SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
จัดทำโดย
นางสาวสุชยา แก้วกนก
มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 22
เสนอ
คุณครูสฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ในพระราชนูปถัมป์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดสยามบรมราชกุมารี
ชีวิตในวัยเยำว์
ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ตาบล
ท่าวาสุกรี อาเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความสนใจทางการเมืองมา
ตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศจีนที่นาโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ
ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งปรีดีได้แสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษ
กำรศึกษำ
ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสงตาบลท่าวาสุกรี และสาเร็จการศึกษาใน
ระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อาเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียน
มัธยมวัดเบญจมบพิตรแล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจามณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ
โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย)จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสาหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษา
ต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2460 เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวง
ยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา กับอาจารย์เลเดแกร์ (E.Ladeker) ที่ปรึกษา
ศาลต่างประเทศกระทรวงยุติธรรม
ต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส ในปี
พ.ศ. 2463 โดยเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้
ปริญญารัฐเป็น "บาเชอลิเอร์" กฎหมาย (Bachelier en Droit) และได้ปริญญารัฐเป็น "ลิซองซิเอ"
กฎหมาย (Licencié en Droit) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย
ปารีส ในปี พ.ศ. 2469 ด้วยคะแนนเกียรตินิยมดีมาก (Trés Bien) นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้
ปริญญาเอกแห่งรัฐ (Doctorat d'État) เป็น "ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย" (Docteur en Droit) ฝ่าย
นิติศาสตร์ (Sciences Juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงใน
สาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (Diplôme d'Etudes Supérieures d'Economie Politique) อีกด้วย
กำรสมรสและครอบครัว
ปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดา มหาอามาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขา ณ
ป้อมเพชร) กับ คุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.
2471 มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน
นางสาวลลิตา พนมยงค์
นายปาล พนมยงค์
นางสาวสุดา พนมยงค์
นายศุขปรีดา พนมยงค์
นางดุษฎี พนมยงค์
นางวาณี พนมยงค์
หน้ำที่กำรงำนก่อนเข้ำสู่กำรเมือง
ในปี พ.ศ. 2470 ปรีดีเริ่มทางานในตาแหน่งผู้พิพากษาประจากระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้
เลื่อนตาแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือสานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม"เมื่อ พ.ศ. 2471 ขณะ
มีอายุ 28 ปี ต่อมาใน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมายนี้ ปรีดีได้รวบรวม
กฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มารวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อ
ว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2473
นอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย
กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะ
หุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ลูกศิษย์
ของเขาในช่วงดังกล่าวนี้ได้แก่ สัญญา ธรรมศักดิ์ จิตติ ติงศภัทิย์ดิเรก ชัยนาม เสริม วินิจฉัยกุล
เสวต เปี่ยมพงศ์สานต์ ไพโรจน์ ชัยนาม จินดา ชัยรัตน์ โชติ สุวรรณโพธิ์ศรี และศิริ สันตะบุตร
ในปี พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif)
กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก วันที่ 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน
ทาการยึดอานาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลง
การปกครองได้สาเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ได้จัด
ให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม
เพื่อชี้แจงจุดประสงค์หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ
และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไป
กำรวำงรูปแบบกำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย
ปรีดี พนมยงค์ ถือเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่
เป็นผู้ให้กาเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็น
เลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม ด้วยตาแหน่งดังกล่าว ทาให้เขามีบทบาทด้านนิติ
บัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร เมื่อเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองแล้วเขาจึงผลักดันให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายและสถาปนาขึ้นเป็น
คณะกรรมการกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุด
ปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของ
คณะราษฎร โดยดาเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทาลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน
กำรกระจำยอำนำจกำรปกครอง
ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่ง
ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 เพื่อให้รูปแบบและระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินดาเนินไป
อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายอานาจการปกครองสู่ท้องถิ่นในขณะดารงตาแหน่ง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปรีดี พนมยงค์ ได้สถาปนา "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์
และการเมือง" (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 และได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ประศาสน์การ"[
(พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2490) คนแรกและคนเดียวของมหาวิทยาลัย เพื่อสนองเจตนารมณ์ของ
คณะราษฎร
ด้ำนกำรต่ำงประเทศ
เมื่อภารกิจด้านการปกครองในกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว ปรีดี พนมยงค์ ได้
ก้าวเข้าดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2481) ในปี
พ.ศ. 2478 หลังจากได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแล้ว รัฐบาลเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะ
หาทางยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค และทวงอานาจอธิปไตยของประเทศกลับคืนมา การ
แก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคมีอยู่ 2 ประเด็น คือ
สิทธิสภาพนอกอาณาเขต
ภาษีร้อยชักสาม
ด้ำนกำรคลัง
เมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2481- พ.ศ. 2484) ได้ตั้งปณิธานที่จะ
ใช้เครื่องมือทางการคลังสร้างความมั่นคงให้แก่ชาติโดยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะปรับปรุงระบบการ
เก็บภาษีให้เป็นธรรมแก่สังคม และได้บรรลุภารกิจในด้านการจัดเก็บภาษีอากรที่สาคัญ ดังนี้
ช่วยเหลือราษฎรที่ต้องแบกรับภาษีที่ไม่เป็นธรรม ด้วยการยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ และอากรค่า
นา (เงินส่วย) ซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินา เป็นต้น
จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดนสถาปนา "ประมวล
รัษฎากร" เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง
ออก พรบ.ภาษีเงินได้ซึ่งเป็นภาษีก้าวหน้า กล่าวคือผู้ใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมากหากมีรายได้
น้อยก็เสียภาษีน้อย และผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จาเป็นแก่การดารงชีพก็ต้องเสียภาษีอากร
มากตามลาดับ
หัวหน้ำขบวนกำรเสรีไทย
ปรีดี พนมยงค์ ไม่เห็นด้วยกับการให้ญี่ปุ่นละเมิดอธิปไตยและแสดงจุดยืนให้ปรากฏโดย
เป็นผู้นาในการจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่น หรือต่อมาเรียกว่า "ขบวนการเสรีไทย" ประกอบด้วย
คนไทยทุกชั้นวรรณะ ทั้งที่อยู่ในประเทศและอยู่ต่างประเทศ เขาไม่ยอมลงนามในประกาศ
สงครามนั้นด้วยเหตุผลสาคัญที่ว่า หากลงนามไปแล้วก็ยากที่จะให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเชื่อถือการ
ปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปรีดีแจ้งให้สัมพันธมิตรทราบว่า เสรีไทยจานวน 8 หมื่น
คนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทาสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผยในที่สุดฝ่ายญี่ปุ่นก็
ยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488
ประกำศสันติภำพ
วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ในฐานะผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ได้
ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ต่อมา
รัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพไทย" เมื่อบ้านเมืองสงบ
เรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศ
ไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5
ธันวาคม พ.ศ. 2488
บทบำททำงกำรเมืองหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2
เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท
มหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จ
กลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488
ดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรี
ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีเข้าเป็น
สมาชิกองค์การสหประชาชาติลาดับที่ 55 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 ปรีดีก็ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
ทั้งที่เพิ่งได้รับโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้
ปรีดีดารงตาแหน่งตามเดิม
ลี้ภัยรัฐประหำร
ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหาร ได้ทาการยึดอานาจการปกครอง
ประเทศ จากรัฐบาลหลวงธารงนาวาสวัสดิ์ ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดีสวรรคต
ลงได้ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทางเศรษฐกิจต่อมา ในปี พ.ศ. 2492
ปรีดี พนมยงค์ กลับมาประเทศไทยเพื่อทาการยึดอานาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์"
จบ

More Related Content

Viewers also liked (6)

หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์
 
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาร
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
อาชีพนักร้อง
อาชีพนักร้องอาชีพนักร้อง
อาชีพนักร้อง
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์

  • 2. จัดทำโดย นางสาวสุชยา แก้วกนก มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 22 เสนอ คุณครูสฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด ในพระราชนูปถัมป์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดสยามบรมราชกุมารี
  • 3. ชีวิตในวัยเยำว์ ปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 ณ เรือนแพหน้าวัดพนมยงค์ตาบล ท่าวาสุกรี อาเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ครั้งเยาว์วัยเป็นเด็กหัวดี ช่างคิด ช่างสังเกตวิเคราะห์ และเริ่มมีความสนใจทางการเมืองมา ตั้งแต่อายุเพียง 11 ปี จากเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศจีนที่นาโดย ซุน ยัตเซ็น และเหตุการณ์กบฏ ร.ศ. 130 ในสยาม ซึ่งปรีดีได้แสดงความเห็นอกเห็นใจอย่างมากต่อผู้ที่ถูกลงโทษ
  • 4. กำรศึกษำ ปรีดีเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านครูแสงตาบลท่าวาสุกรี และสาเร็จการศึกษาใน ระดับประถมที่โรงเรียนวัดศาลาปูน อาเภอกรุงเก่า จากนั้นไปศึกษาชั้นมัธยมเตรียมที่โรงเรียน มัธยมวัดเบญจมบพิตรแล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจามณฑลกรุงเก่า (ปัจจุบันคือ โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย)จนสอบไล่ได้ชั้นมัธยม 6 ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดสาหรับหัวเมือง แล้วไปศึกษา ต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2460 เข้าศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวง ยุติธรรม และศึกษาภาษาฝรั่งเศสที่เนติบัณฑิตยสภา กับอาจารย์เลเดแกร์ (E.Ladeker) ที่ปรึกษา ศาลต่างประเทศกระทรวงยุติธรรม
  • 5. ต่อมาได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงยุติธรรมให้ทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2463 โดยเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Université de Caen) จนสอบไล่ได้ ปริญญารัฐเป็น "บาเชอลิเอร์" กฎหมาย (Bachelier en Droit) และได้ปริญญารัฐเป็น "ลิซองซิเอ" กฎหมาย (Licencié en Droit) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ที่มหาวิทยาลัย ปารีส ในปี พ.ศ. 2469 ด้วยคะแนนเกียรตินิยมดีมาก (Trés Bien) นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ ปริญญาเอกแห่งรัฐ (Doctorat d'État) เป็น "ดุษฎีบัณฑิตกฎหมาย" (Docteur en Droit) ฝ่าย นิติศาสตร์ (Sciences Juridiques) นอกจากนี้เขายังสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูงใน สาขาเศรษฐศาสตร์การเมือง (Diplôme d'Etudes Supérieures d'Economie Politique) อีกด้วย
  • 6. กำรสมรสและครอบครัว ปรีดีสมรสกับ พูนศุข ณ ป้อมเพชร์ ธิดา มหาอามาตย์ตรี พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขา ณ ป้อมเพชร) กับ คุณหญิงเพ็ง ชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา (สุวรรณศร) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 มีบุตร-ธิดาด้วยกันทั้งหมด 6 คน นางสาวลลิตา พนมยงค์ นายปาล พนมยงค์ นางสาวสุดา พนมยงค์ นายศุขปรีดา พนมยงค์ นางดุษฎี พนมยงค์ นางวาณี พนมยงค์
  • 7. หน้ำที่กำรงำนก่อนเข้ำสู่กำรเมือง ในปี พ.ศ. 2470 ปรีดีเริ่มทางานในตาแหน่งผู้พิพากษาประจากระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้ เลื่อนตาแหน่งเป็นผู้ช่วยเลขานุการกรมร่างกฎหมาย (ปัจจุบันคือสานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา) และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม"เมื่อ พ.ศ. 2471 ขณะ มีอายุ 28 ปี ต่อมาใน พ.ศ. 2475 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการกรมร่างกฎหมายนี้ ปรีดีได้รวบรวม กฎหมายไทยตั้งแต่แรกจนถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ในสภาพกระจัดกระจายให้มารวมเป็นเล่มเดียว ใช้ชื่อ ว่า “ประชุมกฎหมายไทย” และได้รับการตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2473
  • 8. นอกจากงานที่กรมร่างกฎหมายแล้ว ปรีดียังเป็นอาจารย์ผู้สอนที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ในชั้นแรกได้สอนวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 3 ว่าด้วยลักษณะ หุ้นส่วน บริษัทและสมาคม ต่อมาได้สอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล ลูกศิษย์ ของเขาในช่วงดังกล่าวนี้ได้แก่ สัญญา ธรรมศักดิ์ จิตติ ติงศภัทิย์ดิเรก ชัยนาม เสริม วินิจฉัยกุล เสวต เปี่ยมพงศ์สานต์ ไพโรจน์ ชัยนาม จินดา ชัยรัตน์ โชติ สุวรรณโพธิ์ศรี และศิริ สันตะบุตร ในปี พ.ศ. 2474 ปรีดีเป็นคนแรกที่เริ่มสอนวิชากฎหมายปกครอง (Droit Administratif) กล่าวกันว่าวิชากฎหมายปกครองนี้ เป็นวิชาที่สร้างชื่อเสียงแก่ปรีดีเป็นอย่างมาก วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ปรีดีร่วมกับสมาชิกคณะราษฎรที่ประกอบด้วยกลุ่มทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน ทาการยึดอานาจการปกครองประเทศจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเปลี่ยนแปลง การปกครองได้สาเร็จโดยไม่มีการเสียเลือดเนื้อ หลังจากนั้นคณะราษฎรโดยปรีดี พนมยงค์ได้จัด ให้มีการประชุมระหว่างคณะราษฎร และเสนาบดี ปลัดทูลฉลอง ขึ้น ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อชี้แจงจุดประสงค์หลักการระบอบใหม่ กฎหมายพระธรรมนูญการปกครองแผ่นดินโดยย่อ และขอความร่วมมือในการบริหารราชการแผ่นดินต่อไป
  • 9. กำรวำงรูปแบบกำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย ปรีดี พนมยงค์ ถือเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการจัดวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่ เป็นผู้ให้กาเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ ได้รับแต่งตั้งจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็น เลขาธิการคนแรกของสภาผู้แทนราษฎรสยาม ด้วยตาแหน่งดังกล่าว ทาให้เขามีบทบาทด้านนิติ บัญญัติในการวางหลักสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคให้แก่ราษฎร เมื่อเปลี่ยนแปลงการ ปกครองแล้วเขาจึงผลักดันให้รัฐบาลยกฐานะกรมร่างกฎหมายและสถาปนาขึ้นเป็น คณะกรรมการกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2476 ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ หรือที่เรียกกันว่า "สมุด ปกเหลือง" ต่อรัฐบาลเพื่อใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตามหลัก 6 ประการของ คณะราษฎร โดยดาเนินเศรษฐกิจแบบสหกรณ์ แต่ไม่ทาลายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของเอกชน
  • 10. กำรกระจำยอำนำจกำรปกครอง ปรีดีเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการร่างพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่ง ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 เพื่อให้รูปแบบและระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินดาเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกระจายอานาจการปกครองสู่ท้องถิ่นในขณะดารงตาแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปรีดี พนมยงค์ ได้สถาปนา "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมือง" (มธก.) ขึ้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 และได้รับแต่งตั้งเป็น "ผู้ประศาสน์การ"[ (พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2490) คนแรกและคนเดียวของมหาวิทยาลัย เพื่อสนองเจตนารมณ์ของ คณะราษฎร
  • 11. ด้ำนกำรต่ำงประเทศ เมื่อภารกิจด้านการปกครองในกระทรวงมหาดไทยเข้ารูปเข้ารอยแล้ว ปรีดี พนมยงค์ ได้ ก้าวเข้าดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2481) ในปี พ.ศ. 2478 หลังจากได้ประกาศใช้ประมวลกฎหมายแล้ว รัฐบาลเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะ หาทางยกเลิกสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค และทวงอานาจอธิปไตยของประเทศกลับคืนมา การ แก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาคมีอยู่ 2 ประเด็น คือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต ภาษีร้อยชักสาม
  • 12. ด้ำนกำรคลัง เมื่อปรีดีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (พ.ศ. 2481- พ.ศ. 2484) ได้ตั้งปณิธานที่จะ ใช้เครื่องมือทางการคลังสร้างความมั่นคงให้แก่ชาติโดยแถลงต่อรัฐสภาว่าจะปรับปรุงระบบการ เก็บภาษีให้เป็นธรรมแก่สังคม และได้บรรลุภารกิจในด้านการจัดเก็บภาษีอากรที่สาคัญ ดังนี้ ช่วยเหลือราษฎรที่ต้องแบกรับภาษีที่ไม่เป็นธรรม ด้วยการยกเลิกเงินภาษีรัชชูปการ และอากรค่า นา (เงินส่วย) ซึ่งชาวนาต้องเสียแก่เจ้าศักดินา เป็นต้น จัดระบบเก็บภาษีอากรที่เป็นธรรมในระบอบประชาธิปไตยโดนสถาปนา "ประมวล รัษฎากร" เป็นแบบฉบับครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งรวมบทบัญญัติเกี่ยวกับภาษีอากรทางตรง ออก พรบ.ภาษีเงินได้ซึ่งเป็นภาษีก้าวหน้า กล่าวคือผู้ใดมีรายได้มากก็เสียภาษีมากหากมีรายได้ น้อยก็เสียภาษีน้อย และผู้ใดบริโภคเครื่องบริโภคที่ไม่จาเป็นแก่การดารงชีพก็ต้องเสียภาษีอากร มากตามลาดับ
  • 13. หัวหน้ำขบวนกำรเสรีไทย ปรีดี พนมยงค์ ไม่เห็นด้วยกับการให้ญี่ปุ่นละเมิดอธิปไตยและแสดงจุดยืนให้ปรากฏโดย เป็นผู้นาในการจัดตั้งองค์การต่อต้านญี่ปุ่น หรือต่อมาเรียกว่า "ขบวนการเสรีไทย" ประกอบด้วย คนไทยทุกชั้นวรรณะ ทั้งที่อยู่ในประเทศและอยู่ต่างประเทศ เขาไม่ยอมลงนามในประกาศ สงครามนั้นด้วยเหตุผลสาคัญที่ว่า หากลงนามไปแล้วก็ยากที่จะให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเชื่อถือการ ปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปรีดีแจ้งให้สัมพันธมิตรทราบว่า เสรีไทยจานวน 8 หมื่น คนทั่วประเทศพร้อมที่จะลุกฮือขึ้นเพื่อทาสงครามกับทหารญี่ปุ่นอย่างเปิดเผยในที่สุดฝ่ายญี่ปุ่นก็ ยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไขเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488
  • 14. ประกำศสันติภำพ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ปรีดี พนมยงค์ในฐานะผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ได้ ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ต่อมา รัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ 16 สิงหาคม ของทุกปีเป็น "วันสันติภาพไทย" เมื่อบ้านเมืองสงบ เรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติประเทศ ไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จกลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488
  • 15. บทบำททำงกำรเมืองหลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 เมื่อบ้านเมืองสงบเรียบร้อยดีแล้วปรีดี พนมยงค์ จึงขออัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดลเสด็จนิวัติประเทศไทยเพื่อทรงบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เองต่อไป โดยได้เสด็จ กลับถึงพระนครวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488
  • 16. ดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรี ปรีดี พนมยงค์ ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎรให้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีเข้าเป็น สมาชิกองค์การสหประชาชาติลาดับที่ 55 วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดีที่เพิ่งชนะเลือกตั้งหลังการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 ปรีดีก็ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ทั้งที่เพิ่งได้รับโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่สภาผู้แทนราษฎรก็สนับสนุนให้ ปรีดีดารงตาแหน่งตามเดิม
  • 17. ลี้ภัยรัฐประหำร ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 คณะรัฐประหาร ได้ทาการยึดอานาจการปกครอง ประเทศ จากรัฐบาลหลวงธารงนาวาสวัสดิ์ ด้วยสาเหตุที่รัฐบาลไม่สามารถคลี่คลายคดีสวรรคต ลงได้ประกอบกับการลดบทบาทของกองทัพ และปัญหาทางเศรษฐกิจต่อมา ในปี พ.ศ. 2492 ปรีดี พนมยงค์ กลับมาประเทศไทยเพื่อทาการยึดอานาจคืนจากรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเหตุการณ์ "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์"