SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
1
ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                          เรื่อง บรรยากาศน่ารู้




      ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
                  ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ

ตัวชี้วัด
         มฐ. ว 6.1 ม.1/1 สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
                            ที่ปกคลุม ผิวโลก
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
         1. บอกส่วนประกอบของอากาศ อากาศแห้ง และอากาศชื้นได้
         2. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างอากาศแห้งและและอากาศชื้นได้
         3. อธิบายความสาคัญของชั้นบรรยากาศและสาระสาคัญของชั้นบรรยากาศ
            แต่ละชั้นตามเกณฑ์ต่าง ๆ ได้
ทักษะ/กระบวนการ
         1. การสังเกต
         2. การลงความเห็นจากข้อมูล
         3. การจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล
ส่วนประกอบในชุดกิจกรรมการเรียนรู้
         1. บัตรคาสั่ง
         2. แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
         3. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมาย ความสาคัญของอากาศ
         4. แบบฝึกทักษะที่ 1 ความสาคัญของบรรยากาศ
         5. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของบรรยากาศ
         6. ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ชั้นบรรยากาศ
         7. แบบฝึกทักษะที่ 2 ชั้นบรรยากาศ
         8. แบบฝึกทักษะที่ 3 แผนภูมิความคิดเรื่องชั้นบรรยากาศ
         9. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ




                                                         ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
2
      ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                  ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์
                                                 ้
                  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง บรรยากาศน่ารู้
                         ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ



                                                                              ความสาคัญของ
ความหมายของบรรยากาศ                                                             บรรยากาศ

                                   เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
                                        2 ชั่วโมง


  ความหมายของอากาศ
                                                                     ส่วนประกอบของอากาศแห้ง
                                                                           และอากาศชื้น
                                      ชั้นบรรยากาศ
                                   แบ่งตามเกณฑ์ต่าง ๆ


                               สวัสดีจ้า...เพื่อน ๆ เราชื่อน้องตอมแตม
                             จะคอยอยู่เป็นเพื่อน และเรียนรู้ไปพร้อมกับ
                                          เพือน ๆ ทุกคนคะ...
                                             ่
                                  ถ้าพร้อมแล้วเริ่มเลยแล้วกันจ้า.....




                                                                ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
3
ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                          เรื่อง บรรยากาศน่ารู้




                             บัตรคาสั่ง


คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้

   1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถและเป็นรายกลุ่ม
       ซึ่งควรมีสมาชิกประมาณกลุ่มละ 4-5 คนในแต่ละกลุ่ม (คละ เก่ง ปานกลาง อ่อน)
   2. อ่านคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
   3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคล
   4. ศึกษาใบความรู้ทุกใบความรู้ด้วยความตั้งใจ
   5. ศึกษาใบกิจกรรม
   6. ปฏิบัติตามใบกิจกรรม
   7. บันทึกผลการทากิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม
   8. ทาแบบฝึกทักษะทุกแบบฝึก
   9. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล
   10. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเทคโนโลยี บูรณาการเพื่อการเรียนรู้ เพื่อตอบคาถาม
       จากกิจกรรม คาตอบดี...มีรางวัล ทาง E-mail ได้ที่ krutaiscickw@gmail.com
   11. หากนักเรียนต้องการทบทวนความรู้ สามารถยืมแผ่น CD จากครูผู้สอนเพื่อ
       ทบทวนความรู้นอกเวลาได้




เวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง




                                                        ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
4
          ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                    เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                           แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1
                            เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ

คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศ                3. กาหนดให้
    ก. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสม                    A คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
กับสิ่งมีชีวิต                                             B คือ แก๊สไนโตรเจน
    ข. ช่วยเสียดสีกับวัตถุภายนอกโลก ทาให้                  C คือ แก๊สอาร์กอน
ลุกไหม้หมดหรือมีขนาดเล็กลงก่อนถึงผิว                       D คือ แก๊สออกซิเจน
โลก                                                   ข้อใดเรียงลาดับส่วนประกอบของอากาศ
    ค. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวง                   แห้งจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
อาทิตย์                                               ก. D>B>A>C           ข. B>D>C>A
   ง. ช่วยดูดกลืนรังสีต่าง ๆ ไม่ใช้ผ่านสู่โลก         ค. D>B>C>A           ง. B>D>A>C
มากเกินไป
                                                   4. สมบัติในข้อใด ไม่ได้ ใช้ในการแบ่งชั้น
2. การกระทาของผู้ใดที่ทาให้ส่วนประกอบ              บรรยกาศ
ของอากาศแตกต่างไปจากเดิม                              ก. ปริมาณฝุ่นละอองและรังสี
    นุ่น ส่องไฟฉายให้ลาแสงผ่านไปในอากาศ               ข. สมบัติทางอุตุนิยมวิทยา
    นาย ทาสวนเกษตรปลูกต้นลาไย และต้น                  ค. อุณหภูมิ
ลาไยกาลังเจริญเติบโตเต็มสวน                           ง. ส่วนผสมของก๊าซ
   นพ เปิดร้านขายหมูปิ้ง มีคนเข้าร้านตลอด
ทั้งวัน                                            5. ชั้นบรรยากาศใดที่มีผลต่อการดารง
   ก. นพกับนาย           ข. นุ่นกับนาย             ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากที่สุด
   ค. นุ่นกับนพ          ง. นุ่น นพ และนาย            ก. โทรโพสเฟียร์      ข. สตราโทสเฟียร์
                                                      ค. มีโซสเฟียร์       ง. เทอร์โมสเฟียร์




                                                                   ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
5
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้

6. โอโซนมีประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างไร                9. อุกกาบาตจากนอกโลกเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่
   ก. ช่วยในการสร้างวิตามินดีในร่างกาย            แรงดึงดูดของโลก จะเริ่มลุกไหม้ใน
มนุษย์                                            บรรยากาศชั้นใด
   ข. เป็นแหล่งผลิตออกซิเจนที่สาคัญ                  ก. โทรโพสเฟียร์     ข. สตราโตสเฟียร์
   ค. ช่วยให้โลกอบอุ่นขึ้น                           ค. มีโซสเฟียร์      ง. เทอร์โมสเฟียร์
   ง. ช่วยดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเลต
                                                  10. นักบินจะขับเครื่องบินอยู่ในบรรยากาศ
7. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศชั้นสตรา          ชั้นใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
โตสเฟียร์                                             ก. โทรโพสเฟียร์      ข. มีโซสเฟียร์
   ก. มีก๊าซโอโซน                                     ค. สตราโตสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์
   ข. มีระดับความสูง 10-50 km
   ค. มีประจุไฟฟ้าที่สามารถสะท้อน
                                                                 เป็นไงบ้างคะ
คลื่นวิทยุได้
                                                             ได้คะแนนเท่าไหร่กัน
   ง. ไม่มีเมฆและพายุ

8. นักอุตุนิยมวิทยานาข้อมูลจาก
ชั้นบรรยากาศชั้นใดมาใช้ในการพยากรณ์
อากาศ
    ก. เทอร์โมสเฟียร์
    ข. โทรโพสเฟียร์
    ค. สตราโทสเฟียร์
    ง. มีโซสเฟียร์




                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
6
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้


                                  ใบความรูที่ 1
                                          ้
                      เรื่อง ความหมาย ความสาคัญของอากาศ


   บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง อากาศที่อยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกไว้ทั้งหมดโดยมี
ขอบเขตจากระดับน้าทะเลขึ้นไปประมาณ 600 กิโลเมตร
   อากาศ (Weather) หมายถึง บรรยากาศบริเวณใกล้ผิวโลกและอยู่รอบตัวเราจนถึงระดับ
ความสูงจากพื้นดินประมาณ 80 กิโลเมตร




                            ภาพ 1.1 ภาพแสดงอากาศที่อยู่รอบตัวเรา
                       ภาพโดย : ขวัญกมล จางวิริยะ วันที่ 12 มิถุนายน 2555

           ความสาคัญของอากาศต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
           1. อากาศทาหน้าที่คล้ายผ้าห่มที่หุ้มห่อโลก จึงช่วยปรับอุณหภูมิโลกให้พอเหมาะที่
สิ่งมีชีวิตจะ ดารงชีวิตอยู่ได้ อากาศที่หุ้มห่อโลกทาให้โลกร้อนขึ้นอย่างช้าๆ ในเวลากลางวัน และ
ทาให้โลกเย็นตัวลงช้าๆ ในเวลากลางคืน
           2. ถ้าไม่มีอากาศห่อหุ้มโลก ในเวลากลางวันอุณหภูมิบนพื้นโลกจะสูงประมาณ 110 oC
ในเวลากลางคืนอุณหภูมิบนโลกจะต่าประมาณ 180 oC


                                                                   ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
7
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้

         3. อากาศที่หุ้มห่อโลก ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่างๆ ที่มาจากนอกโลก
โดยช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ทาให้รังสีอุลตราไวโอเลตลงสู่พื้นโลกในปริมาณที่ไม่เป็น
อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ยังทาให้อุกกาบาตลุกไหม้จนหมดไปหรือมีขนาดเล็กลงเมื่อตกถึง
พื้นโลก จึงไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
         4. ช่วยให้เกิดกระบวนการต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยพบว่า ก๊าซใน
บรรยากาศมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น พืช สามารถนาก๊าซไนโตรเจน ไปใช้ใน
การเจริญเติบโต ขณะเดียวกัน พืชก็ใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
นอกจากนี้พืชและสัตว์ยังใช้ก๊าซออกซิเจนในกระบวนการหายใจ สาหรับไอน้าในอากาศนอกจาก
จะทาให้เกิดเมฆ หมอก และฝนแล้ว ยังช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่แผ่ส่งลงมายังพื้นโลก
และดูดกลืนความร้อนที่แผ่ออกมาจากโลก ทาให้อุณหภูมิของอากาศในตอนกลางวันและกลางคืน
ไม่ต่างกันมาก




                                                                  ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
8
             ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                       เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                                           แบบฝึกทักษะที่ 1
                                   เรื่อง ความสาคัญของบรรยากาศ


          ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ผลที่จะเกิดขึ้นถ้ าไม่มีอากาศตามหัวข้อต่อไปนี้ (10 คะแนน)

             หัวข้อ                                          ผลที่เกิดขึ้นถ้าไม่มีอากาศ
1. วัตถุต่าง ๆ จากนอกโลก     .........................................................................................................
      (อุกกาบาต ดาวตก)       .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
2. การดารงชีวิตของพืชสีเขียว .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
3. การดารงชีวิตของสัตว์      .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
4. อุณหภูมิช่วงกลางวันและ .........................................................................................................
กลางคืน                      .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
5. ผิวหนังของมนุษย์          .........................................................................................................
                             .........................................................................................................
                             .........................................................................................................

                                                                   ไม่ยากเลยใช่ไหมจ๊ะ....
                                                                 บันทึกคะแนนกันหน่อยซิ
                                                                  .......................................
                                                                               คะแนน

                                                                                               ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
9
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                                     ใบความรูที่ 2
                                             ้
                          เรื่อง องค์ประกอบของบรรยากาศ


        อากาศเป็นของผสมที่มีลักษณะเนื้อเดียว ประกอบด้วยแก๊สชนิดต่าง ๆ และไอน้า อากาศที่
ไม่มีไอน้าผสมอยู่เลย เรียกว่า อากาศแห้ง ส่วนอากาศที่มีไอน้าผสมอยู่ เรียกว่า อากาศชื้น โดยทั่วไป
ในอากาศจะมีไอน้าผสมอยู่ประมาณร้อยละ 0-4 ของอากาศทั้งหมด ไอน้ามีความสาคัญมาก เพราะ
เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศ เช่น ฝน ลม พายุ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง

ส่วนประกอบของอากาศแห้ง
        อากาศแห้ง คือ อากาศที่ไม่มีไอน้าผสมอยู่เลย ในอากาศแห้งส่วนใหญ่จะประกอบด้วย
แก๊สไนโตรเจนประมาณร้อยละ 78 แก๊สออกซิเจน ประมาณร้อยละ 21 และแก๊สอื่น ๆ อีกประมาณ
ร้อยละ 1 ได้แก่ แก๊สอาร์กอน ประมาณร้อยละ 0.93 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณร้อยละ 0.03
และนอกนั้นอีกประมาณร้อยละ 0.04 เป็นแก๊สนีออน ฮีเลียม คริปตอน ซีนอน ไฮโดรเจน มีเทน
ไนตรัสออกไซด์ และเรดอน ตามปกติแล้ว จะไม่มีอากาศแห้ง เนื่องจากอากาศทั่ว ๆ ไป จะเป็น
อากาศชื้นที่มีไอน้าและแก๊สอื่น ๆ ปนอยู่ด้วย

ตาราง 1 แสดงส่วนประกอบของอากาศแห้งร้อยละโดยปริมาตร

                    ส่วนประกอบของอากาศ            ปริมาณ (ร้อยละโดยปริมาตร)
                     ก๊าซไนโตรเจน (N2)                        78.08
                       ก๊าซออกซิเจน (O2)                      20.95
                        ก๊าซอาร์กอน (Ar)                       0.93
                 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)                    0.03
                            ก๊าซอื่นๆ                          0.01




                                                                   ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
10
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้




                             แผนภูมิ 1 แสดงองค์ประกอบของอากาศ
       ที่มา : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter2/chapter2_airpolution1.htm

ส่วนประกอบของอากาศชื้น
         อากาศชื้น คือ อากาศที่ไอน้าผสมอยู่ ประมาณร้อยละ 0-4 โดยมวล หมายความว่า ถ้า
อากาศชื้นมีมวล 1 กิโลกรัม (1,000 กรัม) จะมีไอน้าอยู่มากที่สุด 40 กรัม ปริมาณไอน้าในอากาศ
ทาให้ปริมาณแก๊สที่เป็นของผสมอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
        ส่วนประกอบของอากาศชื้นจะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานที่ เช่น ชายทะเล ภูเขา ป่าไม้
ชุมชน พื้นที่อุตสาหกรรม เช่น
 -                บริเวณชายทะเล ภูขา และป่าไม้ จะมีปริมาณไอน้ามาก
 -                บริเวณพื้นที่แห้งแล้ว จะมีปริมาณไอน้าน้อย
 -                บริเวณพื้นที่อุตสาหกรรม จะมีแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ฝุ่นละออง ไนโตรเจน
ไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์มาก
 -                บริเวณแหล่งชุมชนที่มีการจราจรคับคั่ง จะมีซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ฝุ่นละออง
ไนโตรเจนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์




                                                                  ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
11
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                                     ใบความรูที่ 3
                                               ้
                             เรื่อง การแข่งชั้นบรรยากาศ

    การแบ่งชั้นบรรยากาศ

         การแบ่งชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกอาจใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ในการแบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น
ใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ใช้สมบัติของแก๊สหรือส่วนผสมของแก๊สเป็นเกณฑ์หรือใช้สมบัติทาง
อุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์ซึ่งอาจมีชื่อเรียกชั้นบรรยากาศเหมือนกันหรือแตกต่างกัน ดังนี้

1. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 5 ชั้น ดังนี้
        1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) วัดได้จากพื้นดินสูงขึ้นไปประมาณ 10 กิโลเมตรขอบเขต
ของบรรยากาศชั้นนี้ในแต่ละแห่งของโลกจะไม่เท่ากัน เช่น บริเวณเส้นศูนย์สูตรบรรยากาศชั้นนี้จะ
สูงจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 16-17 กิโลเมตร ส่วนบริเวณขั้วโลกจะมีระยะสูงจากพื้นดินขึ้นไป
ประมาณ 8-10 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ มีลักษณะดังนี้




                    ภาพ 1.2 แสดงชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์
                      ที่มา : http://ohm-energy.blogspot.com/2010/12

                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
12
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



               1. อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจะลดลงประมาณ 6.5°C ต่อ
1 km. สุดเขตของบรรยากาศชั้นเรียกว่า โทรโพพอส (Tropopause) มีอุณหภูมิต่า มาก เช่น ใน
บริเวณเส้นศูนย์สูตร อุณหภูมิประมาณ –80°C และในบริเวณขั้วโลก ประมาณ –55°C
                2. บรรยากาศชั้นนี้มีความแปรปรวนมากเนื่องจากเป็นบริเวณที่มีไอน้าเมฆฝนพายุ
ต่าง ๆ ฟ้าแลบ ฟ้าร้องและฟ้าผ่า
          2. สตราโสเฟียร์ (Stratosphere) มีความสูงจากพื้นดินตั้งแต่ 10-50 กิโลเมตร มีอากาศ
เบาบาง มีเมฆน้อยมาก เนื่องจากมีปริมาณไอน้าน้อยอากาศไม่แปรปรวน นักบินจึงนาเครื่องบินบิน
อยู่ในชั้นนี้ บรรยากาศชั้นนี้มีแก๊สโอโซนมาก ซึ่งอยู่ที่ความสูงประมาณ 25 กิโลเมตร แก๊สโอโซน
นี้จะช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไว้บางส่วน เพื่อไม่ให้รังสีอัลตราไวโอเลตผ่าน
ลงมาสู่พื้นผิวโลกมากเกินไป อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้จะเพิ่มขึ้นตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น
สุดเขตของบรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า สตราโตพอส (Stratospause)
          3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere) อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 50-80 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นนี้
อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงเพิ่มขึ้นสุดเขตของบรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า มีโซพอส
( Mesopause) ซึ่งมีอุณหภูมิประมาณ –140°C เป็นบรรยากาศชั้นที่ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลก
          4. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere) บรรยากาศชั้นนี้อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 80-500
กิโลเมตร ดาวตกและอุกกาบาตจะเริ่มลุกไหม้ ในบรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้
จะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 80-100 km จากนั้นอัตราการสูงขึ้นของอุณหภูมิจะค่อย ๆ ลดลง .
โดยทั่วไปอุณหภูมิจะอยู่ในช่วง 227- 1727°C บรรยากาศชั้นนี้มีความหนาแน่นของอนุภาคต่าง ๆ
จางมาก แต่แก๊สต่างๆ ในชั้นนี้ จะอยู่ในลักษณะที่เป็นอนุภาคที่เป็นประจุไฟฟ้าเรียกว่า ไอออน
สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบางความถี่ได้ ดังนั้นบรรยากาศชั้นนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
 ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere)
          5. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere) คือบรรยากาศที่อยู่ใน ระดับความสูงจากผิวโลก 500
กิโลเมตรขึ้นไปไม่ มีแรงดึงดูดของโลก ดาวตกและอุกกาบาตจะไม่ลุกไหม้ในชั้นนี้ เนื่องจากมีแก๊ส
เบาบางมาก จนไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของบรรยากาศ




                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
13
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้

2. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์
         1. บริเวณที่มีอิทธิพลของความฝืด อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 2 กิโลเมตร บริเวณนี้
การไหลเวียนของมวลอากาศได้รับอิทธิจากความฝืดและจากลักษณะของพื้นผิวโลกนั้น ๆ
โครงสร้างในชั้นนี้จะแปรเปลี่ยนตามความสัมพันธ์ของการ ถ่ายเทความร้อนระหว่างผิวของโลกกับ
อากาศในบริเวณนั้น ๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างบรรยากาศขึ้นอยู่กับ ละติจูดและภูมิ
ประเทศเป็นสาคัญ
         2. โทรโพสเฟียร์ชั้นกลางและชั้นบน อุณหภูมิชั้นนี้จะลดลงอย่างสม่าเสมอตาม
 ระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น
         3. โทรโพสพอส อยู่ระหว่างโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์ เป็นเขตของบรรยากาศ
 ที่แบ่งชี้นที่มีไอน้าและไม่มีไอน้า
         4. สตราโตสเฟียร์ มีลักษณะอากาศเหมือนกับสตราโทสเฟียร์ที่แบ่งโดยใช้อุณหภูมิ
 เป็นเกณฑ์
         5. บรรยากาศชั้นสูง เป็นชั้นที่อยู่เหนือสตราโตสเฟียร์ถึงขอบนอกสุดของบรรยากาศ

3. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติของแก๊สหรือส่วนผสมของแก๊สเป็นเกณฑ์
   แบ่งได้เป็น 4 ชั้น ตามตารางต่อไปนี้

          ชั้นบรรยากาศ               ความสูง(km)         ส่วนผสมบรรยากาศที่สาคัญ
1.โทรโพสเฟียร์ (troposphere)             0-10                     ไอน้า
2.โอโซโนสเฟียร์ (ozonosphere)           10-55                    โอโซน
3.ชั้นไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere)       80-600           อากาศแตกตัวเป็นไอออน (Ion)
4.ชั้นเอกโซสเฟียร์ (exosphere)        600ขึ้นไป         ความหนาแน่นของอะตอมต่างๆ
                                                               มีค่าน้อยลง

       1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดกับผิวโลกขึ้นไปถึงระดับ
ความสูง ประมาณ 12 km. ส่วนผสมของอากาศที่สาคัญในชั้นนี้คือ ไอน้า จึงเป็นชั้นที่มี
ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติเกิดขึ้นมาก




                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
14
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้

          2.โอโซโนสเฟียร์ (ozonosphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือชั้นโทรโพสเฟียร์ขึ้นไป
จนถึงระดับความสูงประมาณ 50-55 km. ส่วนผสมที่สาคัญของอากาศในชั้นนี้ คือ แก๊สโอโซน ซึ่งมี
ปริมาณมากกว่าบรรยากาศชั้นอื่น ๆ
          3. ไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือชั้นโอโซโนสเฟียร์ ขึ้นไปถึง
ระดับความสูงประมาณ 600 km. อากาศในชั้นนี้จะมีอยู่น้อยมาก และเกิดการแตกตัวเป็นประจุ
ไฟฟ้า ที่เรียกว่า ไอออน ทาให้บรรยากาศชั้นนี้มีสมบัติทางไฟฟ้าซึ่งช่วยในการสื่อสารวิทยุ โดย
สะท้อนคลื่นวิทยุกลับลงมายังผิวโลก ทาให้มนุษย์สามารถส่งคลื่นวิทยุไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกได้
เป็นระยะทางไกล ๆ
          4. เอกโซสเฟียร์ (exosphere) เป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดที่ห่อหุ้มโลกมีระดับความสูง
ตั้งแต่ 600 km.ขึ้นไป บรรยากาศในชั้นนี้จะค่อย ๆ กลืนกับอวกาศจนยากจะกาหนดลงไปได้ว่ามี
ขอบเขตเท่าใด บรรยากาศชั้นนี้มีโมเลกุลของแก๊สน้อยมาก และเป็นแก๊สที่เบา เช่น แก๊สไฮโดรเจน
และแก๊สฮีเลียม




                                                                   ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
15
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                                  แบบฝึกทักษะที่ 2
                                 เรื่อง ชั้นบรรยากาศ


  ให้นักเรียนพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ และเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ
                  เขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง (10 คะแนน)

.............1. ชั้นโทรโพสเฟียร์มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
.............2. สตราโตสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้
.............3. แก๊สโอโซนมีอยู่มากในบรรยากาศชั้นเทอร์โมสเฟียร์
.............4. เครื่องบินโดยสารระหว่างประเทศ มักจะบินอยู่ในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์
.............5. บรรยากาศชั้นมีโซสเฟียร์ มีเมฆ หมอก ฝน ลมและพายุ มากที่สุด
.............6. แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สฮีเลียมพบมากในบรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์
.............7. ไอน้า พบมากที่สุดในบรรยากาศชั้นโอโซโนสเฟียร์
.............8. ไอออนที่สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้นั้นพบในชั้นไอโอโนสเฟียร์
.............9. โทรโพสพอส อยู่ระหว่างโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์
.............10. บรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์จะพบอากาศอยู่เป็นจานวนมาก เนื่องจากอยู่ใกล้กับอวกาศ



                   ทาถูกกันกี่ข้อคะ...
         บันทึกคะแนนกันหน่อยซิ................คะแนน




                                                                  ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
16
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                             แบบฝึกทักษะที่ 3
                  เรื่อง ผังความคิดเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศ

        ให้นักเรียนเขียนผังความคิด (Mind mapping) เกี่ยวกับชั้นบรรยากาศโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ
ลงในพื้นที่ที่กาหนดให้และตกแต่งให้สวยงาม (10 คะแนน)




                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
17
       ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                 เรื่อง บรรยากาศน่ารู้




          กิจกรรมบูรณาการการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
                    กิจกรรมคาตอบดี...มีรางวัล



                                   บัตรกิจกรรม


สวัสดีคะ เพื่อนๆ วันนี้ตอมแตมมีกิจกรรมน่าสนใจมาฝากเพื่อนเพื่อน ที่มีความ
           สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มพูนทักษะรับคะแนนเพิ่มเติม
                     โดยกิจกรรมของเราวันนี้มีหัวข้อว่า

  “บรรยากาศมีความสาคัญต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลกมากน้อยเพียงใด”

  ให้นักเรียนให้เขียนความเรียง ขนาดความยาวไม่น้อยกว่า 100 คา พร้อมให้
   เหตุผลประกอบการเขียน และส่งมาที่ E-mail : krutaiscickw@gmail.com
              กิจกรรมนี้ใครเรียนเสร็จแล้วจะมีคะแนนพิเศษให้
     และจะมีการนาผลงานของนักเรียนมาจัดบอร์ดหน้าห้องเรียนสาหรับ
                         ผู้ที่เขียนได้ดีอีกด้วยจ้า.....




                                                               ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
18
          ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                    เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                           แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1
                            เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ

คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศ                3. กาหนดให้
    ก. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสม                    A คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
กับสิ่งมีชีวิต                                             B คือ แก๊สไนโตรเจน
    ข. ช่วยเสียดสีกับวัตถุภายนอกโลก ทาให้                  C คือ แก๊สอาร์กอน
ลุกไหม้หมดหรือมีขนาดเล็กลงก่อนถึงผิว                       D คือ แก๊สออกซิเจน
โลก                                                   ข้อใดเรียงลาดับส่วนประกอบของอากาศ
    ค. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวง                   แห้งจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
อาทิตย์                                               ก. D>B>A>C           ข. B>D>C>A
   ง. ช่วยดูดกลืนรังสีต่าง ๆ ไม่ใช้ผ่านสู่โลก         ค. D>B>C>A           ง. B>D>A>C
มากเกินไป
                                                   4. สมบัติในข้อใด ไม่ได้ ใช้ในการแบ่งชั้น
2. การกระทาของผู้ใดที่ทาให้ส่วนประกอบ              บรรยกาศ
ของอากาศแตกต่างไปจากเดิม                              ก. ปริมาณฝุ่นละอองและรังสี
    นุ่น ส่องไฟฉายให้ลาแสงผ่านไปในอากาศ               ข. สมบัติทางอุตุนิยมวิทยา
    นาย ทาสวนเกษตรปลูกต้นลาไย และต้น                  ค. อุณหภูมิ
ลาไยกาลังเจริญเติบโตเต็มสวน                           ง. ส่วนผสมของก๊าซ
   นพ เปิดร้านขายหมูปิ้ง มีคนเข้าร้านตลอด
ทั้งวัน                                            5. ชั้นบรรยากาศใดที่มีผลต่อการดารง
   ก. นพกับนาย           ข. นุ่นกับนาย             ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากที่สุด
   ค. นุ่นกับนพ          ง. นุ่น นพ และนาย            ก. โทรโพสเฟียร์      ข. สตราโทสเฟียร์
                                                      ค. มีโซสเฟียร์       ง. เทอร์โมสเฟียร์




                                                                   ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
19
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้

6. โอโซนมีประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างไร               9. อุกกาบาตจากนอกโลกเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่
   ก. ช่วยในการสร้างวิตามินดีในร่างกาย           แรงดึงดูดของโลก จะเริ่มลุกไหม้ใน
มนุษย์                                           บรรยากาศชั้นใด
   ข. เป็นแหล่งผลิตออกซิเจนที่สาคั ญ                ก. โทรโพสเฟียร์     ข. สตราโตสเฟียร์
   ค. ช่วยให้โลกอบอุ่นขึ้น                          ค. มีโซสเฟียร์      ง. เทอร์โมสเฟียร์
   ง. ช่วยดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเลต
                                                 10. นักบินจะขับเครื่องบินอยู่ในบรรยากาศ
7. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศชั้นสตรา         ชั้นใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
โตสเฟียร์                                            ก. โทรโพสเฟียร์      ข. มีโซสเฟียร์
   ก. มีก๊าซโอโซน                                    ค. สตราโตสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์
   ข. มีระดับความสูง 10-50 km
   ค. มีประจุไฟฟ้าที่สามารถสะท้อน
คลื่นวิทยุได้
   ง. ไม่มีเมฆและพายุ

8. นักอุตุนิยมวิทยานาข้อมูลจาก
ชั้นบรรยากาศชั้นใดมาใช้ในการพยากรณ์
อากาศ
    ก. เทอร์โมสเฟียร์
    ข. โทรโพสเฟียร์
    ค. สตราโทสเฟียร์
    ง. มีโซสเฟียร์




                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
20
         ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                                   เรื่อง บรรยากาศน่ารู้



                                    บรรณานุกรม

ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
         ม.1 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2547.
บัญชา แสนทวี. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เล่ม 2. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
         วัฒนาพาณิช, 2546.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระ
         การเรียนรู้พื้นฐาน สารและสมบัติของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
         ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว, 2546.
_______. คู่มือการวัดผลประเมินผลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว, 2546.
สุพจน์ แสงมณีและคณะ. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพ. : โรงพิมพ์
         ประสานมิตร จากัด, 2546.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. ตะลุยโจทย์วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพมหานคร : เพิ่มทรัพย์ การพิมพ์, 2549.




                                                                 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
21
 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
                           เรื่อง บรรยากาศน่ารู้




                                ประวัติผู้จัดทา


ชื่อ-สกุล                         นางขวัญกมล จางวิริยะ
วัน เดือน ปีเกิด                  22 กุมภาพันธ์ 2519
ที่อยู่ปัจจุบัน                   218/5 หมู่ 8 ตาบลหย่วน อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา
ประวัติการศึกษา
           พ.ศ. 2537              มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเชียงคาวิทยาคม
                                  อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา
         พ.ศ. 2541                ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2)
                                  วิชาเอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป โครงการคุรุทายาท
                                  สถาบันราชภัฎเชียงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
         พ.ศ. 2545                การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
                                  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา (เน้นเคมี)
                                  มหาวิทยาลัยนเรศวร อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ประวัติการทางาน
        พ.ศ. 2542                 อาจารย์ 1 โรงเรียนนางัวราษฎร์รังสรรค์
                                  อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม
         พ.ศ. 2543                อาจารย์ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24
                                  อาเภอจุน จังหวัดพะเยา
         พ.ศ. 2546                อาจารย์ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24
                                  อาเภอจุน จังหวัดพะเยา
         พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน     ครู วิทยะฐานะชานาญการ โรงเรียนเชียงคาวิทยาคม
                                  อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา




                                                          ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 

What's hot (20)

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 

Viewers also liked

อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
การถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookการถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbook
Khwankamon Changwiriya
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
Khwankamon Changwiriya
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
bankfai1330
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
krupornpana55
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (12)

ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
การถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookการถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbook
 
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ

ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
poomarin
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
krupornpana55
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
krookay2012
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
Sutisa Tantikulwijit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
krupornpana55
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
krupornpana55
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ (20)

Sun
SunSun
Sun
 
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบกลางภาค2 ม.1 2 55
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ

  • 1. 1 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ ตัวชี้วัด มฐ. ว 6.1 ม.1/1 สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ ที่ปกคลุม ผิวโลก จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. บอกส่วนประกอบของอากาศ อากาศแห้ง และอากาศชื้นได้ 2. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างอากาศแห้งและและอากาศชื้นได้ 3. อธิบายความสาคัญของชั้นบรรยากาศและสาระสาคัญของชั้นบรรยากาศ แต่ละชั้นตามเกณฑ์ต่าง ๆ ได้ ทักษะ/กระบวนการ 1. การสังเกต 2. การลงความเห็นจากข้อมูล 3. การจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล ส่วนประกอบในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. บัตรคาสั่ง 2. แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ 3. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมาย ความสาคัญของอากาศ 4. แบบฝึกทักษะที่ 1 ความสาคัญของบรรยากาศ 5. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของบรรยากาศ 6. ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ชั้นบรรยากาศ 7. แบบฝึกทักษะที่ 2 ชั้นบรรยากาศ 8. แบบฝึกทักษะที่ 3 แผนภูมิความคิดเรื่องชั้นบรรยากาศ 9. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 2. 2 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์ ้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ ความสาคัญของ ความหมายของบรรยากาศ บรรยากาศ เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ 2 ชั่วโมง ความหมายของอากาศ ส่วนประกอบของอากาศแห้ง และอากาศชื้น ชั้นบรรยากาศ แบ่งตามเกณฑ์ต่าง ๆ สวัสดีจ้า...เพื่อน ๆ เราชื่อน้องตอมแตม จะคอยอยู่เป็นเพื่อน และเรียนรู้ไปพร้อมกับ เพือน ๆ ทุกคนคะ... ่ ถ้าพร้อมแล้วเริ่มเลยแล้วกันจ้า..... ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 3. 3 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ บัตรคาสั่ง คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถและเป็นรายกลุ่ม ซึ่งควรมีสมาชิกประมาณกลุ่มละ 4-5 คนในแต่ละกลุ่ม (คละ เก่ง ปานกลาง อ่อน) 2. อ่านคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคล 4. ศึกษาใบความรู้ทุกใบความรู้ด้วยความตั้งใจ 5. ศึกษาใบกิจกรรม 6. ปฏิบัติตามใบกิจกรรม 7. บันทึกผลการทากิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม 8. ทาแบบฝึกทักษะทุกแบบฝึก 9. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล 10. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ทางเทคโนโลยี บูรณาการเพื่อการเรียนรู้ เพื่อตอบคาถาม จากกิจกรรม คาตอบดี...มีรางวัล ทาง E-mail ได้ที่ krutaiscickw@gmail.com 11. หากนักเรียนต้องการทบทวนความรู้ สามารถยืมแผ่น CD จากครูผู้สอนเพื่อ ทบทวนความรู้นอกเวลาได้ เวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 4. 4 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศ 3. กาหนดให้ ก. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสม A คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กับสิ่งมีชีวิต B คือ แก๊สไนโตรเจน ข. ช่วยเสียดสีกับวัตถุภายนอกโลก ทาให้ C คือ แก๊สอาร์กอน ลุกไหม้หมดหรือมีขนาดเล็กลงก่อนถึงผิว D คือ แก๊สออกซิเจน โลก ข้อใดเรียงลาดับส่วนประกอบของอากาศ ค. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวง แห้งจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง อาทิตย์ ก. D>B>A>C ข. B>D>C>A ง. ช่วยดูดกลืนรังสีต่าง ๆ ไม่ใช้ผ่านสู่โลก ค. D>B>C>A ง. B>D>A>C มากเกินไป 4. สมบัติในข้อใด ไม่ได้ ใช้ในการแบ่งชั้น 2. การกระทาของผู้ใดที่ทาให้ส่วนประกอบ บรรยกาศ ของอากาศแตกต่างไปจากเดิม ก. ปริมาณฝุ่นละอองและรังสี นุ่น ส่องไฟฉายให้ลาแสงผ่านไปในอากาศ ข. สมบัติทางอุตุนิยมวิทยา นาย ทาสวนเกษตรปลูกต้นลาไย และต้น ค. อุณหภูมิ ลาไยกาลังเจริญเติบโตเต็มสวน ง. ส่วนผสมของก๊าซ นพ เปิดร้านขายหมูปิ้ง มีคนเข้าร้านตลอด ทั้งวัน 5. ชั้นบรรยากาศใดที่มีผลต่อการดารง ก. นพกับนาย ข. นุ่นกับนาย ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากที่สุด ค. นุ่นกับนพ ง. นุ่น นพ และนาย ก. โทรโพสเฟียร์ ข. สตราโทสเฟียร์ ค. มีโซสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 5. 5 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ 6. โอโซนมีประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างไร 9. อุกกาบาตจากนอกโลกเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่ ก. ช่วยในการสร้างวิตามินดีในร่างกาย แรงดึงดูดของโลก จะเริ่มลุกไหม้ใน มนุษย์ บรรยากาศชั้นใด ข. เป็นแหล่งผลิตออกซิเจนที่สาคัญ ก. โทรโพสเฟียร์ ข. สตราโตสเฟียร์ ค. ช่วยให้โลกอบอุ่นขึ้น ค. มีโซสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ ง. ช่วยดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเลต 10. นักบินจะขับเครื่องบินอยู่ในบรรยากาศ 7. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศชั้นสตรา ชั้นใดจึงจะเหมาะสมที่สุด โตสเฟียร์ ก. โทรโพสเฟียร์ ข. มีโซสเฟียร์ ก. มีก๊าซโอโซน ค. สตราโตสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ ข. มีระดับความสูง 10-50 km ค. มีประจุไฟฟ้าที่สามารถสะท้อน เป็นไงบ้างคะ คลื่นวิทยุได้ ได้คะแนนเท่าไหร่กัน ง. ไม่มีเมฆและพายุ 8. นักอุตุนิยมวิทยานาข้อมูลจาก ชั้นบรรยากาศชั้นใดมาใช้ในการพยากรณ์ อากาศ ก. เทอร์โมสเฟียร์ ข. โทรโพสเฟียร์ ค. สตราโทสเฟียร์ ง. มีโซสเฟียร์ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 6. 6 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ใบความรูที่ 1 ้ เรื่อง ความหมาย ความสาคัญของอากาศ บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง อากาศที่อยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลกไว้ทั้งหมดโดยมี ขอบเขตจากระดับน้าทะเลขึ้นไปประมาณ 600 กิโลเมตร อากาศ (Weather) หมายถึง บรรยากาศบริเวณใกล้ผิวโลกและอยู่รอบตัวเราจนถึงระดับ ความสูงจากพื้นดินประมาณ 80 กิโลเมตร ภาพ 1.1 ภาพแสดงอากาศที่อยู่รอบตัวเรา ภาพโดย : ขวัญกมล จางวิริยะ วันที่ 12 มิถุนายน 2555 ความสาคัญของอากาศต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. อากาศทาหน้าที่คล้ายผ้าห่มที่หุ้มห่อโลก จึงช่วยปรับอุณหภูมิโลกให้พอเหมาะที่ สิ่งมีชีวิตจะ ดารงชีวิตอยู่ได้ อากาศที่หุ้มห่อโลกทาให้โลกร้อนขึ้นอย่างช้าๆ ในเวลากลางวัน และ ทาให้โลกเย็นตัวลงช้าๆ ในเวลากลางคืน 2. ถ้าไม่มีอากาศห่อหุ้มโลก ในเวลากลางวันอุณหภูมิบนพื้นโลกจะสูงประมาณ 110 oC ในเวลากลางคืนอุณหภูมิบนโลกจะต่าประมาณ 180 oC ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 7. 7 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ 3. อากาศที่หุ้มห่อโลก ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่างๆ ที่มาจากนอกโลก โดยช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ทาให้รังสีอุลตราไวโอเลตลงสู่พื้นโลกในปริมาณที่ไม่เป็น อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ยังทาให้อุกกาบาตลุกไหม้จนหมดไปหรือมีขนาดเล็กลงเมื่อตกถึง พื้นโลก จึงไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต 4. ช่วยให้เกิดกระบวนการต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยพบว่า ก๊าซใน บรรยากาศมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น พืช สามารถนาก๊าซไนโตรเจน ไปใช้ใน การเจริญเติบโต ขณะเดียวกัน พืชก็ใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง นอกจากนี้พืชและสัตว์ยังใช้ก๊าซออกซิเจนในกระบวนการหายใจ สาหรับไอน้าในอากาศนอกจาก จะทาให้เกิดเมฆ หมอก และฝนแล้ว ยังช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่แผ่ส่งลงมายังพื้นโลก และดูดกลืนความร้อนที่แผ่ออกมาจากโลก ทาให้อุณหภูมิของอากาศในตอนกลางวันและกลางคืน ไม่ต่างกันมาก ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 8. 8 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง ความสาคัญของบรรยากาศ ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ผลที่จะเกิดขึ้นถ้ าไม่มีอากาศตามหัวข้อต่อไปนี้ (10 คะแนน) หัวข้อ ผลที่เกิดขึ้นถ้าไม่มีอากาศ 1. วัตถุต่าง ๆ จากนอกโลก ......................................................................................................... (อุกกาบาต ดาวตก) ......................................................................................................... ......................................................................................................... 2. การดารงชีวิตของพืชสีเขียว ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... 3. การดารงชีวิตของสัตว์ ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... 4. อุณหภูมิช่วงกลางวันและ ......................................................................................................... กลางคืน ......................................................................................................... ......................................................................................................... 5. ผิวหนังของมนุษย์ ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ไม่ยากเลยใช่ไหมจ๊ะ.... บันทึกคะแนนกันหน่อยซิ ....................................... คะแนน ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 9. 9 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ใบความรูที่ 2 ้ เรื่อง องค์ประกอบของบรรยากาศ อากาศเป็นของผสมที่มีลักษณะเนื้อเดียว ประกอบด้วยแก๊สชนิดต่าง ๆ และไอน้า อากาศที่ ไม่มีไอน้าผสมอยู่เลย เรียกว่า อากาศแห้ง ส่วนอากาศที่มีไอน้าผสมอยู่ เรียกว่า อากาศชื้น โดยทั่วไป ในอากาศจะมีไอน้าผสมอยู่ประมาณร้อยละ 0-4 ของอากาศทั้งหมด ไอน้ามีความสาคัญมาก เพราะ เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์ทางลมฟ้าอากาศ เช่น ฝน ลม พายุ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ส่วนประกอบของอากาศแห้ง อากาศแห้ง คือ อากาศที่ไม่มีไอน้าผสมอยู่เลย ในอากาศแห้งส่วนใหญ่จะประกอบด้วย แก๊สไนโตรเจนประมาณร้อยละ 78 แก๊สออกซิเจน ประมาณร้อยละ 21 และแก๊สอื่น ๆ อีกประมาณ ร้อยละ 1 ได้แก่ แก๊สอาร์กอน ประมาณร้อยละ 0.93 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณร้อยละ 0.03 และนอกนั้นอีกประมาณร้อยละ 0.04 เป็นแก๊สนีออน ฮีเลียม คริปตอน ซีนอน ไฮโดรเจน มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และเรดอน ตามปกติแล้ว จะไม่มีอากาศแห้ง เนื่องจากอากาศทั่ว ๆ ไป จะเป็น อากาศชื้นที่มีไอน้าและแก๊สอื่น ๆ ปนอยู่ด้วย ตาราง 1 แสดงส่วนประกอบของอากาศแห้งร้อยละโดยปริมาตร ส่วนประกอบของอากาศ ปริมาณ (ร้อยละโดยปริมาตร) ก๊าซไนโตรเจน (N2) 78.08 ก๊าซออกซิเจน (O2) 20.95 ก๊าซอาร์กอน (Ar) 0.93 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03 ก๊าซอื่นๆ 0.01 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 10. 10 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ แผนภูมิ 1 แสดงองค์ประกอบของอากาศ ที่มา : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter2/chapter2_airpolution1.htm ส่วนประกอบของอากาศชื้น อากาศชื้น คือ อากาศที่ไอน้าผสมอยู่ ประมาณร้อยละ 0-4 โดยมวล หมายความว่า ถ้า อากาศชื้นมีมวล 1 กิโลกรัม (1,000 กรัม) จะมีไอน้าอยู่มากที่สุด 40 กรัม ปริมาณไอน้าในอากาศ ทาให้ปริมาณแก๊สที่เป็นของผสมอื่น ๆ เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ส่วนประกอบของอากาศชื้นจะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานที่ เช่น ชายทะเล ภูเขา ป่าไม้ ชุมชน พื้นที่อุตสาหกรรม เช่น - บริเวณชายทะเล ภูขา และป่าไม้ จะมีปริมาณไอน้ามาก - บริเวณพื้นที่แห้งแล้ว จะมีปริมาณไอน้าน้อย - บริเวณพื้นที่อุตสาหกรรม จะมีแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ฝุ่นละออง ไนโตรเจน ไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์มาก - บริเวณแหล่งชุมชนที่มีการจราจรคับคั่ง จะมีซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ฝุ่นละออง ไนโตรเจนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 11. 11 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ใบความรูที่ 3 ้ เรื่อง การแข่งชั้นบรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกอาจใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ในการแบ่งได้หลายรูปแบบ เช่น ใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ใช้สมบัติของแก๊สหรือส่วนผสมของแก๊สเป็นเกณฑ์หรือใช้สมบัติทาง อุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์ซึ่งอาจมีชื่อเรียกชั้นบรรยากาศเหมือนกันหรือแตกต่างกัน ดังนี้ 1. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 5 ชั้น ดังนี้ 1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) วัดได้จากพื้นดินสูงขึ้นไปประมาณ 10 กิโลเมตรขอบเขต ของบรรยากาศชั้นนี้ในแต่ละแห่งของโลกจะไม่เท่ากัน เช่น บริเวณเส้นศูนย์สูตรบรรยากาศชั้นนี้จะ สูงจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 16-17 กิโลเมตร ส่วนบริเวณขั้วโลกจะมีระยะสูงจากพื้นดินขึ้นไป ประมาณ 8-10 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ มีลักษณะดังนี้ ภาพ 1.2 แสดงชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ ที่มา : http://ohm-energy.blogspot.com/2010/12 ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 12. 12 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ 1. อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจะลดลงประมาณ 6.5°C ต่อ 1 km. สุดเขตของบรรยากาศชั้นเรียกว่า โทรโพพอส (Tropopause) มีอุณหภูมิต่า มาก เช่น ใน บริเวณเส้นศูนย์สูตร อุณหภูมิประมาณ –80°C และในบริเวณขั้วโลก ประมาณ –55°C 2. บรรยากาศชั้นนี้มีความแปรปรวนมากเนื่องจากเป็นบริเวณที่มีไอน้าเมฆฝนพายุ ต่าง ๆ ฟ้าแลบ ฟ้าร้องและฟ้าผ่า 2. สตราโสเฟียร์ (Stratosphere) มีความสูงจากพื้นดินตั้งแต่ 10-50 กิโลเมตร มีอากาศ เบาบาง มีเมฆน้อยมาก เนื่องจากมีปริมาณไอน้าน้อยอากาศไม่แปรปรวน นักบินจึงนาเครื่องบินบิน อยู่ในชั้นนี้ บรรยากาศชั้นนี้มีแก๊สโอโซนมาก ซึ่งอยู่ที่ความสูงประมาณ 25 กิโลเมตร แก๊สโอโซน นี้จะช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไว้บางส่วน เพื่อไม่ให้รังสีอัลตราไวโอเลตผ่าน ลงมาสู่พื้นผิวโลกมากเกินไป อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้จะเพิ่มขึ้นตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น สุดเขตของบรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า สตราโตพอส (Stratospause) 3. มีโซสเฟียร์ (Mesosphere) อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 50-80 กิโลเมตร บรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงเพิ่มขึ้นสุดเขตของบรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า มีโซพอส ( Mesopause) ซึ่งมีอุณหภูมิประมาณ –140°C เป็นบรรยากาศชั้นที่ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลก 4. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermosphere) บรรยากาศชั้นนี้อยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 80-500 กิโลเมตร ดาวตกและอุกกาบาตจะเริ่มลุกไหม้ ในบรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้ จะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 80-100 km จากนั้นอัตราการสูงขึ้นของอุณหภูมิจะค่อย ๆ ลดลง . โดยทั่วไปอุณหภูมิจะอยู่ในช่วง 227- 1727°C บรรยากาศชั้นนี้มีความหนาแน่นของอนุภาคต่าง ๆ จางมาก แต่แก๊สต่างๆ ในชั้นนี้ จะอยู่ในลักษณะที่เป็นอนุภาคที่เป็นประจุไฟฟ้าเรียกว่า ไอออน สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบางความถี่ได้ ดังนั้นบรรยากาศชั้นนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) 5. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere) คือบรรยากาศที่อยู่ใน ระดับความสูงจากผิวโลก 500 กิโลเมตรขึ้นไปไม่ มีแรงดึงดูดของโลก ดาวตกและอุกกาบาตจะไม่ลุกไหม้ในชั้นนี้ เนื่องจากมีแก๊ส เบาบางมาก จนไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของบรรยากาศ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 13. 13 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ 2. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์ 1. บริเวณที่มีอิทธิพลของความฝืด อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 2 กิโลเมตร บริเวณนี้ การไหลเวียนของมวลอากาศได้รับอิทธิจากความฝืดและจากลักษณะของพื้นผิวโลกนั้น ๆ โครงสร้างในชั้นนี้จะแปรเปลี่ยนตามความสัมพันธ์ของการ ถ่ายเทความร้อนระหว่างผิวของโลกกับ อากาศในบริเวณนั้น ๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างบรรยากาศขึ้นอยู่กับ ละติจูดและภูมิ ประเทศเป็นสาคัญ 2. โทรโพสเฟียร์ชั้นกลางและชั้นบน อุณหภูมิชั้นนี้จะลดลงอย่างสม่าเสมอตาม ระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น 3. โทรโพสพอส อยู่ระหว่างโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์ เป็นเขตของบรรยากาศ ที่แบ่งชี้นที่มีไอน้าและไม่มีไอน้า 4. สตราโตสเฟียร์ มีลักษณะอากาศเหมือนกับสตราโทสเฟียร์ที่แบ่งโดยใช้อุณหภูมิ เป็นเกณฑ์ 5. บรรยากาศชั้นสูง เป็นชั้นที่อยู่เหนือสตราโตสเฟียร์ถึงขอบนอกสุดของบรรยากาศ 3. การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติของแก๊สหรือส่วนผสมของแก๊สเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 4 ชั้น ตามตารางต่อไปนี้ ชั้นบรรยากาศ ความสูง(km) ส่วนผสมบรรยากาศที่สาคัญ 1.โทรโพสเฟียร์ (troposphere) 0-10 ไอน้า 2.โอโซโนสเฟียร์ (ozonosphere) 10-55 โอโซน 3.ชั้นไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) 80-600 อากาศแตกตัวเป็นไอออน (Ion) 4.ชั้นเอกโซสเฟียร์ (exosphere) 600ขึ้นไป ความหนาแน่นของอะตอมต่างๆ มีค่าน้อยลง 1. โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดกับผิวโลกขึ้นไปถึงระดับ ความสูง ประมาณ 12 km. ส่วนผสมของอากาศที่สาคัญในชั้นนี้คือ ไอน้า จึงเป็นชั้นที่มี ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติเกิดขึ้นมาก ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 14. 14 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ 2.โอโซโนสเฟียร์ (ozonosphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือชั้นโทรโพสเฟียร์ขึ้นไป จนถึงระดับความสูงประมาณ 50-55 km. ส่วนผสมที่สาคัญของอากาศในชั้นนี้ คือ แก๊สโอโซน ซึ่งมี ปริมาณมากกว่าบรรยากาศชั้นอื่น ๆ 3. ไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่เหนือชั้นโอโซโนสเฟียร์ ขึ้นไปถึง ระดับความสูงประมาณ 600 km. อากาศในชั้นนี้จะมีอยู่น้อยมาก และเกิดการแตกตัวเป็นประจุ ไฟฟ้า ที่เรียกว่า ไอออน ทาให้บรรยากาศชั้นนี้มีสมบัติทางไฟฟ้าซึ่งช่วยในการสื่อสารวิทยุ โดย สะท้อนคลื่นวิทยุกลับลงมายังผิวโลก ทาให้มนุษย์สามารถส่งคลื่นวิทยุไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ เป็นระยะทางไกล ๆ 4. เอกโซสเฟียร์ (exosphere) เป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดที่ห่อหุ้มโลกมีระดับความสูง ตั้งแต่ 600 km.ขึ้นไป บรรยากาศในชั้นนี้จะค่อย ๆ กลืนกับอวกาศจนยากจะกาหนดลงไปได้ว่ามี ขอบเขตเท่าใด บรรยากาศชั้นนี้มีโมเลกุลของแก๊สน้อยมาก และเป็นแก๊สที่เบา เช่น แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สฮีเลียม ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 15. 15 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ แบบฝึกทักษะที่ 2 เรื่อง ชั้นบรรยากาศ ให้นักเรียนพิจารณาข้อความที่กาหนดให้ และเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ เขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง (10 คะแนน) .............1. ชั้นโทรโพสเฟียร์มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ .............2. สตราโตสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้ .............3. แก๊สโอโซนมีอยู่มากในบรรยากาศชั้นเทอร์โมสเฟียร์ .............4. เครื่องบินโดยสารระหว่างประเทศ มักจะบินอยู่ในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ .............5. บรรยากาศชั้นมีโซสเฟียร์ มีเมฆ หมอก ฝน ลมและพายุ มากที่สุด .............6. แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สฮีเลียมพบมากในบรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์ .............7. ไอน้า พบมากที่สุดในบรรยากาศชั้นโอโซโนสเฟียร์ .............8. ไอออนที่สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้นั้นพบในชั้นไอโอโนสเฟียร์ .............9. โทรโพสพอส อยู่ระหว่างโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์ .............10. บรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์จะพบอากาศอยู่เป็นจานวนมาก เนื่องจากอยู่ใกล้กับอวกาศ ทาถูกกันกี่ข้อคะ... บันทึกคะแนนกันหน่อยซิ................คะแนน ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 16. 16 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ แบบฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง ผังความคิดเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศ ให้นักเรียนเขียนผังความคิด (Mind mapping) เกี่ยวกับชั้นบรรยากาศโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ลงในพื้นที่ที่กาหนดให้และตกแต่งให้สวยงาม (10 คะแนน) ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 17. 17 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ กิจกรรมบูรณาการการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ กิจกรรมคาตอบดี...มีรางวัล บัตรกิจกรรม สวัสดีคะ เพื่อนๆ วันนี้ตอมแตมมีกิจกรรมน่าสนใจมาฝากเพื่อนเพื่อน ที่มีความ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มพูนทักษะรับคะแนนเพิ่มเติม โดยกิจกรรมของเราวันนี้มีหัวข้อว่า “บรรยากาศมีความสาคัญต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลกมากน้อยเพียงใด” ให้นักเรียนให้เขียนความเรียง ขนาดความยาวไม่น้อยกว่า 100 คา พร้อมให้ เหตุผลประกอบการเขียน และส่งมาที่ E-mail : krutaiscickw@gmail.com กิจกรรมนี้ใครเรียนเสร็จแล้วจะมีคะแนนพิเศษให้ และจะมีการนาผลงานของนักเรียนมาจัดบอร์ดหน้าห้องเรียนสาหรับ ผู้ที่เขียนได้ดีอีกด้วยจ้า..... ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 18. 18 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศ 3. กาหนดให้ ก. ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะสม A คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กับสิ่งมีชีวิต B คือ แก๊สไนโตรเจน ข. ช่วยเสียดสีกับวัตถุภายนอกโลก ทาให้ C คือ แก๊สอาร์กอน ลุกไหม้หมดหรือมีขนาดเล็กลงก่อนถึงผิว D คือ แก๊สออกซิเจน โลก ข้อใดเรียงลาดับส่วนประกอบของอากาศ ค. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวง แห้งจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง อาทิตย์ ก. D>B>A>C ข. B>D>C>A ง. ช่วยดูดกลืนรังสีต่าง ๆ ไม่ใช้ผ่านสู่โลก ค. D>B>C>A ง. B>D>A>C มากเกินไป 4. สมบัติในข้อใด ไม่ได้ ใช้ในการแบ่งชั้น 2. การกระทาของผู้ใดที่ทาให้ส่วนประกอบ บรรยกาศ ของอากาศแตกต่างไปจากเดิม ก. ปริมาณฝุ่นละอองและรังสี นุ่น ส่องไฟฉายให้ลาแสงผ่านไปในอากาศ ข. สมบัติทางอุตุนิยมวิทยา นาย ทาสวนเกษตรปลูกต้นลาไย และต้น ค. อุณหภูมิ ลาไยกาลังเจริญเติบโตเต็มสวน ง. ส่วนผสมของก๊าซ นพ เปิดร้านขายหมูปิ้ง มีคนเข้าร้านตลอด ทั้งวัน 5. ชั้นบรรยากาศใดที่มีผลต่อการดารง ก. นพกับนาย ข. นุ่นกับนาย ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากที่สุด ค. นุ่นกับนพ ง. นุ่น นพ และนาย ก. โทรโพสเฟียร์ ข. สตราโทสเฟียร์ ค. มีโซสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 19. 19 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ 6. โอโซนมีประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างไร 9. อุกกาบาตจากนอกโลกเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่ ก. ช่วยในการสร้างวิตามินดีในร่างกาย แรงดึงดูดของโลก จะเริ่มลุกไหม้ใน มนุษย์ บรรยากาศชั้นใด ข. เป็นแหล่งผลิตออกซิเจนที่สาคั ญ ก. โทรโพสเฟียร์ ข. สตราโตสเฟียร์ ค. ช่วยให้โลกอบอุ่นขึ้น ค. มีโซสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ ง. ช่วยดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเลต 10. นักบินจะขับเครื่องบินอยู่ในบรรยากาศ 7. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศชั้นสตรา ชั้นใดจึงจะเหมาะสมที่สุด โตสเฟียร์ ก. โทรโพสเฟียร์ ข. มีโซสเฟียร์ ก. มีก๊าซโอโซน ค. สตราโตสเฟียร์ ง. เทอร์โมสเฟียร์ ข. มีระดับความสูง 10-50 km ค. มีประจุไฟฟ้าที่สามารถสะท้อน คลื่นวิทยุได้ ง. ไม่มีเมฆและพายุ 8. นักอุตุนิยมวิทยานาข้อมูลจาก ชั้นบรรยากาศชั้นใดมาใช้ในการพยากรณ์ อากาศ ก. เทอร์โมสเฟียร์ ข. โทรโพสเฟียร์ ค. สตราโทสเฟียร์ ง. มีโซสเฟียร์ ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 20. 20 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ บรรณานุกรม ถนัด ศรีบุญเรืองและคณะ. สื่อสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2547. บัญชา แสนทวี. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เล่ม 2. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพาณิช, 2546. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระ การเรียนรู้พื้นฐาน สารและสมบัติของสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว, 2546. _______. คู่มือการวัดผลประเมินผลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว, 2546. สุพจน์ แสงมณีและคณะ. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพ. : โรงพิมพ์ ประสานมิตร จากัด, 2546. เสียง เชษฐศิริพงศ์. ตะลุยโจทย์วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพมหานคร : เพิ่มทรัพย์ การพิมพ์, 2549. ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
  • 21. 21 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศน่ารู้ ประวัติผู้จัดทา ชื่อ-สกุล นางขวัญกมล จางวิริยะ วัน เดือน ปีเกิด 22 กุมภาพันธ์ 2519 ที่อยู่ปัจจุบัน 218/5 หมู่ 8 ตาบลหย่วน อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2537 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเชียงคาวิทยาคม อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2541 ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) วิชาเอก วิทยาศาสตร์ทั่วไป โครงการคุรุทายาท สถาบันราชภัฎเชียงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2545 การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา (เน้นเคมี) มหาวิทยาลัยนเรศวร อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ประวัติการทางาน พ.ศ. 2542 อาจารย์ 1 โรงเรียนนางัวราษฎร์รังสรรค์ อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม พ.ศ. 2543 อาจารย์ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 อาเภอจุน จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2546 อาจารย์ 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 อาเภอจุน จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน ครู วิทยะฐานะชานาญการ โรงเรียนเชียงคาวิทยาคม อาเภอเชียงคา จังหวัดพะเยา ชุดที่ 1 เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ