SlideShare a Scribd company logo
1 of 149
Download to read offline
SERVICE PLAN สาขาไต
ด้านการบำบัดทดแทนไต (DIALYSIS)
นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
31 สิงหาคม 2561
4
		Figure	13.1	Geographic	varia2ons	in	the	incidence	rate	of	treated	ESRD	(per	million	
popula2on/year),	by	country,	2014	
2016	Annual	Data	Report,	Vol	2,	ESRD,	Ch	13	
	
2	
Data	Source:	Special	analyses,	USRDS	ESRD	Database.	Data	presented	only	for	countries	from	which	relevant	informa>on	was	available.	All	rates	are	
unadjusted.	^United	Kingdom:	England,	Wales,	Northern	Ireland	(Scotland	data	reported	separately).	Data	for	Italy	include	6	regions.	Data	for	
Indonesia	represent	the	West	Java	region.	Data	for	France	include	22	regions.	Data	for	Spain	include	18	of	19	regions.	Data	for	Canada	excludes	
Quebec.	Japan	includes	dialysis	pa>ents	only.	Abbrevia>ons:	ESRD,	end-stage	renal	disease	.	
:	Special	analyses,	USRDS	ESRD	Database.	Data	presented	only	for	countries	from	which	relevant	informa>on	was	availabl
	^United	Kingdom:	England,	Wales,	Northern	Ireland	(Scotland	data	reported	separately).	Data	for	Italy	include	6	regions.	D
INCIDENCE RATE OF TREATED ESRD
5
		Figure	13.2	Incidence	rate	of	treated	ESRD	(per	
million	popula<on/year),	by	country,	2014		
2016	Annual	Data	Report,	Vol	2,	ESRD,	Ch	13	 3	
Data	Source:	Special	analyses,	USRDS	ESRD	Database.	Data	presented	
only	for	countries	from	which	relevant	informa>on	was	available.	All	
rates	are	unadjusted.	^United	Kingdom:	England,	Wales,	Northern	
Ireland	(Scotland	data	reported	separately).	Data	for	Italy	include	6	
regions.	Data	for	Indonesia	represent	the	West	Java	region.	Data	for	
France	include	22	regions.	Data	for	Spain	include	18	of	19	regions.	Data	
for	Canada	excludes	Quebec.	Japan	includes	dialysis	pa>ents	only.	
Abbrevia>ons:	ESRD,	end-stage	renal	disease;	sp.,	speaking.		
Thailand
อันดับ 4
ของโลก
TRENDS IN ESRD PREVALENT CASE,
BY MODALITY, US POPULATION, 1980-2015
https://www.usrds.org/2017/download/v2_c01_IncPrev_17.pdf
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
YEARLY PREVALENCE TREND
OF RRT IN 1997-2015
สังคมผู้สูงอายุ
https://steemit.com/health/@andyjim/thailand-is-approaching-aged-society
สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์
https://steemit.com/health/@andyjim/thailand-is-approaching-aged-society
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
YEARLY PREVALENCE OF DIALYSIS
BY AGE GROUPS IN 2009-2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
CUMULATIVE PREVALENCE OF DIALYSIS
PATIENTS BY AGE GROUPS IN 2009-2015
YEARLY PREVALENCE OF HEMODIALYSIS
BY REGION IN 1997-2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
YEARLY PREVALENCE OF PERITONEAL DIALYSIS
BY REGION IN 1997-2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
ETIOLOGY OF RRT PREVALENCE
CASES IN 2008-2015
SERVICE PLAN
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
HEMODIALYSIS MACHINE
IN 2009-2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
NUMBER OF HEMODIALYSIS CENTRE
IN 2000 -2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
HEMODIALYSIS CENTRE BY REGION
IN 2008-2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
YEARLY PREVALENCE OF
HEMODIALYSIS BY REGION IN 2009-2015
http://www.nephrothai.org/images/Final_TRT_report_2015_ฉบบแกไข.pdf
SHARING OF HEMODIALYSIS PATIENTS BY
REIMBURSEMENT SCHEMES IN 2009-2015
SERVICE PLAN สาขาไต
SERVICE PLAN สาขาไต
แนวทางบริหารจัดการศูนย์ฟอกเลือด
ด้วยเครื่องไตเทียมของโรงพยาบาล
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
“ ถ่าย ทอด คำสั่ง ลงไป ”
บึงกาฬ
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้โรงพยาบาลสังกัดกระทรวง
สาธารณสุขในเขตสุขภาพท่ี 1 - 12 จัดบริการ ฟอกเลือดด้วย
เครื่องไตเทียม (Hemodialysis) สำหรับ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
ระยะสุดท้าย (End - stage Chronic Renal Disease)
ในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลท่ัวไป
ขนาดเล็ก (โรงพยาบาล ระดับ A, S และ M1 ตามลำดับ)
ทุกแห่ง
A : Advance-level Referral Hos.
S : Standard-level Referral Hos.
M1 : Mid-level Referral Hos.
M2 : Mid-level Referral Hos.
F1-3 : First-level Referral Hos.
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการได้เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม
การบริหาร จัดการหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่เปิด
ดำเนินการแล้ว และการเปิดหน่วยฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม
แห่งใหม่เพิ่มข้ึนน้ัน ยังมีปัญหาในการบริหารจัดการและ
คุณภาพบริการท่ีมีความแตกต่างกัน
กระทรวงสาธารณสุข จึงได้จัดทำแนวทางปฏิบัติสำหรับ
การจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ดังน้ี
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ

1. การเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่
1.1 ระดับโรงพยาบาล ควรอยู่ในโรงพยาบาลระดับ A, S และ
M1 หรือตามความเห็นชอบของ คณะกรรมการใน ข้อ 1.2.1
1.2 ให้มีการทำงานร่วมกันเป็นรูปแบบเครือข่ายระดับเขต
เพื่อการจัดสรรทรัพยากรและการจัดบริการที่เพียงพอและ
เหมาะสม จึงกำหนดให้
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ

1.2 ...... จึงกำหนดให้
1.2.1 มีคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติการขอเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วย
เครื่องไตเทียมระดับเขต เป็นผู้พิจารณาอนุมัติการขอเปิดหน่วย
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข โดยปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย เป็น
ผู้ลงนามแต่งตั้ง คณะกรรมการ โดยมี องค์ประกอบของคณะ
กรรมการดังนี้
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
แนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดบริการศูนย์ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 1 - 12
องค์ประกอบของคณะกรรมการดังนี้
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดที่จะเปิด_ ประธานโดยตำแหน่ง
ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการของเขต (CSO เขต) _ รองประธานคนที่ หนึ่ง
ประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสาขาไตเขต _ รองประธานคนที่ สอง
หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ หรือผู้ได้รับมอบหมาย ของ สสจ _ เลขา
กรรมการประกอบด้วย อายุรแพทย์โรคไตในเขต จังหวัดละ หนึ่งคน และ หัวหน้า
พยาบาลไตเทียม จังหวัดละหนึ่งคนในเขตนั้น หรือผู้แทนจังหวัดละ หนึ่ง คน
คณะกรรมการ HD ระดับเขต
คณะกรรมการ SP ไต ระดับเขต
คณะกรรมการ SP ไต กระทรวงสาธารณสุข
คณะอนุกรรมการตรวจรับรองมาตรฐานฯ ( ตรต. )
คณะกรรมการต่าง ๆ
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
การประชุมนำเสนอข้อมูลการขอเปิดหน่วยไตเทียม
1.2.2 มีการประชุมนำเสนอข้อมูลประกอบการขอเปิดหน่วยฟอกเลือดฟอกเลือดด้วย
เครื่องไตเทียมแห่งใหม่ตั้งแต่ก่อนเริ่มดำเนินการก่อสร้าง แก่คณะกรรมการ ฯ
1. จำนวนผู้ป่วยคาดการณ์ที่เข้ารับบริการในหน่วยฟอกเลือดฯ แห่งใหม่
2. จำนวนผู้ป่วยที่มีความลำบากในการเข้าถึงบริการฟอกเลือดฯ เดิม
3. โครงสร้างทางภูมิศาสตร์ในการเดินทาง
4. เครือข่ายบุคลากรทางการแพทย์ ที่เตรียมให้บริการในหน่วยฯ ใหม่ ตามมาตรฐาน
อนุกรรมการตรวจรับรองฯ (ตรต.)
5. พื้นที่หน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมตามมาตรฐานอนุกรรมการ ตรต.
การประชุมนำเสนอข้อมูลการขอเปิดหน่วยไตเทียม
มีการประชุมนำเสนอข้อมูลประกอบการขอเปิดหน่วยฟอกเลือดฟอกเลือดด้วย
เครื่องไตเทียมแห่งใหม่ตั้งแต่ก่อนเริ่มดำเนินการก่อสร้าง แก่คณะกรรมการ ฯ
โดยมีมติจากท่ีประชุมของคณะกรรมการฯ ตามข้อ 1.2.1 ด้วยคะแนนเสียง
เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน คณะกรรมการทั้งหมด (นับรวมความเห็นของประธาน
รองประธาน และ เลขานุการ) และจัดทำหนังสือยืนยัน ความเห็นชอบเพื่อนำ
เสนอต่ออนุกรรมการ ตรต. ตามเอกสารแนบที่ 1 เพื่อเป็นหลักฐานประกอบ
การพิจารณา รับรองมาตรฐาน
โดยหากไม่มีมติเห็นชอบดังกล่าว อนุกรรมการ ตรต. จะไม่ทำการรับรอง
มาตรฐานหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมดังกล่าว
รอขยายใน
สไลด์ ถัดไป
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2. การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
2.1 มาตรฐาน
2.2 ขั้นตอนการปฏิบัติและแนวทางการกำกับดูแล
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.1 หน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมทุกหน่วยใน
โรงพยาบาล ท้ังท่ีโรงพยาบาลดำเนินการเอง โรงพยาบาล
จ้างเหมาบริการเอกชนมาดำเนินการ หรือ โรงพยาบาลให้
เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน ต้องผ่าน การรับรองมาตรฐานจาก
อนุกรรมการ ตรต.
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.2 มีเครือข่ายแพทย์และบุคลากรผู้ให้บริการ และ
การกำหนดคุณสมบัติของแพทย์ ผู้รับผิดชอบผู้ป่วย
และหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาล
ระดับต่าง ๆ กำหนดให้มีบุคลากรตาม มาตรฐานของ
อนุกรรมการ ตรต.
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.3 หน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมทุกหน่วยในโรง
พยาบาล ทั้งท่ีโรงพยาบาลดำเนินการเอง โรงพยาบาลจ้าง
เหมาบริการเอกชนมาดำเนินการ หรือ โรงพยาบาลให้
เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน ต้องมีแพทย์ หัวหน้าหน่วยไตเทียม
ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการหน่วยไตเทียม
(ต่อ)
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.3 (ต่อ)โดยแพทย์หัวหน้าหน่วย ดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติต่อไปน้ี
เป็นอายุรแพทย์โรคไต หรือ กุมารแพทย์โรคไต ท่ีปฏิบัติงานอยู่ในจังหวัดที่หน่วย
น้ันๆ ต้ังอยู่ หรือ
เป็นอายุรแพทย์ทั่วไป หรือ กุมารแพทย์ทั่วไป ท่ีจบการอบรมด้านไตเทียม และได้รับ
ประกาศนียบัตรรับรองจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งปฏิบัติงาน
อยู่ใน จังหวัดที่หน่วยน้ันๆ ต้ังอยู่ โดยจะต้องมีอายุรแพทย์โรคไต หรือ กุมารแพทย์
โรคไต ซึ่งปฏิบัติงานประจำอยู่ในเขตท่ีหน่วยนั้นๆตั้งอยู่เป็นที่ปรึกษา
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.3 (ต่อ)โดยแพทย์หัวหน้าหน่วย ดังกล่าวต้องมี
คุณสมบัติต่อไปน้ี
ซึ่งชื่อของแพทย์ดังกล่าวต้องตรงกับชื่อแพทย์หัวหน้าหน่วย
ไตเทียม ในแบบรายงานการประเมินตนเอง ที่ส่งให้กับทาง
อนุกรรมการ ตรต.
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
แพทย์
แพทย์หัวหน้าหน่วยไตเทียม
แพทย์ผู้รับผิดชอบห้องไตเทียม
แพทย์รับผิดชอบตรวจเยี่ยมผู้ป่วย
แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.4 กำหนดให้มีแพทย์รับผิดชอบตรวจเยี่ยมผู้ป่วยฟอกเลือดตามมาตรฐานอนุกรรมการ ตรต.
ให้เหมาะสมกับภาระงาน โดยแพทย์ผู้รับผิดชอบตรวจเยี่ยมผู้ป่วยดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้
เป็นอายุรแพทย์โรคไต หรือ กุมารแพทย์โรคไต ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในจังหวัดที่หน่วยนั้นๆ ตั้งอยู่ หรือ
เป็นอายุรแพทย์ทั่วไป หรือ กุมารแพทย์ทั่วไปที่จบการอบรมด้านไตเทียม และได้รับ
ประกาศนียบัตรรับรองจากราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ใน จังหวัดที่
หน่วยน้ันๆ ต้ังอยู่ โดยจะต้องมีอายุรแพทย์โรคไต หรือ กุมารแพทย์โรคไต ซึ่งปฏิบัติงานประจำอยู่
ในจังหวัดเดียวกัน หรือจังหวัดที่ติดกันในเขตเดียวกัน ที่เป็นที่ปรึกษา
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.5 หน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมทุกหน่วยในโรง
พยาบาล ท้ังที่โรงพยาบาลดำเนินการเอง โรงพยาบาลจ้าง
เหมาบริการเอกชนมาดำเนินการ หรือ โรงพยาบาลให้
เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน อย่างน้อยต้องมี แพทย์เวชปฏิบัติ
ทั่วไปปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาลขณะกำลังให้บริการ
ฟอกเลือด
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.1 มาตรฐาน

2.1.6 ในกรณีที่หน่วยไม่มีอายุรแพทย์โรคไตหรือกุมารแพทย์โรคไต
ที่ปฏิบัติงานประจำในโรงพยาบาล ต้องมีระบบการปรึกษาหรือส่งต่อ
ผู้ป่วยฉุกเฉินร่วมกับอายุรแพทย์โรคไตหรือกุมารแพทย์โรคไต
ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดที่ตั้งของหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(ยกเว้นจังหวัดที่ไม่มีอายุรแพทย์โรคไต หรือ กุมารแพทย์โรคไตให้
อายุรแพทย์โรคไตหรือกุมารแพทย์โรคไตในจังหวัดท่ีติดกันในเขต
เดียวกันเป็นผู้รับปรึกษา หรือรับส่งต่อกรณีฉุกเฉิน)
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
แพทย์ ( มิติของ การทำงาน ไม่ใช่วุฒิการศึกษา )
แพทย์หัวหน้าหน่วยไตเทียม
แพทย์ผู้รับผิดชอบห้องไตเทียม
แพทย์รับผิดชอบตรวจเยี่ยมผู้ป่วย
แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2 ขั้นตอนการปฏิบัติและแนวทางการกำกับดูแล
2.2.1 ในกรณีเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
แห่งใหม่ (ไม่ว่าเป็นการเปิดหน่วยแรกในโรงพยาบาลนั้นๆ
หรือการเปิด หน่วยใหม่เพิ่มเติมจากที่มีอยู่ การพิจารณาว่า
เป็นหน่วยใหม่หรือไม่ ให้ใช้ เกณฑ์ของอนุกรรมการ
ตรต.เป็นหลัก)
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.1 ในกรณีเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่ ฯ มีขั้นตอน
การปฏิบัติดังน้ี 

2.2.1.1 โรงพยาบาลที่ต้องการเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่ง
ใหม่ จะต้องส่ง ข้อมูลตามข้อ 1.2.2 ให้กับคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติการ
ขอเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ระดับเขต เพื่อพิจารณาลงความ
เห็นในการขอเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่ เมื่อคณะ
กรรมการดังกล่าว มีมติเห็นชอบให้เปิดหน่วยไตเทียมแห่งใหม่ คณะกรรมการ
ดังกล่าวจะต้องทำ หนังสือยืนยันความเห็นชอบในการเปิดหน่วยฟอกเลือด
ด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่ ตามเอกสารแนบที่ 1 และ ส่งให้อนุกรรมการ
ตรต. และคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสาขาไตของกระทรวงสาธารณสุข
BOILED EGG MODEL
BOILED EGG MODEL
Hemodialysis unit
คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติการขอเปิดหน่วย
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ระดับเขต
ทำหนังสือยืนยันความเห็นชอบในการเปิดหน่วย
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่
ตามเอกสารแนบที่ 1
อนุกรรมการ ตรต. และคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ
สาขาไต ของกระทรวงสาธารณสุข
รับหนังสือยืนยันความเห็นชอบการเปิดหน่วยฟอกเลือดฯ
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.1 ในกรณีเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่ ฯ
มีขั้นตอนการปฏิบัติดังน้ี
2.2.1.2 จัดซื้อจัดจ้างหรือคัดเลือกเอกชนตามระเบียบที่เกี่ยวข้องและ
ลงนามในสัญญาเช่า จ้างเหมาบริการหรือสัญญาร่วมลงทุนแล้วแต่กรณี
2.2.1.3 ขออนุมัติผู้มีอานาจในการยินยอมให้เอกชนมาใช้พื้นที่ของ
โรงพยาบาล กรณีเป็น การจ้างเหมาบริการ หรือการให้เอกชนร่วม
ลงทุน (PPP)
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.1 ในกรณีเปิดหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแห่งใหม่ ฯ
มีขั้นตอนการปฏิบัติดังน้ี
2.2.1.4 ดำเนินการติดต้ังอุปกรณ์ในหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
แห่งใหม่
2.2.1.5 สมัครเพื่อรับการประเมินหน่วยไตเทียมจากทางอนุกรรมการ
ตรต. (ขั้นตอนตาม รูปท่ี 1) โดยแนบเอกสารยืนยันตามข้อ 2.2.1.1
เป็นหลักฐานการสมัคร
2.2.1.6 เมื่อได้รับการรับรองชั่วคราวแล้วจึงเริ่มดำเนินการให้บริการ
เกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองฯ
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
เกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองฯ
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
เกณฑ์และแนวทางการตรวจรับรองฯ
http://www.rcpt.org/index.php/2017-02-06-02-36-17/461-2015-01-23-07-04-53.html
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
รอขยายในสไลด์ ถัดไป
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.2 เมื่อหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมผ่านการรับรองจากอนุกรรมการ ตรต.
และ ให้บริการแล้ว ให้ปฏิบัติดังน้ี
2.2.2.1 หน่วยไตเทียมท้ังท่ีโรงพยาบาลดำเนินการเอง โรงพยาบาลจ้างเหมาบริการ
เอกชนมาดำเนินการ หรือ โรงพยาบาลให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน ต้องเก็บรวบรวม
และรายงานผลตาม ตัวชี้วัดคุณภาพบริการฟอกเลือด ตามเอกสารแนบที่ 3 เสนอต่อ
ศูนย์บริหารคุณภาพ (TQM) ของโรงพยาบาลทุก 3 เดือน เสนอต่อคณะกรรมการ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาไตของเขตทุก 6 เดือน และส่งข้อมูล TRT registry
ให้กับสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยทุก 1 ปีตามรายละเอียด ที่สมาคมฯ กำหนด
เอกสารแนบ 3
รายการตัวชี้วัดคุณภาพบริการฟอกเลือด
1.ร้อยละของผู้ป่วยที่ Sp KT/V ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน
2.ร้อยละของผู้ป่วยที่ URR ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน
3.ร้อยละของผู้ป่วยที่ nPCR ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน
4.ร้อยละของผู้ป่วยที่ serum Albumin ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน
5.ร้อยละของผู้ป่วยที่ serum K+ ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน
6.ร้อยละของผู้ป่วยที่ Hct ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
7.ปริมาณ bacteria ใน ระบบน้ำบริสุทธ์ิ
8.จำนวนผู้ป่วยที่เกิด cardiac arrest ที่ หน่วยไตเทียม
การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ
การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ
การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.2 เมื่อหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมผ่านการรับรองจาก
อนุกรรมการ ตรต. และ ให้บริการแล้ว ให้ปฏิบัติดังน้ี
2.2.2.2 โรงพยาบาลต้องตรวจสอบและกำกับดูแลคุณภาพและความ
ปลอดภัยในการให้บริการหน่วยไตเทียมทุกหน่วยของโรงพยาบาล ไม่ว่า
จะเป็นหน่วยท่ีโรงพยาบาลดำเนินการเอง โรงพยาบาล จ้างเหมาบริการ
เอกชนมาดำเนินการ หรือ โรงพยาบาลให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน และ
รายงานผลการ ดำเนินงานและปัญหาต่างๆ ให้ผู้บริหารโรงพยาบาลทราบ
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.2 เมื่อหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมผ่านการรับรองจาก
อนุกรรมการ ตรต. และ ให้บริการแล้ว ให้ปฏิบัติดังน้ี
2.2.2.3 เมื่อคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาไตของเขตมีข้อ
สงสัย เกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการของหน่วยไตเทียม สามารถขอข้อมูล
เพิ่มเติมจากหน่วยไตเทียม หรือขอเข้าตรวจสอบได้ หากพบข้อบกพร่อง
สามารถสั่งให้ปรับปรุงแก้ไขได้โดยยึดมาตรฐานของอนุกรรมการ ตรต. และ
ทำหนังสือแจ้งการสั่งให้ปรับปรุงแก้ไขแก่ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล และ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) เพื่อกำกับดูแลต่อไป
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.2 เมื่อหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมผ่านการรับรองจาก
อนุกรรมการ ตรต. และ ให้บริการแล้ว ให้ปฏิบัติดังน้ี
2.2.2.4 คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาไตของ
เขต หรือสานักงาน สาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) อาจพิจารณาแจ้ง
ให้อนุกรรมการ ตรต. เข้ามาตรวจสอบมาตรฐานก่อนรอบ
ระยะเวลาที่กำหนดได้
การกำกับมาตรฐานหน่วยฟอกเลือดฯ
2.2.2 เมื่อหน่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมผ่านการรับรองจาก
อนุกรรมการ ตรต. และ ให้บริการแล้ว ให้ปฏิบัติดังน้ี
2.2.2.5 ในกรณีที่หน่วยไตเทียมดำเนินการโดยเอกชน
โรงพยาบาลต้องระบุแนวทางการกำกับดูแลตามข้อ 2.2.2
ไว้ในสัญญา และกำหนดเงื่อนไขการปรับและการยกเลิกสัญญา
ในกรณีที่เอกชน ผู้ดำเนินการไม่ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว
แนวทางการดำเนินการ
ขยายสไลด์ ถัดไป
แนวทางการดำเนินการ
การบริการสามารถดำเนินการได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1) โรงพยาบาลจัดซื้ออุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
2) โรงพยาบาลเช่าอุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
3) โรงพยาบาลจ้างเหมาเอกชนมาดำเนินการให้บริการ
4) โรงพยาบาลให้เอกชนมาร่วมลงทุน (PPP)ในการจัดบริการ
ขยายสไลด์ ถัดไป
แนวทางการดำเนินการ
รูปแบบ (1) - (3) โรงพยาบาลจะดำเนินการตาม
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. 2560
รูปแบบ (4) โรงพยาบาลจะดำเนินการตามพระราชบัญญัติ
การให้เอกชน ร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556
แนวทางการดำเนินการ
พรบ.การจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
http://www.sbpac.go.th/pdf/601030_2.pdf
http://www.treasury.go.th/ewtadmin/ewt/treasury_intra/download/article/article_20131007155007.pdf
การดำเนินการในรูปแบบ (2) และ (3) ให้โรงพยาบาลคิดต้นทุน
เพื่อนำไปกำหนดราคากลางสำหรับ การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
ตามระเบียบของทางราชการ ตามเอกสารแนบที่ 2 โดยการคิด
ต้นทุนดังกล่าว สามารถปรับเพิ่มหรือลดรายการตามการดำเนิน
งานจริงได้ แต่ต้องยึดราคาของแต่ละรายการตามท่ีกำหนด
หากมีการกำหนดไว้ในเอกสารแนบดังกล่าว และการกำหนด
ราคากลาง ควรกำหนดอัตราเดียวกันสาหรับ ผู้รับบริการทุกสิทธิ
ในกรณีที่ให้บริการไม่ต่างกัน
แนวทางการดำเนินการ
การดำเนินการในรูปแบบ (3) – (4) เอกชนจะต้องทำสัญญา
เช่าที่ราชพัสดุกับกรมธนารักษ์ หรือ ธนารักษ์พื้นที่ ตามระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ
พ.ศ. 2552 และ กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เก่ียวกับ
ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
แนวทางการดำเนินการ
Thank You
Kamol Khositrangsikun, MD.
แนวทางการดำเนินการ
การบริการสามารถดำเนินการได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1) โรงพยาบาลจัดซื้ออุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
2) โรงพยาบาลเช่าอุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
3) โรงพยาบาลจ้างเหมาเอกชนมาดำเนินการให้บริการ
4) โรงพยาบาลให้เอกชนมาร่วมลงทุน (PPP)ในการจัดบริการ
1) โรงพยาบาลจัดซื้ออุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
นพ.ประนาท เชี่ยววานิช
อายุรแพทย์โรคไต
รพ.ลำปาง
แนวทางการดำเนินการ
การบริการสามารถดำเนินการได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1) โรงพยาบาลจัดซื้ออุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
2) โรงพยาบาลเช่าอุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
3) โรงพยาบาลจ้างเหมาเอกชนมาดำเนินการให้บริการ
4) โรงพยาบาลให้เอกชนมาร่วมลงทุน (PPP)ในการจัดบริการ
http://dep.go.th/sites/default/files/Audit-001.pdf
วิธีดำเนินการ
1. วิธีการประกวดแบบ
2. วิธีเฉพาะเจาะจง
3. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
4. วิธีคัดเลือก
http://dep.go.th/sites/default/files/Audit-001.pdf
วิธีดำเนินการ
http://dep.go.th/sites/default/files/Audit-001.pdf
วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
http://dep.go.th/sites/default/files/Audit-001.pdf
ตัวอย่าง การทำ OUTSOURCE
แนวทางการดำเนินการ
การบริการสามารถดำเนินการได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1) โรงพยาบาลจัดซื้ออุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
2) โรงพยาบาลเช่าอุปกรณ์มาดำเนินการให้บริการ
3) โรงพยาบาลจ้างเหมาเอกชนมาดำเนินการให้บริการ
4) โรงพยาบาลให้เอกชนมาร่วมลงทุน (PPP)ในการจัดบริการ
http://planning.pn.psu.ac.th/data/person/private58-62.pdf
http://planning.pn.psu.ac.th/data/person/private58-62.pdf
กิจการพัฒนาด้านยาและอุปกรณ์ทางการแพทย์
http://planning.pn.psu.ac.th/data/person/private58-62.pdf
ล้านบาท
โรงพยาบาลราชบุรี - นำร่อง PPP
การควบคุมคุณภาพในหน่วยไตเทียมภาครัฐ
http://www.nephrothai.org/news/news.asp?type=KNOWLEDGE&news_id=417
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 1 :ต้นทุนค่าวัสดุอุปกรณ์สิ้นเปลือง
หมวดที่ 2 : ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค
หมวดที่ 3 : ต้นทุนค่าการตรวจทางห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน
และระยะเวลาที่กำหนด
หมวดที่ 4 : ต้นทุนด้านครุภัณฑ์และสถานที่
หมวดที่ 5 : ต้นทุนด้านค่าแรงบุคคลากรในการให้บริการ
(สามารถระบุต้นทุนค่าแรงได้ตามที่จ่ายจริง)
คิดต่อการให้บริการ
ฟอกเลือดด้วยเครื่อง
ไตเทียมต่อ 1 ครั้ง
ครั้งละ 4 ชั่วโมง
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
ขยายสไลด์ ถัดไป
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
ขยายสไลด์ ถัดไป
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
ขยายสไลด์ ถัดไป
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 1 :ต้นทุนค่าวัสดุอุปกรณ์สิ้นเปลืองในการฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม ต่อครั้ง
1. ค่าตัวกรอง รวมค่าน้ำยาที่ทำความสะอาดเพื่อใช้ซ้ำ
2. ค่าชุดสายส่งเลือด สำหรับไตเทียม (Blood line)
3. เข็ม AVF เปลี่ยนใหม่ทุกครั้ง
4. ค่าน้ำเกลือ (0.9% NSS 1000 cc)
5. ชุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
6. ค่า transducer protector เปลี่ยนใหม่ทุกครั้ง
1/2
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 1 :ต้นทุนค่าวัสดุอุปกรณ์สิ้นเปลืองในการฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม ต่อครั้ง
7. ค่าน้ำยา Dialysate ชนิด A
8. ค่าน้ำยา Dialysate ชนิด B
9. ค่า Transpore, Povidine, 70% Alcohol ประมาณต่อครั้ง
10.ค่าน้ำยาฆ่าเชื้อในเครื่องไตเทียม
11.ค่า Heparin ( Loading, Maintenance, Lock )
12.ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด เช่น ถุงมือ กอส สบู่ ยาฆ่าเชื้อสำหรับฟอกแขน ค่าเปิด set
2/2
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 1 :ต้นทุนค่าวัสดุอุปกรณ์สิ้นเปลือง
หมวดที่ 2 : ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค
หมวดที่ 3 : ต้นทุนค่าการตรวจทางห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน
และระยะเวลาที่กำหนด
หมวดที่ 4 : ต้นทุนด้านครุภัณฑ์และสถานที่
หมวดที่ 5 : ต้นทุนด้านค่าแรงบุคคลากรในการให้บริการ
(สามารถระบุต้นทุนค่าแรงได้ตามที่จ่ายจริง)
คิดต่อการให้บริการ
ฟอกเลือดด้วยเครื่อง
ไตเทียมต่อ 1 ครั้ง
ครั้งละ 4 ชั่วโมง
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 2 : ต้นทุนค่าสาธารณูปโภคในการให้บริการฟอกเลือดด้วยเครื่อง
ไตเทียมต่อ 1ครั้ง ครั้งละ 4 ชั่วโมง
1. ค่าไฟฟ้า
2. ค่าน้ำประปา
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 3 : ต้นทุนค่าการตรวจทางห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานและระยะเวลาที่
กำหนดต่อการให้บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 1 ครั้ง
CBC
BUN, Cr
Electrolyte (Na, K, Cl, Bicarb)
Calcium, Phosphorus
Albumin
kT/V, URR
HBsAg, Anti HBs, Anti HCV
CXR
EKG
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 4 : ต้นทุนด้านครุภัณฑ์และสถานที่ในการให้บริการฟอกเลือดด้วย
เครื่องไตเทียมต่อ 1 ครั้ง
ค่าเสื่อมราคาเครื่องไตเทียม
ค่าเสื่อมราคาระบบผลิตน้ำบริสุทธิ์
ค่าเสื่อมราคา เครื่อง infusion-pump
ค่าเสื่อมเครื่องล้างตัวกรองอัตโนมัติ
เครื่องกระตุกหัวใจ (AED)
ค่าบำรุงรักษา เครื่องไตเทียม
ค่าบำรุงรักษาระบบน้ำบริสุทธิ์
ค่าครุภัณฑ์สำนักงาน
ค่าเสื่อมอาคารเฉพาะพื้นที่ใช้สอยของหน่วยไตเทียม
แนวทางการจ่ายค่าจ้างเหมาบริการให้เอกชนใน
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในโรงพยาบาลของรัฐ
หมวดที่ 5 : ต้นทุนด้านค่าแรงบุคคลากรในการให้บริการฟอกเลือดด้วยเครื่อง
ไตเทียมต่อ1ครั้ง ครั้งละ 4 ชั่วโมง (สามารถระบุต้นทุนค่าแรงได้ตามที่จ่ายจริง)
1. ค่าแรงแพทย์
2. ค่าแรงพยาบาล HD
3. ค่าแรงพยาบาล RN
4. ค่าแรงผู้ช่วยพยาบาล
5. ค่าแรงผู้ช่วยเหลือคนไข้ คนงาน
SERVICE PLAN
6 mo 6 months 24 months
สัญลักษณ์แสดงการรับรอง
การรับรองคุณภาพหน่วยไตเทียม
รวมระยะเวลาทั้งหมด 3 ปี
Hemodialysis regulation 2561

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKDคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CKD
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 

Similar to Hemodialysis regulation 2561

ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
nipapat
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
Kamol Khositrangsikun
 

Similar to Hemodialysis regulation 2561 (14)

Service plan 5 พฤษภาคม 2560 สุราษฎร์ธานี
Service plan 5 พฤษภาคม  2560   สุราษฎร์ธานี Service plan 5 พฤษภาคม  2560   สุราษฎร์ธานี
Service plan 5 พฤษภาคม 2560 สุราษฎร์ธานี
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัยService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.เจริญ เกียรติวัชรชัย
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
สาขาไต - Dialysis นำเสนอ ศูนย์ราชการ 29 สิงหาคม 2559
 

More from Kamol Khositrangsikun

More from Kamol Khositrangsikun (20)

Disaster management 2020
Disaster management 2020Disaster management 2020
Disaster management 2020
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจรCulture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
Culture negative peritonitis 2018 - วิภาภัทร ชูจร
 
Hand out pd for everyone
Hand out pd for everyoneHand out pd for everyone
Hand out pd for everyone
 
Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018Hand out ckd for 2018
Hand out ckd for 2018
 
Hand out culture negative peritonitis Feb 2018 - Baxter Scientia
Hand out culture negative peritonitis   Feb 2018 - Baxter ScientiaHand out culture negative peritonitis   Feb 2018 - Baxter Scientia
Hand out culture negative peritonitis Feb 2018 - Baxter Scientia
 
Key Performance Index Final Version
Key Performance Index Final VersionKey Performance Index Final Version
Key Performance Index Final Version
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
Hand out diabetes nephropathy management
Hand out diabetes nephropathy managementHand out diabetes nephropathy management
Hand out diabetes nephropathy management
 
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
31 August 2017 Precise: Trouble shooting catheter dysfunction
 
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckdประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
ประเด็นพัฒนา Pre dialysis ckd
 
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
Hand out CKD & RRT มิราเคิลแกรนด์ 7 กรกฎาคม 2559
 
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน  2559 update 16 พค 59
Cipo สาขาไต รอบ 6 เดือน 2559 update 16 พค 59
 
การคัดกรอง CKD ผ่านระบบฐานข้อมูล
การคัดกรอง CKD  ผ่านระบบฐานข้อมูลการคัดกรอง CKD  ผ่านระบบฐานข้อมูล
การคัดกรอง CKD ผ่านระบบฐานข้อมูล
 
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
Hand out service plan มหาราช นำเสนอ สสจ. 29 เมษายน 2559
 
Kpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-finalKpi guidelines pd quality 2016-final
Kpi guidelines pd quality 2016-final
 
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559 Center management - PD Quality  Baxter  27 มีนาคม 2559
Center management - PD Quality Baxter 27 มีนาคม 2559
 
The pride of PD quality - Baxter 26 มีนาคม 2559
The pride of PD quality - Baxter  26  มีนาคม 2559 The pride of PD quality - Baxter  26  มีนาคม 2559
The pride of PD quality - Baxter 26 มีนาคม 2559
 
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
KPI IN PD นครศรีธรรมราช 2559
 

Hemodialysis regulation 2561