SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ที่มา: http://creativeokmd.com/public/cmspage/95/05/0590_91b5.png?c=f9fc
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
จัดทาโดย
นางสาวฉันทนา ปาปัดถา
รหัส 5502052910022
สมาชิกในกลุ่ม
Leader
ฉันทนา ปาปัดถา
นาวิน คงรักษา
สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์
อนุชิต อนุพันธ์
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เสาวรภย์ กุสุมา ณ อยุธยา กล่าวว่า นิยามของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ความหมายของเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในขั้นตอนของการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจึงมีการให้คานิยาม
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ไว้ ดังนี้
• จอห์น ฮาวกินส์ (John Howkins) ได้ให้นิยามของ Creative Economy ไว้ว่า “How people
make money from idea” หมายถึง การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดของมนุษย์
• ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center: TCDC) ได้ให้นิยาม
Creative Economy ไว้ว่า “การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดของมนุษย์ สาขาการผลิตที่
พัฒนาไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries: CI)” เป็น
กลุ่มกิจกรรมการผลิตที่ต้องพึ่งพาความคิดสร้างสรรค์เป็นวัตถุดิบสาคัญ
• องค์กรความร่วมมือเพื่อการค้าและการพัฒนา UNCTAD (United Nation Conference on
Trade and Development) ได้ให้ความหมายของ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ในบริบทของการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจไว้ว่า “เป็นแนวความคิดในการพัฒนาและสร้างความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจโดยใช้สินทรัพย์ที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์”
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 19-
20) ได้สรุปไว้ว่า เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีองค์ประกอบร่วมของแนวคิดการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของการใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education)
การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual
Property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรู้ของ
สังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and
Innovation)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สรุปได้ตาม ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุน
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ พ.ศ. 2454 (ราชกิจจานุเบกษา. 2554: 1) หมายถึง การ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ การสร้างสรรค์งาน และการ
ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรมการสั่งสมความรู้ของ
สังคม และเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่
จอห์น ฮาวกินส์ (John Howkins อ้างถึงใน อาคม ติมพิทยาไพสิฐ. 2554) เจ้าของ
แนวคิด “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ได้อธิบายง่ายๆ ว่า คือ “การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิด
ของมนุษย์”ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ประกอบด้วย
1. การใช้ความคิด (Ideas) ทั้งความคิดเดิมหรือใหม่ ในการสร้างความคิดใหม่ๆ โดย
ความคิดนี้เริ่มต้นจากจินตนาการและพรสวรรค์ของปัจเจกบุคคลเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Economy)
2. เศรษฐกิจสร้างสรรค์เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ความคิด (Ideas) ผลิตสินค้าและบริการ ซึ่ง
น่าสนใจและมีมูลค่า/คุณค่า
3. วิธีทางที่หลากหลายในการที่คน มี แบ่งปัน และขายความคิด (Ideas) คือ เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์นั่นเอง
4. ผลที่ตามมา คือ การเพิ่มขึ้นของ ราคาสินค้า/บริการ GDP และค่าจ้างเฉลี่ย
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 20-
21) ได้นาเสนอเกี่ยวกับองค์ประกอบของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ครอบคลุมถึง
อุตสาหกรรมกลุ่มต่างๆ ที่ได้รับการจัดกลุ่ม และแยกประเภทบนพื้นฐานของแนวคิด
หลัก 2 แนวคิดกว้างๆ คือ กลุ่มที่แยกประเภทตามชนิดสินค้า/บริการ และกลุ่มท่
แยกประเภทตามกิจกรรมการผลิตและห่วงโซ่การผลิต โดยมีตัวอย่างรูปแบบการแบ่ง
ประเภทที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันทั้งหมด 6 รปแบบ
1. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศสหราชอาณาจักร (UK DCMS
Model) โดยเปนผูริเริ่มการแบงประเภทอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรคเปนครั้ง
แรกในป 2541 ซึ่งแบงออกเปน 13 กลุม แยกตามสินคาและบริการคือโฆษณา
สถาปตยกรรม งานศิลปะและวัตถุโบราณ งานฝมือแฟชั่น งานออกแบบ
ภาพยนตรและวีดีโอ ดนตรีศิลปะการแสดง สื่อสิ่งพิมพซอฟตแวรโทรทัศน์และ
วิทยุ และวิดีโอและคอมพิวเตอร์เกมส์
2. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยใช้วัฒนธรรมเป็นหลัก (Symbolic
Texts Model) แบงออกเปน 11 กลุม ไดแก โฆษณา ภาพยนตรอินเทอรเน็ต
ดนตรีสื่อสิ่งพิมพโทรทัศนและวีดีโอ ศิลปะสรางสรรคเครุ่องใชไฟฟาแฟชั่น
ซอฟต์แวร์ และกีฬา
3. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยใช้ศิลปะเป็นหลัก (Concentric Circle
Model) แบงออกเปน 14 กลุม ไดแกวรรณกรรม ดนตรีศิลปะการแสดง งานศิลปะ
ภาพยนตรพิพิธภัณฑและหองสมุด การดูแลศิลปวัตถุ/โบราณสถาน สื่อสิ่งพิมพการ
บันทึกเสียง วีดีโอและคอมพิวเตอรเกมสโฆษณาสถาปัตยกรรม งานออกแบบ และ
แฟชั่น
4. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO
Copyright Model) ใชประเด็นดานลิขสิทธิ์เปนตัวกาหนด แบงออกเปน 20 กลุม ได
แก โฆษณา งานสะสม ภาพยนตรและวีดีโอดนตรีศิลปะการแสดง สื่อสิ่งพิมพซอฟต
แวรโทรทัศนและวิทยุงานศิลปะและกราฟฟค สื่อสาหรับบันทึกเครื่องใชไฟฟา เครื่อง
ดนตรีกระดาษ เครื่องถายเอกสารและอุปกรณถ่ายภาพ สถาปตยกรรม เครื่องนุงห
มและรองเทา งานออกแบบ แฟชั่นสินค้าตกแต่งบ้าน และของเล่น
5. การจัดประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์โดย UNCTADไดแบงประเภทอุตสาหกรรม
สร้างสรรคออกเปน 4 กลุมหลัก ไดแก มรดกทางวัฒนธรรม (Heritage or Cultural
Heritage) ศิลปะ (Arts) สื่อ (Media) งานสร้างสรรค์ ตามลักษณะงาน (Functional
Creation)
6. การจัดประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์โดย UNESCOไดแบงประเภทอุตสาหกรรม
สร้างสรรคที่เนนเฉพาะดานวัฒนธรรมออกเปน 5 กลุมหลัก (Core Cultural
Domains) ได้แก่ มรดกทางวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ (Cultural and
Natural Heritage) การแสดง (Performance and Celebration) ทัศนศิลปงาน
ฝมือและการออกแบบ (Visual arts, Crafts and Design) หนังสือและสิ่งพิมพ
(Books and Press) และ โสตทัศนและสื่อดิจิทัล (Audio Visual and Digital
Media) นอกจากนั้นยังไดเพิ่มกลุมอุ่นที่เกี่ยวของ (Related Domains) เพื่อเปนทาง
เลือกในการจัดประเภทใหเหมาะสมกับลักษณะวัฒนธรรมของแตละประเภท
จุดแข็ง
1. มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ
ไทย
2. มีประวัติศาสตร์และมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังคงได้รับการสืบทอดและอยู่ในสภาพที่ดี
โดยเฉพาะมรดกโลกทางประวัติศาสตร์ทั้ง 3 แห่งของไทย
3. มีความประณีตละเอียดอ่อนในการสร้างสรรค์ผลงานที่ใช้ฝีมือ จนเป็นที่ยอมรับและมีชีอ
เสียงในระดับโลก
4. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม และหลากหลาย ทั้งทางทะเล และป่าไม้
5. มีต้นทุนและค่าครองชีพที่ต่าเมื่อเทียบกับหลายประเทศในระดับเดียวกัน
6. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการสืบทอดและรักษาไว้เป็นจานวนมากและหลากหลาย
จุดอ่อน
1. ขาดการบูรณากา รและความต่อเนื่องของนโยบายการพัฒนาตลอดจนกลไกการขับเคลื่อนและประสานงานของหน่วยงาน
ที่เกียวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ระบบข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลทางสถิติและการจาแนกประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ยังไม่มีความชดเจน
3. ปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญายังเป็นปัญหาสาคัญโดยเฉพาะการบังคับใช้กฎหมายให้เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพ
4. การผลิตในลักษณะลอกเลียนแบบหรือผลิตตามคาสั่งซื้อในลักษณะที่เป็น Passive มากกว่า Activeของผู้ประกอบการไทย
โดยไม่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ยังเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการปลูกฝัง และพัฒนาในระยะยาว
5. การสนับสนุนทางการเงินของสถาบันการเงินไทยในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ยังคงอยู่ในวงจากัด ทั้งในเรื่องการผลิต และ
การวิจัยพัฒนา
6. การถ่ายทอดภูมิปัญญา และความรู้เป็นกระบวนการที่ต้องใช้ระยะเวลา ซึ่งประเทศไทยเองยังไม่มีแนวทางการถ่ายทอด
และจัดเก็บอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
7. โครงสร้างพื้นฐาน และศูนย์รวมอุตสาหกรรมแต่ละกลุ่มยังอยู่ในระดับที่ต้องการการพัฒนาอีกมาก
8. ระบบมาตรฐานต่างๆ ทั้งเรื่องการบริการ การผลิต สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม ยังต้องได้รับการพัฒนาและปรับปรุงอีกมาก
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 33-34) ได้นาเสนอ
ไว้ดังนี้
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 ไมไดกาหนดยุทธศาสตรที่กลาวถึงเศรษฐกิจสรางสรรคโดยตรง
แตไดกลาวถึงนโยบายที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจสรางสรรคในยุทธศาสตรการปรับโครงสรางทาง
เศรษฐกิจใหสมดุลและยื่งยืน ซึ่งประกอบไปดวย 3 แนวทางหลัก ไดแก
1) การปรับโครงสรางเศรษฐกิจที่ใหความสาคัญกับภาคเศรษฐกิจที่แทจริง
2) การเสริมสรางความเทาเทียมและเปนธรรมในระบบเศรษฐกิจ
3) การเสริมสรางภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ โดยใหความสาคัญกับการศึกษาการเพิ่มผลิต
ภาพการผลิต และการนาภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่นไปสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑเชิง
สรางสรรคในกลุ่มต่างๆ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 33-34) ได้นาเสนอ
ไว้ดังนี้
• นโยบายของรัฐบาลของคณะรัฐมนตรีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีนโยบายการ
พัฒนาอุตสาหกรรมสรางสรรคของรัฐบาล ไดเริ่มปรากฏใหเห็นเดนชัดมาตั้งแตป 2545 โดยมี
การจัดการตั้งองคกรอิสระที่ทาหนาที่พัฒนาองคความรูและดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ
เศรษฐกิจสรางสรรคหลายองคกร เชน สานักงานบริหารและจัดการองคความรูศูนยสรางสรรค
งานออกแบบองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติสานักงานพัฒนาการทองเที่ยว และ
สานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติเพื่อเปนรากฐานสาหรับการพัฒนา
อุตสาหกรรมสรางสรรคของแตละกลุมในระยะยาว อยางไรก็ตามนโยบายและการดาเนินงาน
ขององค์กรเหล่านี้ ในระยะที่ผ่านมายังขาดความต่อเนื่องและการบรณาการ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 46-47) ได้นาเสนอ
• สหราชอาณาจักร ถือเปนประเทศตนแบบในการนาแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค
มาใชในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีการจัดการการกาหนดขอบเขต การจัดเก็บข
อมูล และจาแนกกลุมของเศรษฐกิจสรางสรรคอย่างชัดเจนซึ่งในปัจจุบันเศรษฐกิจสร้างสรรค์มี
ความสาคัญตอระบบเศรษฐกิจของประเทศสหราชอาณาจักรเปนอยางมาก ทั้งทางดานมูลคา
ทางเศรษฐกิจและการจ้างงานของประเทศ
• ออสเตรเลียจัดเป็นประเทศที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากการนา
ต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากประเทศสหราชอาณาจักรมาประยุกตใชใหสอดคลองกับ
ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเปนประเทศที่นาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติความสม
บูรณดานอาหาร และแหลงทองเที่ยวมาประยุกต์ใช้กับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้ก
าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 46-47) ได้
นาเสนอ
• ฮ่องกง มีเศรษฐกิจสรางสรรคที่พัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกิจที่เนนภาคการ
บริการเป็นหลัก (Service-oriented Economy) ซึ่งถือเปนระบบเศรษฐกิจ
สาคัญของฮองกงที่มีสัดสวนถึงร้อยละ 90 ของประเทศ โดยการพัฒนาเศรษฐกิจ
สรางสรรคของฮองกงไดใหความสาคัญของการสร้างอัตลักษณใหกับสินคาและ
บริการบนพื้นฐานของคุณคาเชิงสัญลักษณทางสุนทรียศาสตรและวัฒนธรรม ซึ่งน
าจะเปนตนแบบในการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคในประเทศไทยที่มีความ
หลากหลายและโดดเด่นทางวัฒนธรรมที่เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เว็บไซต์ที่ให้ความรู้และดาเนินการเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ของไทย
http://www.okmd.or.th
OKMD บริหารและการพัฒนาองค์ความรู้
ของประเทศ
เว็บไซต์ที่ให้ความรู้และดาเนินการเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ของไทย
www.creativethailand.org
Creative Thailand สร้าง
เศรษฐกิจไทยดวยความคิด
สร้างสรรค์
ขอบคุณค่ะ
ที่มา: http://creativeokmd.com/public/cmspage/95/05/0590_91b5.png?c=f9fc

More Related Content

What's hot

ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมBenjamas Kamma
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนPa'rig Prig
 
จรวดกระดาษ
จรวดกระดาษจรวดกระดาษ
จรวดกระดาษChanatit Ponpasee
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์Lilrat Witsawachatkun
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดSarayuth Intanai
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 

What's hot (20)

ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรม
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
จรวดกระดาษ
จรวดกระดาษจรวดกระดาษ
จรวดกระดาษ
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 

More from Chantana Papattha

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพChantana Papattha
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษChantana Papattha
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยChantana Papattha
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...Chantana Papattha
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...Chantana Papattha
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeChantana Papattha
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Chantana Papattha
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Chantana Papattha
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญChantana Papattha
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)Chantana Papattha
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Chantana Papattha
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...Chantana Papattha
 

More from Chantana Papattha (18)

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
 
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
 

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)

  • 1. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่มา: http://creativeokmd.com/public/cmspage/95/05/0590_91b5.png?c=f9fc
  • 3. สมาชิกในกลุ่ม Leader ฉันทนา ปาปัดถา นาวิน คงรักษา สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์ อนุชิต อนุพันธ์
  • 5. เสาวรภย์ กุสุมา ณ อยุธยา กล่าวว่า นิยามของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ความหมายของเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในขั้นตอนของการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจึงมีการให้คานิยาม เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ไว้ ดังนี้ • จอห์น ฮาวกินส์ (John Howkins) ได้ให้นิยามของ Creative Economy ไว้ว่า “How people make money from idea” หมายถึง การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดของมนุษย์ • ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center: TCDC) ได้ให้นิยาม Creative Economy ไว้ว่า “การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิดของมนุษย์ สาขาการผลิตที่ พัฒนาไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์และอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries: CI)” เป็น กลุ่มกิจกรรมการผลิตที่ต้องพึ่งพาความคิดสร้างสรรค์เป็นวัตถุดิบสาคัญ • องค์กรความร่วมมือเพื่อการค้าและการพัฒนา UNCTAD (United Nation Conference on Trade and Development) ได้ให้ความหมายของ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ในบริบทของการ ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจไว้ว่า “เป็นแนวความคิดในการพัฒนาและสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจโดยใช้สินทรัพย์ที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์”
  • 6. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 19- 20) ได้สรุปไว้ว่า เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีองค์ประกอบร่วมของแนวคิดการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของการใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรู้ของ สังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation)
  • 7. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สรุปได้ตาม ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ พ.ศ. 2454 (ราชกิจจานุเบกษา. 2554: 1) หมายถึง การ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ การสร้างสรรค์งาน และการ ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรมการสั่งสมความรู้ของ สังคม และเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่
  • 8. จอห์น ฮาวกินส์ (John Howkins อ้างถึงใน อาคม ติมพิทยาไพสิฐ. 2554) เจ้าของ แนวคิด “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ได้อธิบายง่ายๆ ว่า คือ “การสร้างมูลค่าที่เกิดจากความคิด ของมนุษย์”ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ประกอบด้วย 1. การใช้ความคิด (Ideas) ทั้งความคิดเดิมหรือใหม่ ในการสร้างความคิดใหม่ๆ โดย ความคิดนี้เริ่มต้นจากจินตนาการและพรสวรรค์ของปัจเจกบุคคลเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) 2. เศรษฐกิจสร้างสรรค์เกิดขึ้นเมื่อมีการใช้ความคิด (Ideas) ผลิตสินค้าและบริการ ซึ่ง น่าสนใจและมีมูลค่า/คุณค่า 3. วิธีทางที่หลากหลายในการที่คน มี แบ่งปัน และขายความคิด (Ideas) คือ เศรษฐกิจ สร้างสรรค์นั่นเอง 4. ผลที่ตามมา คือ การเพิ่มขึ้นของ ราคาสินค้า/บริการ GDP และค่าจ้างเฉลี่ย
  • 9. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 20- 21) ได้นาเสนอเกี่ยวกับองค์ประกอบของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ครอบคลุมถึง อุตสาหกรรมกลุ่มต่างๆ ที่ได้รับการจัดกลุ่ม และแยกประเภทบนพื้นฐานของแนวคิด หลัก 2 แนวคิดกว้างๆ คือ กลุ่มที่แยกประเภทตามชนิดสินค้า/บริการ และกลุ่มท่ แยกประเภทตามกิจกรรมการผลิตและห่วงโซ่การผลิต โดยมีตัวอย่างรูปแบบการแบ่ง ประเภทที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันทั้งหมด 6 รปแบบ
  • 10. 1. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศสหราชอาณาจักร (UK DCMS Model) โดยเปนผูริเริ่มการแบงประเภทอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรคเปนครั้ง แรกในป 2541 ซึ่งแบงออกเปน 13 กลุม แยกตามสินคาและบริการคือโฆษณา สถาปตยกรรม งานศิลปะและวัตถุโบราณ งานฝมือแฟชั่น งานออกแบบ ภาพยนตรและวีดีโอ ดนตรีศิลปะการแสดง สื่อสิ่งพิมพซอฟตแวรโทรทัศน์และ วิทยุ และวิดีโอและคอมพิวเตอร์เกมส์ 2. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยใช้วัฒนธรรมเป็นหลัก (Symbolic Texts Model) แบงออกเปน 11 กลุม ไดแก โฆษณา ภาพยนตรอินเทอรเน็ต ดนตรีสื่อสิ่งพิมพโทรทัศนและวีดีโอ ศิลปะสรางสรรคเครุ่องใชไฟฟาแฟชั่น ซอฟต์แวร์ และกีฬา
  • 11. 3. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยใช้ศิลปะเป็นหลัก (Concentric Circle Model) แบงออกเปน 14 กลุม ไดแกวรรณกรรม ดนตรีศิลปะการแสดง งานศิลปะ ภาพยนตรพิพิธภัณฑและหองสมุด การดูแลศิลปวัตถุ/โบราณสถาน สื่อสิ่งพิมพการ บันทึกเสียง วีดีโอและคอมพิวเตอรเกมสโฆษณาสถาปัตยกรรม งานออกแบบ และ แฟชั่น 4. การจัดประเภทเศรษฐกิจสร้างสรรค์ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO Copyright Model) ใชประเด็นดานลิขสิทธิ์เปนตัวกาหนด แบงออกเปน 20 กลุม ได แก โฆษณา งานสะสม ภาพยนตรและวีดีโอดนตรีศิลปะการแสดง สื่อสิ่งพิมพซอฟต แวรโทรทัศนและวิทยุงานศิลปะและกราฟฟค สื่อสาหรับบันทึกเครื่องใชไฟฟา เครื่อง ดนตรีกระดาษ เครื่องถายเอกสารและอุปกรณถ่ายภาพ สถาปตยกรรม เครื่องนุงห มและรองเทา งานออกแบบ แฟชั่นสินค้าตกแต่งบ้าน และของเล่น
  • 12. 5. การจัดประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์โดย UNCTADไดแบงประเภทอุตสาหกรรม สร้างสรรคออกเปน 4 กลุมหลัก ไดแก มรดกทางวัฒนธรรม (Heritage or Cultural Heritage) ศิลปะ (Arts) สื่อ (Media) งานสร้างสรรค์ ตามลักษณะงาน (Functional Creation) 6. การจัดประเภทอุตสาหกรรมสร้างสรรค์โดย UNESCOไดแบงประเภทอุตสาหกรรม สร้างสรรคที่เนนเฉพาะดานวัฒนธรรมออกเปน 5 กลุมหลัก (Core Cultural Domains) ได้แก่ มรดกทางวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ (Cultural and Natural Heritage) การแสดง (Performance and Celebration) ทัศนศิลปงาน ฝมือและการออกแบบ (Visual arts, Crafts and Design) หนังสือและสิ่งพิมพ (Books and Press) และ โสตทัศนและสื่อดิจิทัล (Audio Visual and Digital Media) นอกจากนั้นยังไดเพิ่มกลุมอุ่นที่เกี่ยวของ (Related Domains) เพื่อเปนทาง เลือกในการจัดประเภทใหเหมาะสมกับลักษณะวัฒนธรรมของแตละประเภท
  • 13. จุดแข็ง 1. มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ ไทย 2. มีประวัติศาสตร์และมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังคงได้รับการสืบทอดและอยู่ในสภาพที่ดี โดยเฉพาะมรดกโลกทางประวัติศาสตร์ทั้ง 3 แห่งของไทย 3. มีความประณีตละเอียดอ่อนในการสร้างสรรค์ผลงานที่ใช้ฝีมือ จนเป็นที่ยอมรับและมีชีอ เสียงในระดับโลก 4. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงาม และหลากหลาย ทั้งทางทะเล และป่าไม้ 5. มีต้นทุนและค่าครองชีพที่ต่าเมื่อเทียบกับหลายประเทศในระดับเดียวกัน 6. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้รับการสืบทอดและรักษาไว้เป็นจานวนมากและหลากหลาย
  • 14. จุดอ่อน 1. ขาดการบูรณากา รและความต่อเนื่องของนโยบายการพัฒนาตลอดจนกลไกการขับเคลื่อนและประสานงานของหน่วยงาน ที่เกียวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ระบบข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลทางสถิติและการจาแนกประเภทของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ยังไม่มีความชดเจน 3. ปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญายังเป็นปัญหาสาคัญโดยเฉพาะการบังคับใช้กฎหมายให้เด็ดขาดและมีประสิทธิภาพ 4. การผลิตในลักษณะลอกเลียนแบบหรือผลิตตามคาสั่งซื้อในลักษณะที่เป็น Passive มากกว่า Activeของผู้ประกอบการไทย โดยไม่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ยังเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการปลูกฝัง และพัฒนาในระยะยาว 5. การสนับสนุนทางการเงินของสถาบันการเงินไทยในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ยังคงอยู่ในวงจากัด ทั้งในเรื่องการผลิต และ การวิจัยพัฒนา 6. การถ่ายทอดภูมิปัญญา และความรู้เป็นกระบวนการที่ต้องใช้ระยะเวลา ซึ่งประเทศไทยเองยังไม่มีแนวทางการถ่ายทอด และจัดเก็บอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 7. โครงสร้างพื้นฐาน และศูนย์รวมอุตสาหกรรมแต่ละกลุ่มยังอยู่ในระดับที่ต้องการการพัฒนาอีกมาก 8. ระบบมาตรฐานต่างๆ ทั้งเรื่องการบริการ การผลิต สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม ยังต้องได้รับการพัฒนาและปรับปรุงอีกมาก
  • 15. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 33-34) ได้นาเสนอ ไว้ดังนี้ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 ไมไดกาหนดยุทธศาสตรที่กลาวถึงเศรษฐกิจสรางสรรคโดยตรง แตไดกลาวถึงนโยบายที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจสรางสรรคในยุทธศาสตรการปรับโครงสรางทาง เศรษฐกิจใหสมดุลและยื่งยืน ซึ่งประกอบไปดวย 3 แนวทางหลัก ไดแก 1) การปรับโครงสรางเศรษฐกิจที่ใหความสาคัญกับภาคเศรษฐกิจที่แทจริง 2) การเสริมสรางความเทาเทียมและเปนธรรมในระบบเศรษฐกิจ 3) การเสริมสรางภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ โดยใหความสาคัญกับการศึกษาการเพิ่มผลิต ภาพการผลิต และการนาภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่นไปสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑเชิง สรางสรรคในกลุ่มต่างๆ
  • 16. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 33-34) ได้นาเสนอ ไว้ดังนี้ • นโยบายของรัฐบาลของคณะรัฐมนตรีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีนโยบายการ พัฒนาอุตสาหกรรมสรางสรรคของรัฐบาล ไดเริ่มปรากฏใหเห็นเดนชัดมาตั้งแตป 2545 โดยมี การจัดการตั้งองคกรอิสระที่ทาหนาที่พัฒนาองคความรูและดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ เศรษฐกิจสรางสรรคหลายองคกร เชน สานักงานบริหารและจัดการองคความรูศูนยสรางสรรค งานออกแบบองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติสานักงานพัฒนาการทองเที่ยว และ สานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติเพื่อเปนรากฐานสาหรับการพัฒนา อุตสาหกรรมสรางสรรคของแตละกลุมในระยะยาว อยางไรก็ตามนโยบายและการดาเนินงาน ขององค์กรเหล่านี้ ในระยะที่ผ่านมายังขาดความต่อเนื่องและการบรณาการ
  • 17. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 46-47) ได้นาเสนอ • สหราชอาณาจักร ถือเปนประเทศตนแบบในการนาแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค มาใชในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีการจัดการการกาหนดขอบเขต การจัดเก็บข อมูล และจาแนกกลุมของเศรษฐกิจสรางสรรคอย่างชัดเจนซึ่งในปัจจุบันเศรษฐกิจสร้างสรรค์มี ความสาคัญตอระบบเศรษฐกิจของประเทศสหราชอาณาจักรเปนอยางมาก ทั้งทางดานมูลคา ทางเศรษฐกิจและการจ้างงานของประเทศ • ออสเตรเลียจัดเป็นประเทศที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากการนา ต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จากประเทศสหราชอาณาจักรมาประยุกตใชใหสอดคลองกับ ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเปนประเทศที่นาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติความสม บูรณดานอาหาร และแหลงทองเที่ยวมาประยุกต์ใช้กับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศให้ก าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว
  • 18. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2552: 46-47) ได้ นาเสนอ • ฮ่องกง มีเศรษฐกิจสรางสรรคที่พัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกิจที่เนนภาคการ บริการเป็นหลัก (Service-oriented Economy) ซึ่งถือเปนระบบเศรษฐกิจ สาคัญของฮองกงที่มีสัดสวนถึงร้อยละ 90 ของประเทศ โดยการพัฒนาเศรษฐกิจ สรางสรรคของฮองกงไดใหความสาคัญของการสร้างอัตลักษณใหกับสินคาและ บริการบนพื้นฐานของคุณคาเชิงสัญลักษณทางสุนทรียศาสตรและวัฒนธรรม ซึ่งน าจะเปนตนแบบในการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคในประเทศไทยที่มีความ หลากหลายและโดดเด่นทางวัฒนธรรมที่เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี