SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
การดูแลผู้ป่วยโรคเกาต์ (Gouty Arthritis)
นิยาม กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติที่เกิดจากการสะสมของผลึกยูเรต (monosodium
urate, MSU) ตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย และมีการอักเสบเกิดขึ้น หากมีการ
ตกตะกอนในเนื้อเยื่อต่างๆ และใต้ผิวหนัง จะเกิดเป็นก้อนตะปุ่มตะป่าตามตาแหน่ง
ต่างๆ เรียกว่า โทฟัส (tophus)
Preliminary Criteria for Gout: การตรวจพบผลึกยูเรตจากน้าไขข้อหรือปุ่มโทฟัส Monosodium urate
crystals in synovial fluid, Tophi confirmed with crystal examination, At least 6 of the following
findings – พบลักษณะข้อบวมชนิดไม่สมมาตรทางภาพรังสี (Asymmetric swelling within a joint on a
radiograph), มีอาการปวดและบวมของข้อโคนหัวแม่เท้า (First metatarsophalangeal joint is tender or
swollen (i.e., podagra)), ระดับกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperuricemia), อาการปวดข้อถึงจุดสูงสุดภายใน 1
วัน (Maximal inflammation developed within one day), ข้ออักเสบเป็นชนิดข้อเดียว (Monoarthritis
attack), ข้ออักเสบเฉียบพลันมากกว่า 1 ครั้ง (More than one acute arthritis attack), ข้ออักเสบมีลักษณะ
บวมแดง (Redness observed over joints), พบลักษณะถุงน้าใต้เปลือกกระดูกทางภาพรังสี (Subcortical
cysts without erosions on a radiograph), มีปุ่มใต้ผิวหนัง (Suspected tophi), ตรวจไม่พบเชื้อโรคจากน้า
ไขข้อที่ได้ในขณะที่มีข้ออักเสบ (Synovial fluid culture negative for organisms during an acute attack),
การอักเสบของข้อโคนหัวแม่เท้าเป็นข้างเดียว (Unilateral first metatarsophalangeal joint attack), ข้อกลาง
เท้าอักเสบเป็นข้างเดียว (Unilateral tarsal joint attack)
พยาธิกาเนิด Purine ในร่างกายได้มาจาก 2 แหล่งคืออาหาร และสร้างใหม่ในร่างกาย (de novo synthesis)
กรดยูริกเป็น end product ของ purine metabolism ที่สร้างมาจากตับ ประมาณ 2 ใน 3 ของกรดยูริกถูกขับ
ทางไต ส่วนที่เหลือถูกทาลายโดยแบคทีเรียในลาไส้ โดยผ่านกระบวนการ “intestinal uricolysis”
ร้อยละ 80-85 ของพยาธิกาเนิดของภาวะกรดยูริกสูงและเกาต์ที่ไม่ทราบสาเหตุ (primary gout) นั้นเกิดจาก
ความบกพร่องในการขับกรดยูริกทางไตในท่อไตส่วนต้น (proximal tubule) ส่วนน้อยนั้นเกิดจากการสร้างกรด
ยูริกในร่างกายเพิ่มมากขึ้น ส่วน secondary gout นั้นเกิดจาก 2 ภาวะได้แก่ 1. ภาวะที่ทาให้มีการสร้างกรด
ยูริกเพิ่มขึ้น ได้แก่ แอลกอฮอล์ ภาวะหรือโรคที่มีการสร้างและทาลายเซลล์ในร่างกายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น
ธาลัสซีเมีย (thalassemia), hemolytic anemia, สะเก็ดเงิน (psoriasis), myeloproliferative disorders และ
ยาบางชนิด เช่น warfarin, cytotoxic drugs และ vitamin B12 เป็นต้น 2. ภาวะที่ทาให้มีการขับกรดยูริกทาง
ไตลดลง ได้แก่ ไตวาย, polycystic kidney disease, พิษจากตะกั่ว (lead toxicity), แอลกอฮอล์และยาบาง
ชนิด เช่น cyclosporine, ethambutol, pyrazinamide, diuretics, laxatives, aspirin ขนาดต่ากว่า 2 กรัม/วัน
, levodopa, angiotensin, vasopressin, nitroglycerin, และ nicotinic acid
ประวัติ
1. ได้ประวัติข้ออักเสบเฉียบพลัน เป็นๆ หายๆ มีอาการข้ออักเสบเป็นรุนแรงสูงสุดภายใน 24-48 ชั่วโมง
แรก เมื่อข้อหายอักเสบอาการจะเป็นปกติ การอักเสบของข้อมักเป็นชนิดข้อเดียว (monoarticular
arthritis) หรือ ชนิด 2-3 ข้อ (oligoarticular arthritis) ข้อที่อักเสบมักเป็นกับข้อส่วนล่างของร่างกาย
เช่น ข้อโคนนิ้วหัวแม่เท้า ข้อเท้า ข้อเข่า เป็นต้น
2. โรคเกาต์พบได้บ่อยในเพศชายมากกว่าเพศหญิง (9:1) ในเพศชายจะพบในช่วงอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
ในเพศหญิงมักพบในวัยหมดประจาเดือน (menopause) [Estrogen ทาหน้าที่ขับกรดยูริกออกทางไต]
3. ควรซักประวัติปัจจัยที่กระตุ้นการอักเสบของข้อ เช่น การดื่มสุรา การผ่าตัด การเจ็บป่วยทางอายุรกรรม
การได้ยาบางชนิด เช่น แอสไพรินขนาดต่า ยาขับปัสสาวะ
4. ควรซักประวัติโรคร่วมที่พบได้บ่อย ได้แก่ โรคไต โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
ภาวะอ้วน
5. ประวัติภาวะแทรกซ้อนจากกรดยูริกในเลือดสูง เช่น ประวัตินิ่วในทางเดินปัสสาวะ
Differential Diagnosis of Acute Gout
Synovial fluid findings
Diagnosis Joint distribution WBC count/
mm3*
Gram stain/
culture
Synovial fluid
crystals**
Radiography
findings
Gout Lower extremities:
metatarsophalangeal,
midtarsal, or knee joints;
initial attacks may be less
common in upper
extremities
2000-50000 (2x109
to 50x109 per L)
Negative Needle shaped,
negative
birefringence
Acute: asymmetric
swelling
Chronic:
periarticular
erosions with
overhanging edges
Pseudogout
(calcium
pyrophosphate
deposition
disease)
Knee, wrist, or first
metatarsophalangeal
2000-50000 Negative Rhomboid shaped,
weak positive
birefringence
Soft tissue swelling,
chondrocalcinosis
(calcification of
cartilage)
Septic arthritis Knee is most commonly
involved (may be any joint
distribution)
>50000 Positive No crystals Joint effusion;
radiography results
otherwise normal
early in the disease
* - The synovial fluid WBC count should not be used alone to exclude infection. ** - Septic arthritis may coexist with crystalline arthritis
จุดมุ่งหมายของการรักษา
1. เพื่อกาจัดภาวะข้ออักเสบเฉียบพลัน
2. เพื่อป้องกันข้ออักเสบเป็นซ้า
3. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากกรดยูริกสะสมตามอวัยวะต่างๆ เช่นไต ข้อและผิวหนัง
4. เพื่อป้องกันและรักษาภาวะหรือโรคที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไขมันสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และน้าหนัก
เกิน
การรักษาข้ออักเสบเกาต์ชนิดเฉียบพลัน
1. การรักษาทั่วไป การรักษาข้ออักเสบเกาต์ชนิดเฉียบพลันที่ไม่ใช้ยา ประกอบด้วย
a. การพักข้อที่อักเสบนั้นจะช่วยให้อาการดีขึ้น (ไม่ควรพักการใช้งานเกิน 2-3 วัน)
b. การใช้น้าแข็งประคบข้อที่อักเสบอาจจะช่วยลดการอักเสบของข้อในโรคเกาต์ ถ้าผู้ป่วยได้รับส
เตียรอยด์ชนิดรับประทานร่วมกับ colchicine โดยกลุ่มที่ได้น้าแข็งประคบข้อมีอาการปวดข้อ
ลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
c. ส่วนการป้องกันไม่ให้เกิดข้ออักเสบเกาต์ขึ้นมาใหม่ หรือในผู้ที่มีระดับกรดยูริกในเลือดสูงโดยยัง
ไม่เคยเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์เลยนั้น การหลีกเลี่ยงภาวะที่จะกระตุ้นให้เกิดการอักเสบของข้อ
จากโรคเกาต์ ได้แก่ การงดดื่มสุรา การลดน้าหนักในผู้ป่วยที่อ้วน และการหลีกเลี่ยงการใช้ยา
ขับปัสสาวะ จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์
d. การปรับสัดส่วนของอาหาร โดยลดจานวนแคลอรี่ลง เพิ่มสัดส่วนของโปรตีน และใช้ไขมันชนิด
ไม่อิ่มตัวแทนไขมันชนิดอิ่มตัว จะช่วยลดระดับกรดยูริกในเลือด และลดอัตราการกาเริบของข้อ
อักเสบเกาต์ได้ สาหรับอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลต่อการเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์พบว่า การกิน
เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยเฉพาะเบียร์กับสุรา จะเพิ่ม
ความเสี่ยงของโรคข้ออักเสบเกาต์ ผลิตภัณฑ์จากนมที่มีไขมันต่า เช่น นมไขมันต่า โยเกิร์ต
ไขมันต่า และวิตะมินซี จะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์
2. การรักษาเฉพาะ ขณะที่มีข้ออักเสบให้พิจารณาเลือกการใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้
a. ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (non steroidal anti-inflammatory drugs, NSAIDs)
พิจารณาให้เป็นยาตัวแรกถ้าไม่มีข้อห้ามใช้
คุณภาพของ
หลักฐาน
ยา ขนาดยา
ค่าครึ่งชีวิต
(ชม.)
รายละเอียด
เพิ่มเติม
A Etoricoxib (Arcoxia) 120 mg/day 22 ระยะเวลาที่ให้ยา
นานประมาณ 3-7
วัน หรือจนกว่า
อาการทุเลา
B
Indomethacin (Indocin) 75-150 mg/day 1.5-2
Ketoprofen 200-300 mg/day 2
Etodolac 300-600 mg/day N/A
Celecoxib (Celebrex) 400 mg/day 10
C
Naproxen (Naprosyn) 500-1000
mg/day
12-15
Piroxicam 20-40 mg/day 24-36
Sulindac (Clinoril) 400 mg/day 18
D
Ibuprofen (Nurofen
,Gofen)
1200-2400
mg/day
1-3
Diclofenac (Voltaren) 75-150 mg/day 1-2
การให้ยา NSAIDs ควรให้ยาขนาดสูง (loading dose) ในวันแรก
ไม่ควรใช้ยาแอสไพริน (aspirin) เนื่องจากยาทาให้มีการเปลี่ยนแปลงระดับกรดยูริก
ส่วนยา NSAIDs ชนิดที่ยับยั้งเอนไซม์ cyclooxygenase-2 (COX-2 inhibitors หรือ coxibs)
ต้องระมัดระวังเพราะเพิ่มความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ
ขาดเลือดเฉียบพลัน
b. ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroid) พิจารณาเมื่อมีข้อห้ามในการให้ยา NSAIDs เช่น
หัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง ไตเสื่อมหน้าที่ หรือแผลในกระเพาะอาหาร
i. ถ้ามีข้ออักเสบหลายข้อ พิจารณาให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดรับประทาน โดยให้เพรดนิ
โซโลนขนาด 20-50 มก./วัน และลดขนาดลงช้าๆ จนหยุดยาภายใน 1-3 สัปดาห์ หรือ
ให้ยา colchicine ขนาด 0.6-1.2 มก./วัน รับประทานร่วมไปด้วย เพื่อป้องกันการกาเริบ
ของข้ออักเสบ เมื่อหยุดยาเพรดนิโซโลนอย่างกระทันหัน
ii. ถ้ามีการอักเสบเพียง 1-2 ข้อ พิจารณาใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดฉีดเข้าข้อ
c. ยา colchicine (ก - tab) แนะนาให้ใช้ในกรณีที่สงสัยว่าข้ออักเสบเกิดจากโรคเกาต์ มีข้อห้าม
ในการใช้ยา NSAIDs และคอร์ติโคสเตียรอยด์ โดยให้ colchicine 0.6 มก. รับประทานทุก 4-6
ชั่วโมงในวันแรก และลดลงเหลือวันละ 2-3 เม็ดในวันต่อมา ระยะเวลาในการให้ยานาน
ประมาณ 3-7 วัน หรือจนกว่าอาการทุเลา
i. Suggested renal dosing (base on creatinine clearance):
>50 mL/min (0.83 mL/sec) 0.6 mg twice daily
35-50 mL/min (0.58-0.83 mL/sec) 0.6 mg daily
10-34 mL/min (0.17-0.57 mL/sec) 0.6 mg every 2 or 3 days
<10 mL/min (0.17 mL/sec) avoid
ยา กลไก ข้อสังเกต
NSAIDs ลดการอักเสบ ผลข้างเคียง กระเพาะอักเสบ (Gastritis)
Corticosteroids ลดการอักเสบ พิจารณาเมื่อผู้ป่วยไม่ตอบสนอง ไม่
สามารถทนผลข้างเคียงของยา แพ้ยา หรือ
มีข้อห้ามในการใช้ยามาตรฐาน คือ
colchicine และ NSAIDs
Colchicine (ก) ยับยั้งการเกิดพอลิเมอร์ (polymerization)
ของ microtubules ทาให้ป้องกันการเกิด
การเคลื่อนเหตุสารเคมี (chemotaxis) และ
การกลืนกินของเซลล์ (phagocytosis)
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
ขนาดสูง: กดไขกระดูก (bone marrow
suppression), โรคกล้ามเนื้อ
(myopathy), โรคเส้นประสาท
(neuropathy)
ระยะยาว: reversible axonal
neuromyopathy*
* ผู้ป่วยมีอาการแขนขาส่วนต้นอ่อนแรง (proximal muscle weakness) โดยอาจจะมีหรือไม่มีอาการชาหรือปวดบริเวณปลายประสาทร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ (painful
paresthesia)
การป้องกันการกลับเป็นซ้า
1. ในรายที่มีข้ออักเสบกลับเป็นซ้า พิจารณาให้ยา colchicine 0.3-1.2 มก./วัน รับประทานทุกวัน
2. ไม่มีการให้ยา colchicine เพียงอย่างเดียว เพื่อป้องกันโรคข้ออักเสบเกาต์กลับเป็นซ้า จะต้องให้ยาลด
กรดยูริกร่วมด้วยเสมอ
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากกรดยูริกสะสมตามอวัยวะต่างๆ คือการลดระดับยูริกในซีรัมให้
อยู่ในระดับที่กรดยูริกสามารถละลายในซีรัมได้ที่อุณหภูมิร่างกายคือ 6.8 มก./ดล. ซึ่งสามารถทาได้โดยการ
1. ลดน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
2. กาจัดปัจจัยภายนอกที่ทาให้กรดยูริกในเลือดสูง ได้แก่ งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ งดยาที่ทาให้กรดยูริกสูง
เช่น ยาขับปัสสาวะ, cyclosporine
3. ใช้ยาลดกรดยูริก (antihyperuricemia therapy: uricosuric agents, xanthine oxidase inhibitors)
การให้ยาลดกรดยูริก การให้ยาลดกรดยูริกเพื่อละลายผลึกยูเรตที่สะสมตามเนื้อเยื่อของร่างกาย และป้องกัน
การกาเริบของข้ออักเสบเกาต์ โดยพิจารณาให้ในกรณีต่อไปนี้
1. มีข้ออักเสบกาเริบตั้งแต่ 2 ครั้ง/ปี ขึ้นไป
2. มีปุ่มโทฟัส
3. มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
4. ระดับกรดยูริกในเลือดเท่ากับ หรือมากกว่า 9.0 มก./ดล.
5. มีการขับกรดยูริกออกทางไตเท่ากับหรือมากกว่า 800 มก./วัน
การให้ยาลดกรดยูริกควรเริ่มยาภายหลังที่ข้ออักเสบหายสนิทแล้วเท่านั้น ในรายที่เคยได้ยาลดกรดยูริกอยู่และ
มีการอักเสบของข้อ ให้การรักษาการอักเสบของข้อตามแนวทางการรักษาข้อ 2a-2c ไม่ควรปรับขนาดยาลด
กรดยูริกที่ผู้ป่วยได้รับขณะที่มีข้ออักเสบ เมื่อข้ออักเสบหายดีแล้วจึงพิจารณาปรับขนาดยาลดกรดยูริกต่อไป
การเริ่มให้ยาลดกรดยูริก ควรเริ่มให้ยาในขนาดต่าก่อนแล้วค่อยๆ ปรับขนาดยาทุก 2-4 สัปดาห์ พร้อมกับตรวจ
ระดับกรดยูริกในเลือด ปรับขนาดยาจนได้ระดับกรดยูริกในเลือดต่ากว่า 6 มก./ดล. จะป้องกันการกาเริบของ
โรคข้ออักเสบเกาต์ และในผู้ป่วยที่มีปุ่มก้อนโทฟัส สมควรลดระดับกรดยูริกให้ต่ากว่า 5 มก./ดล. เพื่อทาให้ก้อน
โทฟัสยุบลง
ระยะเวลาของการให้ยา ควรให้ผู้ป่วยรับประทานยาลดกรดยูริกอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้ยาไปจนผู้ป่วย
ไม่มีอาการอักเสบของข้อ หรือให้ปุ่มโทฟัสหายไปหมด เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 4-5 ปี โดยทั่วไปมักจะต้องได้
ต่อเนื่องไปตลอดชีวิต แต่ถ้าผู้ป่วยต้องการหยุดยา ควรจะได้รับยาลดกรดยูริกควบคุมให้ระดับกรดยูริกในเลือด
ต่ากว่า 5 มก./ดล. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี จึงจะหยุดยาได้ แต่ผู้ป่วยจะมีโอกาสเกิดข้ออักเสบ
เกาต์กลับมาใหม่ได้ ภายในระยะเวลาเฉลี่ย 2-4 ปี หลังหยุดยา
ในรายที่มีประวัตินิ่วในทางเดินปัสสาวะ หรือมีการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะมากกว่า 800 มก./วัน ต้อง
พิจารณาให้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริกไปตลอด
แนวทางการใช้ยาเร่งการขับกรดยูริก (uricosuric agents: benzbromarone, probenecid,
sulfinpyrazone)
1. อายุน้อยกว่า 60 ปี
2. หน้าที่การทางานของไตปกติ (การใช้ยา probenecid, sulfinpyrazone ควรมีค่า creatinine
clearance มากกว่า 60 มล./นาที ส่วนการใช้ยา benzbromarone อาจใช้ได้ในผู้ป่วยที่มีหน้าที่ไต
บกพร่องปานกลาง คือค่า CCr มากกว่า 30 มล./นาที)
3. มีการขับกรดยูริกออกทางไตน้อยกว่า 800 มก./วัน ขณะที่กินอาหารปกติ
4. ไม่มีประวัติ หรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
5. ไม่ได้รับยาที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยาขับกรดยูริก เช่น แอสไพริน ยาขับปัสสาวะ
ยาที่ช่วยขับกรดยูริกทางไต ออกฤทธิ์โดยการเพิ่มการขับถ่ายกรดยูริกทางไต ยับยั้งการดูดกลับของกรดยูริกที่
ท่อไตส่วนต้น
Probenecid (ก – film coated tab) เป็นกรดอ่อน ยับยั้งการดูดซึมกลับของกรดยูริกแบบแข่งขันที่ nephron
ส่วน proximal convoluted tubule
Sulfinpyrazone ยับยั้งการดูดซึมกลับของกรดยูริกที่ proximal convoluted tubule
ข้อควรระวัง ผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับยาในกลุ่มนี้ สมควรได้รับคาแนะนาให้ดื่มน้า 1.5-2 ลิตรต่อวัน เพื่อเพิ่ม
ปริมาณปัสสาวะ และลดอุบัติการณ์การเกิดนิ่วจากกรดยูริกในไต
แนวทางการใช้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก (xanthine oxidase inhibitor หรือ allopurinol,
febuxostat)
1. มีปุ่มโทฟัส
2. มีการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะมากกว่า 800 มก./วัน
3. มีประวัติ หรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
4. ใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไตไม่ได้ผล
Allopurinol (ก - tab) ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการทางานแบบแข่งขันของเอนไซม์ xanthine oxidase ซึ่งทา
หน้าที่ในการเปลี่ยน hypoxanthine เป็น xanthine และ xanthine เป็น uric acid และ allopurinol ยังเพิ่มการ
นา hypoxanthine และ xanthine กลับไปใช้ในการสังเคราะห์ nucleic acid อีกครั้งโดยกระตุ้น
hypoxanthine-guanine phosphoribosyltransferase (HGPRT) ทาให้เกิด feedback inhibition ยับยั้ง de
novo purine synthesis
ข้อควรระวัง ควรลดขนาดยา allopurinol เมื่อมีการทางานของไตผิดปรกติ เนื่องจากยาจะคั่งในร่างกายและ
เกิดผลข้างเคียงสูงในบางราย หากลดขนาดต้องให้สามารถคุมระดับกรดยูริกที่เหมาะสมได้
ตัวยาสาคัญ ชื่อการค้า ขนาดยาที่ใช้
ประเภทของยา /
US FDA Preg
Cat
allopurinol (ก) xandase,
zyloric
100-300 มก./วัน ให้วันละ 1 ครั้ง (สูงสุด 900
มก.)
ยาอันตราย / C
ผลข้างเคียง: ผื่นแพ้ยา (เช่น maculopapular, pruritic, purpuric, Stevens-Johnson syndrome,
toxic epidermal necrolysis) fixed drug eruption, บางรายอาจมีอาการรุนแรง คือเป็น allopurinol
hypersensitivity syndrome คือผู้ป่วยจะมีไข้สูง (drug fever) ผื่น ตับและไตอักเสบ
คาเตือนและข้อควรระวัง: ควรเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดร้ายแรงจากยา เช่น
Steven-Johnson syndrome (SJS), toxic epidermal necrolysis (TEN) และ drug rash with
eosinophilia and systemic symptoms (DRESS) เนื่องจากมีรายงานการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
ดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงขึ้นได้แก่ ผู้ที่เริ่มใช้ยา (ในช่วง 4 สัปดาห์แรก) ผู้ที่มีภาวะไต
เสื่อม ผู้ที่ใช้ allopurinol ในขนาดสูง และผู้ที่ใช้ยาขับปัสสาวะในกลุ่ม thiazide ร่วมด้วย
คาแนะนาเพิ่มเติม: ขณะที่รับประทานยานี้อยู่ ควรดื่มน้าวันละ 2-3 ลิตร เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดการ
สะสมของ xanthine ที่ไต
สตรีให้นมบุตร: สามารถรับประทานยานี้ได้ ขณะให้นมบุตร
febuxostat uloric 40-80 มก./วัน ให้วันละ 1 ครั้ง
80 mg OD if serum uric acid levels greater
than 6 mg/dL after 2 weeks of therapy
- / C
benzbromarone
(ค)
benarone 25-100 มก./วัน ให้วันละ 1 ครั้ง ยาอันตราย
ใช้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากมีรายงานการเกิด cytolytic liver damage ทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิต หรือ
ต้องเปลี่ยนตับ
probenecid (ก) benecid,
benemid
1000-2000 มก./วัน แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง ยาอันตราย / C
sulfinpyrazone sulfin 200-400 มก./วัน แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง ยาอันตราย
ข้อควรระวังระหว่างใช้ยา
1. การให้ยากลุ่ม NSAIDs ควรระวังในผู้ป่วยสูงอายุ (อายุมากกว่า 60 ปี) มีประวัติ หรือมีแผลในกระเพาะ
อาหาร มีการทางานของไตบกพร่อง
2. หลีกเลี่ยงการให้ยากลุ่ม COX-2 inhibitors ในผู้ที่มีความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ที่มีความ
ดันโลหิตสูง หรือไตทางานบกพร่อง
3. หลีกเลี่ยงการใช้ยา probenecid และ benzbromarone ร่วมกับยา penicillin, ampicillin, dapsone,
acetazolamide
4. การใช้ยา 6-mercaptopurine และ azathioprine ร่วมกับยา allopurinol ให้ลดขนาดยา 6-
mercaptopurine และ azathioprine ลงครึ่งหนึ่ง

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (16)

Clinical Practice Guideline Acne 2010
Clinical Practice Guideline Acne  2010Clinical Practice Guideline Acne  2010
Clinical Practice Guideline Acne 2010
 
Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Enzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee PaoEnzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee Pao
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
 
Septic arthritis
Septic arthritisSeptic arthritis
Septic arthritis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Rheumatoid arthritis
Rheumatoid arthritisRheumatoid arthritis
Rheumatoid arthritis
 
Psoriasis-The best Presentation
Psoriasis-The best PresentationPsoriasis-The best Presentation
Psoriasis-The best Presentation
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 

Similar to [Mlp2013 2] gout

การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
Surapol Imi
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
Krongdai Unhasuta
 

Similar to [Mlp2013 2] gout (10)

Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
 
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guidelineการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม Oa knee guideline
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
ระบบผิวหนัง
ระบบผิวหนังระบบผิวหนัง
ระบบผิวหนัง
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
Snake Bite
Snake BiteSnake Bite
Snake Bite
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 

[Mlp2013 2] gout

  • 1. การดูแลผู้ป่วยโรคเกาต์ (Gouty Arthritis) นิยาม กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติที่เกิดจากการสะสมของผลึกยูเรต (monosodium urate, MSU) ตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย และมีการอักเสบเกิดขึ้น หากมีการ ตกตะกอนในเนื้อเยื่อต่างๆ และใต้ผิวหนัง จะเกิดเป็นก้อนตะปุ่มตะป่าตามตาแหน่ง ต่างๆ เรียกว่า โทฟัส (tophus) Preliminary Criteria for Gout: การตรวจพบผลึกยูเรตจากน้าไขข้อหรือปุ่มโทฟัส Monosodium urate crystals in synovial fluid, Tophi confirmed with crystal examination, At least 6 of the following findings – พบลักษณะข้อบวมชนิดไม่สมมาตรทางภาพรังสี (Asymmetric swelling within a joint on a radiograph), มีอาการปวดและบวมของข้อโคนหัวแม่เท้า (First metatarsophalangeal joint is tender or swollen (i.e., podagra)), ระดับกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperuricemia), อาการปวดข้อถึงจุดสูงสุดภายใน 1 วัน (Maximal inflammation developed within one day), ข้ออักเสบเป็นชนิดข้อเดียว (Monoarthritis attack), ข้ออักเสบเฉียบพลันมากกว่า 1 ครั้ง (More than one acute arthritis attack), ข้ออักเสบมีลักษณะ บวมแดง (Redness observed over joints), พบลักษณะถุงน้าใต้เปลือกกระดูกทางภาพรังสี (Subcortical cysts without erosions on a radiograph), มีปุ่มใต้ผิวหนัง (Suspected tophi), ตรวจไม่พบเชื้อโรคจากน้า ไขข้อที่ได้ในขณะที่มีข้ออักเสบ (Synovial fluid culture negative for organisms during an acute attack), การอักเสบของข้อโคนหัวแม่เท้าเป็นข้างเดียว (Unilateral first metatarsophalangeal joint attack), ข้อกลาง เท้าอักเสบเป็นข้างเดียว (Unilateral tarsal joint attack) พยาธิกาเนิด Purine ในร่างกายได้มาจาก 2 แหล่งคืออาหาร และสร้างใหม่ในร่างกาย (de novo synthesis) กรดยูริกเป็น end product ของ purine metabolism ที่สร้างมาจากตับ ประมาณ 2 ใน 3 ของกรดยูริกถูกขับ ทางไต ส่วนที่เหลือถูกทาลายโดยแบคทีเรียในลาไส้ โดยผ่านกระบวนการ “intestinal uricolysis” ร้อยละ 80-85 ของพยาธิกาเนิดของภาวะกรดยูริกสูงและเกาต์ที่ไม่ทราบสาเหตุ (primary gout) นั้นเกิดจาก ความบกพร่องในการขับกรดยูริกทางไตในท่อไตส่วนต้น (proximal tubule) ส่วนน้อยนั้นเกิดจากการสร้างกรด ยูริกในร่างกายเพิ่มมากขึ้น ส่วน secondary gout นั้นเกิดจาก 2 ภาวะได้แก่ 1. ภาวะที่ทาให้มีการสร้างกรด ยูริกเพิ่มขึ้น ได้แก่ แอลกอฮอล์ ภาวะหรือโรคที่มีการสร้างและทาลายเซลล์ในร่างกายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ธาลัสซีเมีย (thalassemia), hemolytic anemia, สะเก็ดเงิน (psoriasis), myeloproliferative disorders และ ยาบางชนิด เช่น warfarin, cytotoxic drugs และ vitamin B12 เป็นต้น 2. ภาวะที่ทาให้มีการขับกรดยูริกทาง ไตลดลง ได้แก่ ไตวาย, polycystic kidney disease, พิษจากตะกั่ว (lead toxicity), แอลกอฮอล์และยาบาง ชนิด เช่น cyclosporine, ethambutol, pyrazinamide, diuretics, laxatives, aspirin ขนาดต่ากว่า 2 กรัม/วัน , levodopa, angiotensin, vasopressin, nitroglycerin, และ nicotinic acid
  • 2. ประวัติ 1. ได้ประวัติข้ออักเสบเฉียบพลัน เป็นๆ หายๆ มีอาการข้ออักเสบเป็นรุนแรงสูงสุดภายใน 24-48 ชั่วโมง แรก เมื่อข้อหายอักเสบอาการจะเป็นปกติ การอักเสบของข้อมักเป็นชนิดข้อเดียว (monoarticular arthritis) หรือ ชนิด 2-3 ข้อ (oligoarticular arthritis) ข้อที่อักเสบมักเป็นกับข้อส่วนล่างของร่างกาย เช่น ข้อโคนนิ้วหัวแม่เท้า ข้อเท้า ข้อเข่า เป็นต้น 2. โรคเกาต์พบได้บ่อยในเพศชายมากกว่าเพศหญิง (9:1) ในเพศชายจะพบในช่วงอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในเพศหญิงมักพบในวัยหมดประจาเดือน (menopause) [Estrogen ทาหน้าที่ขับกรดยูริกออกทางไต] 3. ควรซักประวัติปัจจัยที่กระตุ้นการอักเสบของข้อ เช่น การดื่มสุรา การผ่าตัด การเจ็บป่วยทางอายุรกรรม การได้ยาบางชนิด เช่น แอสไพรินขนาดต่า ยาขับปัสสาวะ 4. ควรซักประวัติโรคร่วมที่พบได้บ่อย ได้แก่ โรคไต โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ภาวะอ้วน 5. ประวัติภาวะแทรกซ้อนจากกรดยูริกในเลือดสูง เช่น ประวัตินิ่วในทางเดินปัสสาวะ Differential Diagnosis of Acute Gout Synovial fluid findings Diagnosis Joint distribution WBC count/ mm3* Gram stain/ culture Synovial fluid crystals** Radiography findings Gout Lower extremities: metatarsophalangeal, midtarsal, or knee joints; initial attacks may be less common in upper extremities 2000-50000 (2x109 to 50x109 per L) Negative Needle shaped, negative birefringence Acute: asymmetric swelling Chronic: periarticular erosions with overhanging edges Pseudogout (calcium pyrophosphate deposition disease) Knee, wrist, or first metatarsophalangeal 2000-50000 Negative Rhomboid shaped, weak positive birefringence Soft tissue swelling, chondrocalcinosis (calcification of cartilage) Septic arthritis Knee is most commonly involved (may be any joint distribution) >50000 Positive No crystals Joint effusion; radiography results otherwise normal early in the disease * - The synovial fluid WBC count should not be used alone to exclude infection. ** - Septic arthritis may coexist with crystalline arthritis จุดมุ่งหมายของการรักษา 1. เพื่อกาจัดภาวะข้ออักเสบเฉียบพลัน 2. เพื่อป้องกันข้ออักเสบเป็นซ้า 3. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากกรดยูริกสะสมตามอวัยวะต่างๆ เช่นไต ข้อและผิวหนัง 4. เพื่อป้องกันและรักษาภาวะหรือโรคที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไขมันสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และน้าหนัก เกิน
  • 3. การรักษาข้ออักเสบเกาต์ชนิดเฉียบพลัน 1. การรักษาทั่วไป การรักษาข้ออักเสบเกาต์ชนิดเฉียบพลันที่ไม่ใช้ยา ประกอบด้วย a. การพักข้อที่อักเสบนั้นจะช่วยให้อาการดีขึ้น (ไม่ควรพักการใช้งานเกิน 2-3 วัน) b. การใช้น้าแข็งประคบข้อที่อักเสบอาจจะช่วยลดการอักเสบของข้อในโรคเกาต์ ถ้าผู้ป่วยได้รับส เตียรอยด์ชนิดรับประทานร่วมกับ colchicine โดยกลุ่มที่ได้น้าแข็งประคบข้อมีอาการปวดข้อ ลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ c. ส่วนการป้องกันไม่ให้เกิดข้ออักเสบเกาต์ขึ้นมาใหม่ หรือในผู้ที่มีระดับกรดยูริกในเลือดสูงโดยยัง ไม่เคยเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์เลยนั้น การหลีกเลี่ยงภาวะที่จะกระตุ้นให้เกิดการอักเสบของข้อ จากโรคเกาต์ ได้แก่ การงดดื่มสุรา การลดน้าหนักในผู้ป่วยที่อ้วน และการหลีกเลี่ยงการใช้ยา ขับปัสสาวะ จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์ d. การปรับสัดส่วนของอาหาร โดยลดจานวนแคลอรี่ลง เพิ่มสัดส่วนของโปรตีน และใช้ไขมันชนิด ไม่อิ่มตัวแทนไขมันชนิดอิ่มตัว จะช่วยลดระดับกรดยูริกในเลือด และลดอัตราการกาเริบของข้อ อักเสบเกาต์ได้ สาหรับอาหารและเครื่องดื่มที่มีผลต่อการเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์พบว่า การกิน เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยเฉพาะเบียร์กับสุรา จะเพิ่ม ความเสี่ยงของโรคข้ออักเสบเกาต์ ผลิตภัณฑ์จากนมที่มีไขมันต่า เช่น นมไขมันต่า โยเกิร์ต ไขมันต่า และวิตะมินซี จะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคข้ออักเสบเกาต์ 2. การรักษาเฉพาะ ขณะที่มีข้ออักเสบให้พิจารณาเลือกการใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อไปนี้ a. ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (non steroidal anti-inflammatory drugs, NSAIDs) พิจารณาให้เป็นยาตัวแรกถ้าไม่มีข้อห้ามใช้ คุณภาพของ หลักฐาน ยา ขนาดยา ค่าครึ่งชีวิต (ชม.) รายละเอียด เพิ่มเติม A Etoricoxib (Arcoxia) 120 mg/day 22 ระยะเวลาที่ให้ยา นานประมาณ 3-7 วัน หรือจนกว่า อาการทุเลา B Indomethacin (Indocin) 75-150 mg/day 1.5-2 Ketoprofen 200-300 mg/day 2 Etodolac 300-600 mg/day N/A Celecoxib (Celebrex) 400 mg/day 10 C Naproxen (Naprosyn) 500-1000 mg/day 12-15 Piroxicam 20-40 mg/day 24-36 Sulindac (Clinoril) 400 mg/day 18 D Ibuprofen (Nurofen ,Gofen) 1200-2400 mg/day 1-3 Diclofenac (Voltaren) 75-150 mg/day 1-2 การให้ยา NSAIDs ควรให้ยาขนาดสูง (loading dose) ในวันแรก ไม่ควรใช้ยาแอสไพริน (aspirin) เนื่องจากยาทาให้มีการเปลี่ยนแปลงระดับกรดยูริก
  • 4. ส่วนยา NSAIDs ชนิดที่ยับยั้งเอนไซม์ cyclooxygenase-2 (COX-2 inhibitors หรือ coxibs) ต้องระมัดระวังเพราะเพิ่มความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดเลือดเฉียบพลัน b. ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroid) พิจารณาเมื่อมีข้อห้ามในการให้ยา NSAIDs เช่น หัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง ไตเสื่อมหน้าที่ หรือแผลในกระเพาะอาหาร i. ถ้ามีข้ออักเสบหลายข้อ พิจารณาให้คอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดรับประทาน โดยให้เพรดนิ โซโลนขนาด 20-50 มก./วัน และลดขนาดลงช้าๆ จนหยุดยาภายใน 1-3 สัปดาห์ หรือ ให้ยา colchicine ขนาด 0.6-1.2 มก./วัน รับประทานร่วมไปด้วย เพื่อป้องกันการกาเริบ ของข้ออักเสบ เมื่อหยุดยาเพรดนิโซโลนอย่างกระทันหัน ii. ถ้ามีการอักเสบเพียง 1-2 ข้อ พิจารณาใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดฉีดเข้าข้อ c. ยา colchicine (ก - tab) แนะนาให้ใช้ในกรณีที่สงสัยว่าข้ออักเสบเกิดจากโรคเกาต์ มีข้อห้าม ในการใช้ยา NSAIDs และคอร์ติโคสเตียรอยด์ โดยให้ colchicine 0.6 มก. รับประทานทุก 4-6 ชั่วโมงในวันแรก และลดลงเหลือวันละ 2-3 เม็ดในวันต่อมา ระยะเวลาในการให้ยานาน ประมาณ 3-7 วัน หรือจนกว่าอาการทุเลา i. Suggested renal dosing (base on creatinine clearance): >50 mL/min (0.83 mL/sec) 0.6 mg twice daily 35-50 mL/min (0.58-0.83 mL/sec) 0.6 mg daily 10-34 mL/min (0.17-0.57 mL/sec) 0.6 mg every 2 or 3 days <10 mL/min (0.17 mL/sec) avoid ยา กลไก ข้อสังเกต NSAIDs ลดการอักเสบ ผลข้างเคียง กระเพาะอักเสบ (Gastritis) Corticosteroids ลดการอักเสบ พิจารณาเมื่อผู้ป่วยไม่ตอบสนอง ไม่ สามารถทนผลข้างเคียงของยา แพ้ยา หรือ มีข้อห้ามในการใช้ยามาตรฐาน คือ colchicine และ NSAIDs Colchicine (ก) ยับยั้งการเกิดพอลิเมอร์ (polymerization) ของ microtubules ทาให้ป้องกันการเกิด การเคลื่อนเหตุสารเคมี (chemotaxis) และ การกลืนกินของเซลล์ (phagocytosis) ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ขนาดสูง: กดไขกระดูก (bone marrow suppression), โรคกล้ามเนื้อ (myopathy), โรคเส้นประสาท (neuropathy) ระยะยาว: reversible axonal neuromyopathy* * ผู้ป่วยมีอาการแขนขาส่วนต้นอ่อนแรง (proximal muscle weakness) โดยอาจจะมีหรือไม่มีอาการชาหรือปวดบริเวณปลายประสาทร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ (painful paresthesia)
  • 5. การป้องกันการกลับเป็นซ้า 1. ในรายที่มีข้ออักเสบกลับเป็นซ้า พิจารณาให้ยา colchicine 0.3-1.2 มก./วัน รับประทานทุกวัน 2. ไม่มีการให้ยา colchicine เพียงอย่างเดียว เพื่อป้องกันโรคข้ออักเสบเกาต์กลับเป็นซ้า จะต้องให้ยาลด กรดยูริกร่วมด้วยเสมอ การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากกรดยูริกสะสมตามอวัยวะต่างๆ คือการลดระดับยูริกในซีรัมให้ อยู่ในระดับที่กรดยูริกสามารถละลายในซีรัมได้ที่อุณหภูมิร่างกายคือ 6.8 มก./ดล. ซึ่งสามารถทาได้โดยการ 1. ลดน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. กาจัดปัจจัยภายนอกที่ทาให้กรดยูริกในเลือดสูง ได้แก่ งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ งดยาที่ทาให้กรดยูริกสูง เช่น ยาขับปัสสาวะ, cyclosporine 3. ใช้ยาลดกรดยูริก (antihyperuricemia therapy: uricosuric agents, xanthine oxidase inhibitors) การให้ยาลดกรดยูริก การให้ยาลดกรดยูริกเพื่อละลายผลึกยูเรตที่สะสมตามเนื้อเยื่อของร่างกาย และป้องกัน การกาเริบของข้ออักเสบเกาต์ โดยพิจารณาให้ในกรณีต่อไปนี้ 1. มีข้ออักเสบกาเริบตั้งแต่ 2 ครั้ง/ปี ขึ้นไป 2. มีปุ่มโทฟัส 3. มีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 4. ระดับกรดยูริกในเลือดเท่ากับ หรือมากกว่า 9.0 มก./ดล. 5. มีการขับกรดยูริกออกทางไตเท่ากับหรือมากกว่า 800 มก./วัน การให้ยาลดกรดยูริกควรเริ่มยาภายหลังที่ข้ออักเสบหายสนิทแล้วเท่านั้น ในรายที่เคยได้ยาลดกรดยูริกอยู่และ มีการอักเสบของข้อ ให้การรักษาการอักเสบของข้อตามแนวทางการรักษาข้อ 2a-2c ไม่ควรปรับขนาดยาลด กรดยูริกที่ผู้ป่วยได้รับขณะที่มีข้ออักเสบ เมื่อข้ออักเสบหายดีแล้วจึงพิจารณาปรับขนาดยาลดกรดยูริกต่อไป การเริ่มให้ยาลดกรดยูริก ควรเริ่มให้ยาในขนาดต่าก่อนแล้วค่อยๆ ปรับขนาดยาทุก 2-4 สัปดาห์ พร้อมกับตรวจ ระดับกรดยูริกในเลือด ปรับขนาดยาจนได้ระดับกรดยูริกในเลือดต่ากว่า 6 มก./ดล. จะป้องกันการกาเริบของ โรคข้ออักเสบเกาต์ และในผู้ป่วยที่มีปุ่มก้อนโทฟัส สมควรลดระดับกรดยูริกให้ต่ากว่า 5 มก./ดล. เพื่อทาให้ก้อน โทฟัสยุบลง
  • 6. ระยะเวลาของการให้ยา ควรให้ผู้ป่วยรับประทานยาลดกรดยูริกอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาให้ยาไปจนผู้ป่วย ไม่มีอาการอักเสบของข้อ หรือให้ปุ่มโทฟัสหายไปหมด เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 4-5 ปี โดยทั่วไปมักจะต้องได้ ต่อเนื่องไปตลอดชีวิต แต่ถ้าผู้ป่วยต้องการหยุดยา ควรจะได้รับยาลดกรดยูริกควบคุมให้ระดับกรดยูริกในเลือด ต่ากว่า 5 มก./ดล. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี จึงจะหยุดยาได้ แต่ผู้ป่วยจะมีโอกาสเกิดข้ออักเสบ เกาต์กลับมาใหม่ได้ ภายในระยะเวลาเฉลี่ย 2-4 ปี หลังหยุดยา ในรายที่มีประวัตินิ่วในทางเดินปัสสาวะ หรือมีการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะมากกว่า 800 มก./วัน ต้อง พิจารณาให้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริกไปตลอด แนวทางการใช้ยาเร่งการขับกรดยูริก (uricosuric agents: benzbromarone, probenecid, sulfinpyrazone) 1. อายุน้อยกว่า 60 ปี 2. หน้าที่การทางานของไตปกติ (การใช้ยา probenecid, sulfinpyrazone ควรมีค่า creatinine clearance มากกว่า 60 มล./นาที ส่วนการใช้ยา benzbromarone อาจใช้ได้ในผู้ป่วยที่มีหน้าที่ไต บกพร่องปานกลาง คือค่า CCr มากกว่า 30 มล./นาที) 3. มีการขับกรดยูริกออกทางไตน้อยกว่า 800 มก./วัน ขณะที่กินอาหารปกติ 4. ไม่มีประวัติ หรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 5. ไม่ได้รับยาที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยาขับกรดยูริก เช่น แอสไพริน ยาขับปัสสาวะ ยาที่ช่วยขับกรดยูริกทางไต ออกฤทธิ์โดยการเพิ่มการขับถ่ายกรดยูริกทางไต ยับยั้งการดูดกลับของกรดยูริกที่ ท่อไตส่วนต้น Probenecid (ก – film coated tab) เป็นกรดอ่อน ยับยั้งการดูดซึมกลับของกรดยูริกแบบแข่งขันที่ nephron ส่วน proximal convoluted tubule Sulfinpyrazone ยับยั้งการดูดซึมกลับของกรดยูริกที่ proximal convoluted tubule ข้อควรระวัง ผู้ป่วยทุกรายที่ได้รับยาในกลุ่มนี้ สมควรได้รับคาแนะนาให้ดื่มน้า 1.5-2 ลิตรต่อวัน เพื่อเพิ่ม ปริมาณปัสสาวะ และลดอุบัติการณ์การเกิดนิ่วจากกรดยูริกในไต แนวทางการใช้ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก (xanthine oxidase inhibitor หรือ allopurinol, febuxostat) 1. มีปุ่มโทฟัส 2. มีการขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะมากกว่า 800 มก./วัน 3. มีประวัติ หรือตรวจพบนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 4. ใช้ยาเร่งการขับกรดยูริกออกทางไตไม่ได้ผล Allopurinol (ก - tab) ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการทางานแบบแข่งขันของเอนไซม์ xanthine oxidase ซึ่งทา หน้าที่ในการเปลี่ยน hypoxanthine เป็น xanthine และ xanthine เป็น uric acid และ allopurinol ยังเพิ่มการ นา hypoxanthine และ xanthine กลับไปใช้ในการสังเคราะห์ nucleic acid อีกครั้งโดยกระตุ้น
  • 7. hypoxanthine-guanine phosphoribosyltransferase (HGPRT) ทาให้เกิด feedback inhibition ยับยั้ง de novo purine synthesis ข้อควรระวัง ควรลดขนาดยา allopurinol เมื่อมีการทางานของไตผิดปรกติ เนื่องจากยาจะคั่งในร่างกายและ เกิดผลข้างเคียงสูงในบางราย หากลดขนาดต้องให้สามารถคุมระดับกรดยูริกที่เหมาะสมได้ ตัวยาสาคัญ ชื่อการค้า ขนาดยาที่ใช้ ประเภทของยา / US FDA Preg Cat allopurinol (ก) xandase, zyloric 100-300 มก./วัน ให้วันละ 1 ครั้ง (สูงสุด 900 มก.) ยาอันตราย / C ผลข้างเคียง: ผื่นแพ้ยา (เช่น maculopapular, pruritic, purpuric, Stevens-Johnson syndrome, toxic epidermal necrolysis) fixed drug eruption, บางรายอาจมีอาการรุนแรง คือเป็น allopurinol hypersensitivity syndrome คือผู้ป่วยจะมีไข้สูง (drug fever) ผื่น ตับและไตอักเสบ คาเตือนและข้อควรระวัง: ควรเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดร้ายแรงจากยา เช่น Steven-Johnson syndrome (SJS), toxic epidermal necrolysis (TEN) และ drug rash with eosinophilia and systemic symptoms (DRESS) เนื่องจากมีรายงานการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงขึ้นได้แก่ ผู้ที่เริ่มใช้ยา (ในช่วง 4 สัปดาห์แรก) ผู้ที่มีภาวะไต เสื่อม ผู้ที่ใช้ allopurinol ในขนาดสูง และผู้ที่ใช้ยาขับปัสสาวะในกลุ่ม thiazide ร่วมด้วย คาแนะนาเพิ่มเติม: ขณะที่รับประทานยานี้อยู่ ควรดื่มน้าวันละ 2-3 ลิตร เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดการ สะสมของ xanthine ที่ไต สตรีให้นมบุตร: สามารถรับประทานยานี้ได้ ขณะให้นมบุตร febuxostat uloric 40-80 มก./วัน ให้วันละ 1 ครั้ง 80 mg OD if serum uric acid levels greater than 6 mg/dL after 2 weeks of therapy - / C benzbromarone (ค) benarone 25-100 มก./วัน ให้วันละ 1 ครั้ง ยาอันตราย ใช้ด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากมีรายงานการเกิด cytolytic liver damage ทาให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิต หรือ ต้องเปลี่ยนตับ probenecid (ก) benecid, benemid 1000-2000 มก./วัน แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง ยาอันตราย / C sulfinpyrazone sulfin 200-400 มก./วัน แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง ยาอันตราย ข้อควรระวังระหว่างใช้ยา 1. การให้ยากลุ่ม NSAIDs ควรระวังในผู้ป่วยสูงอายุ (อายุมากกว่า 60 ปี) มีประวัติ หรือมีแผลในกระเพาะ อาหาร มีการทางานของไตบกพร่อง 2. หลีกเลี่ยงการให้ยากลุ่ม COX-2 inhibitors ในผู้ที่มีความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ที่มีความ ดันโลหิตสูง หรือไตทางานบกพร่อง
  • 8. 3. หลีกเลี่ยงการใช้ยา probenecid และ benzbromarone ร่วมกับยา penicillin, ampicillin, dapsone, acetazolamide 4. การใช้ยา 6-mercaptopurine และ azathioprine ร่วมกับยา allopurinol ให้ลดขนาดยา 6- mercaptopurine และ azathioprine ลงครึ่งหนึ่ง