคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพ
เรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุง
รัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง
พระยาศรีสุนทรโวหาร น้อย อาจารยางกูร เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365ตรง
กับปลายรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เมื่ออายุได้ประมาณ 6-7 ปี เรียนหนังสือไทยกับหลวงบรรเทาทุกข์ราษฎร์ กรมการ
เมืองฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นพี่ชายใหญ่ของท่าน ในขณะที่หลวงบรรเทาทุกข์ราษฎร
อุปสมบทเป็นภิกษุอยู่ที่วัดโสธรวรารามวรวิหาร เมื่ออายุ 13 ปี ท่านได้เข้าไปศึกษาต่อ
ในพระนคร อยู่กับสามเณรน้าชาย ชื่อทัด ณ วัดสระเกศวรวิหาร อายุ 14 ปี บรรพชา
เป็นสามเณรเรียนหนังสือไทยกับพระกรรมวาจาจารย์ (จัน) เรียนหนังสือขอมกับพระ
ครุวิหารกิจจานุการ (กรรมวาจาจีน) ศึกษาพระธรรมวินัยจากสานักต่าง ๆ เช่น
 เรียนคัมภีร์สารสงเคราะห์ สานักสมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)
 เรียนคัมภีร์มงคลทีปนีในสานักพระอุปทยาจารย์ (ศุข)
 เรียนคัมภีร์มูลกัจจายนในสานักสมเด็จพระพุฒาจารย์ (สน)
 เรียนคัมภีร์กังขาวิตะระณี ในสานักอาจารย์เกิด
 เรียนคัมภีร์มหาวงศ์ในสานักพระครูด้วง
 เรียนคัมภีร์อื่น ๆ ในสานักพระครูปาน พระใบฎีกาแก้ว พระอาจารย์คง อาจารย์ที่
เป็นคฤหัสถ์ด้วย
ด้วยระยะเวลานั้น วัดสระเกศวรวิหารขาดพระมหาเปรียญเป็นเวลานับสิบ
ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโสมนัสยินดี ทรงเฉลิมพระราชศรัทธา
โปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดใหม่ รื้อกุฏิเก่าฝาไม้ไผ่ออกสร้างกุฏิตึกเป็น
เสนาสนะงดงาม ตลอดทั้งก่อสร้างสถาปนาภูเขาทองด้วยนับเป็นเกียรติยศอย่างสูง
ด้วยความอุตสาหะพากเพียรใฝ่รู้ของท่าน จึงได้ขอศึกษาพระปริยัติธรรมในสานักของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพรรษาที่ 6 ได้เข้าแปลพระปริยัติธรรมในที่
ประชุมพระราชาคณะ ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม สอบได้เปรียญ 7 ประโยค
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระราชาคณะที่
“พระประสิทธิสุตคุณ”
 พ.ศ. 2396 ท่านลาสิกขาบท เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ดารงค์ (หรือเจ้าหมื่นสรรพ
เพชรภักดีในขณะนั้น) ได้นาท่านเข้าถวายตัวรับราชการอยู่ในกรมมหาดเล็กเวรศักดิ์
รัชกาลที่ 4 ทรงใช้สอยในเรื่องหนังสือไทย หนังสือขอมคล่องแคล่ว ตอมที่พระองค์
ต้องการ
 พ.ศ. 2414 ท่านได้คิดแบบสอนอ่านหนังสือไทย รวม 6 เล่ม ได้แก่ มูลบทบรรพ
กิจ วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน พิศาลการันต์ ไวพจน์พิจารณ์
 พ.ศ. 2415 ท่านได้เป็นครูสอนหนังสือไทย ในกรมมหาดเล็ก
 พ.ศ. 2416 โปรดเกล้าฯ ให้เป็นอาจารย์สอนพระราชวงศ์ที่ยังพระเยาว์ และบุตร
หลานข้าราชการได้รับพระราชทานเงินเดือน เดือนละ 60 บาท
 พ.ศ. 2418 ในปีนั้นเจ้ากรมพระอาลักษณ์ถึงแก่กรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
ฯ ตั้งพระสารประเสริฐขึ้นเป็น “พระศรีสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ ถือศักดิ
นา 3,000 ไร่
 พ.ศ. 2422 เมื่อมีการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดารามท่านได้มีส่วนในการแต่ง
โคลงรามเกียรติ์เพื่อจารึกที่ระเบียงรอบพระอุโบสถ และเป็นท่านยังเป็นแม่กอง
ตรวจโคลงรามเกียรติ์
 พ.ศ. 2425 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ให้เป็นองคมนตรีเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และทาหน้าที่
เป็นเลขานุการสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และองคมนตรีสภาอีกด้วย
 พ.ศ. 2432 ท่านได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า และ
ได้รับพระราชทานพานหมากคนโททอง กระโถนทอง เป็นเครื่องยศ
พ.ศ. 2434 ท่านได้ป่วยด้วยโรคชรา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหมอ
หลวงรักษา และให้พาหมอเชลยศักดิ์มารักษาด้วย แต่อาการไม่ดีขึ้น ดังนั้นในวันที่ 16
ตุลาคม พ.ศ. 2434 ท่านได้ถึงแก่อนิจกรรมตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรวมอายุได้ 69 ปี
 มูลบทบรรพกิจ
 วาหนิติ์นิกร
 อักษรประโยค
 สังโยคภิธาน
 ไวพจน์พิจารณ์
 พิศาลการันต์
 อนันตวิภาค
 เขมรากษรมาลา (เป็นแบบหนังสือขอม)
 นิติสารสาธก
 ปกีรณาพจนาตถ์ (คากลอน)
 ไวพจน์ประพันธ์
 อุไภยพจน์
 สังโยคภิธานแปล
 วิธีสอนหนังสือไทย
 มหาสุปัสสีชาดก
 วรรณพฤติคาฉันท์
 ฉันท์กล่อมช้าง
 ฉันทวิภาค
 ร่ายนาโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร รูปที่ ๖๕ และ ๘๕
 คานมัสการคุณานุคุณ
 สยามสาธก วรรณสาทิศ
 พรรณพฤกษา
 พหุบาทสัตวาภิธาน
 ฯลฯ
อนุสาวรีย์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ตั้งอยู่บนถนนศรีโสธรตัด
ใหม่ ในเขตเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ในคาขวัญประจาจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้มีการ
กล่าวถึงพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ไว้ในวรรคที่ 3 ว่า "...พระยาศรี
สุนทรปราชญ์ภาษาไทย..."
จบการนาเสนอครับ ^^’

More Related Content

Viewers also liked (6)

หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
อาชีพนักร้อง
อาชีพนักร้องอาชีพนักร้อง
อาชีพนักร้อง
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 

Similar to พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร

พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์Anutida Ging
 
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์Anutida Ging
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์  กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์ Anutida Ging
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptxพระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.PptxSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาพัน พัน
 
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)Thamma Dlife
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)Choengchai Rattanachai
 

Similar to พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร (20)

งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์  กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
หลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะ
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
งานบีบี
งานบีบีงานบีบี
งานบีบี
 
Aksorn 2
Aksorn 2Aksorn 2
Aksorn 2
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์  กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
กรมหลวงราชบุรีเรกฤทธิ์
 
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptxพระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.Pptx
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
 
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)เล่มที่ 5  สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร

  • 1.
  • 2. จัดทาโดย นาย ธนาวุฒิ อุปกา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เสนอ คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
  • 3. พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกา ภาษาไทย เป็นผู้แต่งตาราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนใน โรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้น สาคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพ เรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุง รัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง
  • 4. พระยาศรีสุนทรโวหาร น้อย อาจารยางกูร เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365ตรง กับปลายรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
  • 5. เมื่ออายุได้ประมาณ 6-7 ปี เรียนหนังสือไทยกับหลวงบรรเทาทุกข์ราษฎร์ กรมการ เมืองฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นพี่ชายใหญ่ของท่าน ในขณะที่หลวงบรรเทาทุกข์ราษฎร อุปสมบทเป็นภิกษุอยู่ที่วัดโสธรวรารามวรวิหาร เมื่ออายุ 13 ปี ท่านได้เข้าไปศึกษาต่อ ในพระนคร อยู่กับสามเณรน้าชาย ชื่อทัด ณ วัดสระเกศวรวิหาร อายุ 14 ปี บรรพชา เป็นสามเณรเรียนหนังสือไทยกับพระกรรมวาจาจารย์ (จัน) เรียนหนังสือขอมกับพระ ครุวิหารกิจจานุการ (กรรมวาจาจีน) ศึกษาพระธรรมวินัยจากสานักต่าง ๆ เช่น
  • 6.  เรียนคัมภีร์สารสงเคราะห์ สานักสมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)  เรียนคัมภีร์มงคลทีปนีในสานักพระอุปทยาจารย์ (ศุข)  เรียนคัมภีร์มูลกัจจายนในสานักสมเด็จพระพุฒาจารย์ (สน)  เรียนคัมภีร์กังขาวิตะระณี ในสานักอาจารย์เกิด  เรียนคัมภีร์มหาวงศ์ในสานักพระครูด้วง  เรียนคัมภีร์อื่น ๆ ในสานักพระครูปาน พระใบฎีกาแก้ว พระอาจารย์คง อาจารย์ที่ เป็นคฤหัสถ์ด้วย
  • 7. ด้วยระยะเวลานั้น วัดสระเกศวรวิหารขาดพระมหาเปรียญเป็นเวลานับสิบ ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโสมนัสยินดี ทรงเฉลิมพระราชศรัทธา โปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดใหม่ รื้อกุฏิเก่าฝาไม้ไผ่ออกสร้างกุฏิตึกเป็น เสนาสนะงดงาม ตลอดทั้งก่อสร้างสถาปนาภูเขาทองด้วยนับเป็นเกียรติยศอย่างสูง ด้วยความอุตสาหะพากเพียรใฝ่รู้ของท่าน จึงได้ขอศึกษาพระปริยัติธรรมในสานักของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพรรษาที่ 6 ได้เข้าแปลพระปริยัติธรรมในที่ ประชุมพระราชาคณะ ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม สอบได้เปรียญ 7 ประโยค พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระราชาคณะที่ “พระประสิทธิสุตคุณ”
  • 8.  พ.ศ. 2396 ท่านลาสิกขาบท เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ดารงค์ (หรือเจ้าหมื่นสรรพ เพชรภักดีในขณะนั้น) ได้นาท่านเข้าถวายตัวรับราชการอยู่ในกรมมหาดเล็กเวรศักดิ์ รัชกาลที่ 4 ทรงใช้สอยในเรื่องหนังสือไทย หนังสือขอมคล่องแคล่ว ตอมที่พระองค์ ต้องการ  พ.ศ. 2414 ท่านได้คิดแบบสอนอ่านหนังสือไทย รวม 6 เล่ม ได้แก่ มูลบทบรรพ กิจ วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน พิศาลการันต์ ไวพจน์พิจารณ์  พ.ศ. 2415 ท่านได้เป็นครูสอนหนังสือไทย ในกรมมหาดเล็ก  พ.ศ. 2416 โปรดเกล้าฯ ให้เป็นอาจารย์สอนพระราชวงศ์ที่ยังพระเยาว์ และบุตร หลานข้าราชการได้รับพระราชทานเงินเดือน เดือนละ 60 บาท  พ.ศ. 2418 ในปีนั้นเจ้ากรมพระอาลักษณ์ถึงแก่กรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ตั้งพระสารประเสริฐขึ้นเป็น “พระศรีสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ ถือศักดิ นา 3,000 ไร่
  • 9.  พ.ศ. 2422 เมื่อมีการปฏิสังขรณ์วัดพระศรีรัตนศาสดารามท่านได้มีส่วนในการแต่ง โคลงรามเกียรติ์เพื่อจารึกที่ระเบียงรอบพระอุโบสถ และเป็นท่านยังเป็นแม่กอง ตรวจโคลงรามเกียรติ์  พ.ศ. 2425 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ให้เป็นองคมนตรีเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และทาหน้าที่ เป็นเลขานุการสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และองคมนตรีสภาอีกด้วย  พ.ศ. 2432 ท่านได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า และ ได้รับพระราชทานพานหมากคนโททอง กระโถนทอง เป็นเครื่องยศ
  • 10. พ.ศ. 2434 ท่านได้ป่วยด้วยโรคชรา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหมอ หลวงรักษา และให้พาหมอเชลยศักดิ์มารักษาด้วย แต่อาการไม่ดีขึ้น ดังนั้นในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2434 ท่านได้ถึงแก่อนิจกรรมตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรวมอายุได้ 69 ปี
  • 11.  มูลบทบรรพกิจ  วาหนิติ์นิกร  อักษรประโยค  สังโยคภิธาน  ไวพจน์พิจารณ์  พิศาลการันต์  อนันตวิภาค
  • 12.  เขมรากษรมาลา (เป็นแบบหนังสือขอม)  นิติสารสาธก  ปกีรณาพจนาตถ์ (คากลอน)  ไวพจน์ประพันธ์  อุไภยพจน์  สังโยคภิธานแปล  วิธีสอนหนังสือไทย  มหาสุปัสสีชาดก
  • 13.  วรรณพฤติคาฉันท์  ฉันท์กล่อมช้าง  ฉันทวิภาค  ร่ายนาโคลงภาพพระราชพงศาวดาร  โคลงภาพพระราชพงศาวดาร รูปที่ ๖๕ และ ๘๕  คานมัสการคุณานุคุณ  สยามสาธก วรรณสาทิศ  พรรณพฤกษา  พหุบาทสัตวาภิธาน  ฯลฯ
  • 14. อนุสาวรีย์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ตั้งอยู่บนถนนศรีโสธรตัด ใหม่ ในเขตเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา ในคาขวัญประจาจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้มีการ กล่าวถึงพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ไว้ในวรรคที่ 3 ว่า "...พระยาศรี สุนทรปราชญ์ภาษาไทย..."