SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
บทบาทมหาอำ า นาจโลกของสหรั ฐ อเมริ ก า:

       กรณี ศ ึ ก ษา ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศไทยกั บ
            สหรั ฐ อเมริ ก าในมิ ต ิ ท างด้ า นเศรษฐกิ จ



      นับแต่สงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา ประเทศมหาอำานาจต่างๆ
ได้พยายามพัฒนาและสร้างอาวุธนิวเคลียร์ขึ้นไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา
จีน สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และอินเดีย เนื่องจากต้องการสร้าง
อิทธิพลในการเมืองโลกขึ้น เพื่อแสวงหาความได้เปรียบทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ ซึ่งในขณะเดียวกันก็ได้พยายามมาทางป้องกันตัวเอง
ด้วยเช่นกัน เช่น การแสวงหาพันธมิตรเพื่อเพิ่มอำานาจการต่อรองในเวที
การเมืองและมิตรระหว่างประเทศนั้นอยู่บนพื้นฐานของความช่วยเหลือ
ระหว่างประเทศ ซึ่งมีทั้งระบบการกู้ยืมและการให้เปล่าโดยมุ่งไปที่
ประเด็นทางเศรษฐกิจเป็นสำาคัญ

      ปัจจุบันสหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศมหาอำานาจโลกที่พยายาม
รักษาบทบาทเดิมของตนไว้ โดยการให้ความช่วยเหลือทางทหารบาง
ส่วนแก่ประเทศในยุโรปตะวันตก และถึงแม้การช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ
จะมีผลต่อการสร้างสรรค์ประชาคมโลกให้น่าอยู่ขึ้นแต่ก็มีนัยแฝงไปด้วย
วัตถุประสงค์ทางการเมืองอีกด้วย

  1. ความเป็ น มา/ ความสำ า คั ญ ของการก้ า วเข้ า สู ่ ม หาอำ า นาจ
     โลก

      สหรัฐอเมริกาเริ่มก้าวเข้ามาสู่ความเป็นมหาอำานาจโดยการ
พยายามรวบรวมชาติอื่นๆที่ตกเป็นอาณานิคมของประเทศอังกฤษและ
สเปนมาเป็นพวกตน และช่วยให้ประเทศเหล่านั้นหลุดจากการตกเป็น
อาณานิคมของอังกฤษและสเปนให้ตกเป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกา
แทน การกระทำานี้ทำาให้สหรัฐอเมริกามีอำานาจทางการเมืองมากขึ้นใน
การที่จะต่อรองกับประเทศอื่นในเรื่องต่างๆทั้งด้านการเมือง สังคม และ
เศรษฐกิจ
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ไม่ว่าจะเป็นประเทศฝ่าย
สัมพันธมิตรหรือฝ่ายอักษะต่างก็ได้รับความเสียหายกันถ้วนหน้า มีเพียง
2 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา (ทุนนิยม) และสหภาพโซเวียต (สังคมนิยม)
เท่านั้นที่ไม่ได้รับผลกระทบจากสงครามครั้งนี้เท่าใดนัก ทำาให้ทั้งสอง
ประเทศกลายเป็น 2 มหาอำานาจที่มีอิทธิพลหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2
สิ้นสุดลง



        ต่อมา ความเป็นมหาอำานาจของสหรัฐฯได้เริ่มก่อตัวขึ้นอย่างเข้ม
ข้น ภายหลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลง และอำานาจของรัสเซียก็เริ่ม
ถดถอยลง ผูนำาอเมริกาจึงเห็นว่าเป็นโอกาสสำาคัญในการขยายอิทธิพล
              ้
เข้าสู่เอเชีย

        การที่ความเป็นประเทศกำาลังพัฒนาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผนวกกับระบอบทุนนิยมที่เข้ามาคลุกคลานทำาให้เอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ต้องเผชิญกับศึกหนักกับการเข้ามาของประเทศสหรัฐอเมริกา จีน และ
ญี่ปุ่น ซึ่งถือว่าเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทั้งการกระบวนการผลิต
เทคโนโลยี และการค้าเป็นอย่างมาก ดังนั้นระบอบทุนนิยมที่
สหรัฐอเมริกาได้สอดแทรกผ่านสื่อไร้พรมแดน ถือเป็นเครื่องมือที่
สามารถสร้างอิทธิพลครอบโลกทางด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความ
เป็นอยู่ได้ กรณีของประเทศกำาลังพัฒนาอย่างไทย ก็อย่างจะต้องปลูก
ข้าวกันเป็นแสนๆ หรือล้านๆ เกวียน โดยใช้เวลาทั้งปี เพื่อแลกกับการ
เสพวัฒนธรรมจำาแลงเพียง 2-3 ชั่วโมง1

     หากกล่าวถึงชื่อของประเทศสหรัฐอเมริกา หลายๆคนคงจะนึกถึง
ความเป็นชาติมหาอำานาจและยิ่งใหญ่เหนือประเทศอื่นๆ แต่เมื่อได้ดู
ตัวเลขความเติบโตทางเศรษฐกิจแล้วจะพบว่าสหรัฐเป็นด้อยจีน หรืออาจ
กล่าวได้ว่าประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นหนี้ประเทศจีนอยู่อย่างมหาศาล



1
 กมล กระมลตระกูล. 2542. วิ ก ฤตเอเชี ย . พิมพ์ครั้งที่2.
กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำากัด.
ปัจจุบันนี้เอเชียเริ่มมีความสำาคัญและเป็นเป้าหมายของมหาอำานาจ
โลกในการที่ก้าวเข้ามาลงทุน ค้าขาย เพราะบริเวณเอเชียนี้ถือเป็นแหล่ง
การผลิตที่สำาคัญที่มีทั้งทรัพยากรเพียงพอต่อความต้องการ มีแรงงานคน
ที่มีทักษะ มีพื้นที่ที่สามารถตั้งฐานการผลิตได้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม
ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ยังขาดผู้ที่มีความรู้ความชำานาญ ประกอบ
กับเทคโนโลยีที่ก้าวไกลทันสมัย จึงต้องมีชาติมหาอำานาจเป็นผู้คอย
ควบคุม และเป็นผู้นำา

       อย่างไรก็ตาม ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ได้ถูกยกระดับจาก
เดิมที่ไม่ค่อยมีใครให้ความสำาคัญกับประเทศนี้นัก กลับกลายมาเป็นพื้นที่
ที่ถูกจับตามมองภายใต้บริบทโลก




  2. บทบาทมหาอำ า นาจโลกของสหรั ฐ อเมริ ก า

      ภายหลังการสิ้นสุดช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บทบาทของ
มหาอำานาจในทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีความโดดเด่นในเรื่องของ
การเร่งฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจ ซึ่งสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำาคัญ ซึ่ง
อาจดูได้จากประวัติศาสตร์ร่วมสมัย นับจากสงครามโลกครั้งที่สอง
เป็นต้นมา จนถึงสงครามเวียดนาม , การล่มสลายของสหภาพโซเวียต ,
การบุกอิรัก , เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001, การบุกอัฟกานิสถาน
และอิรัก เป็นต้น ดังนั้น สหรัฐอเมริกาจึงถือได้ว่าเป็นอภิมหาอำานาจที่
โดดเด่นกว่ามหาอำานาจอื่นๆทั่วไปในโลก อันเนื่องมาจากการดำาเนิน
นโยบายต่างประเทศที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและเฉียบขาด อีกทั้งยังเข้า
มามีบทบาทในองค์การระหว่างประเทศทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค
ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่สำาคัญไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ
และการเมือง ดังนี้

ธนาคารโลก (World Bank)
ธนาคารโลก หรือ ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่าง
ประเทศ (International
Bank for Reconstruction and Development : IBRD) ตั้งขึ้น
ในปี ค.ศ.1946 ในสังกัด
องค์การสหประชาชาติ สำานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงวอชิงตัน ดี. ซี.
ประเทศสหรัฐอเมริกา
มีสมาชิก 135 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิก
ที่ได้รับความเสีย
หายจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยให้สมาชิกกู้ยืมไปเพื่อพัฒนาและ
บูรณะประเทศ ต่อมาได้ขยายขอบเขตของการบริการออกไปเป็นการ
สนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาและเพิ่มผล
ผลิตในประเทศที่กำาลังพัฒนาตามลักษณะกิจการที่จะลงทุนอันจะทำาให้
ชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชนในประเทศเหล่านั้นดีขึ้นนอกจากนี้ธนาคารโลกได้วางกฎ
เกณฑ์การแบ่งสรรค์เงินกู้
ตามสภาพภูมิศาสตร์ ตามลักษณะกิจการที่จะลงทุนและตามความจำาเป็น
ของโครงการในแต่ละปีเป็นการกระจายการบริการเพื่อผลประโยชน์
ของรัฐบาลประเทศสมาชิกนอกจากนี้ยังช่วย
เหลือสมาชิกด้วยการแนะนำาและให้บริการความรู้เกี่ยวกับการวางแผน
ลงทุนและบริหารการ
เงินเพื่อให้การลงทุนได้ผลเต็มที่

     เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำาหน่ายพันธบัตรในตลาด
การเงินสำาคัญของ
โลก ค่าบำารุงจากประเทศสมาชิกและเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก ซึ่ง
ทุกประเทศที่เป็น
สมาชิกจะต้องถือหุ้นของธนาคารมากบ้างน้อยบ้างตามแต่ฐานะทาง
เศรษฐกิจของแต่ละ
ประเทศ มูลค่าหุ้นละ 10,000 เหรียญสหรัฐฯ ประเทศที่ถือหุ้นมากที่สุด
คือสหรัฐอเมริกา ประมาณร้อยละ 25 ของจำานวนหุ้นทั้งหมดสำาหรับ
ประเทศไทยถือหุ้นประมาณ 115 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.45
ของหุ้นทั้งหมด

องค์ ก ารค้ า โลก (WTO)

       องค์การค้าโลก เป็นองค์การระหว่างประเทศที่มีพัฒนาการมาจาก
ข้อตกลงทั่วไป ว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า หรือ
แกตต์ (General Agreement on Tariffs and Trade: GATT) เมื่อ
ปีค.ศ. 1947 แต่ไม่มีสถานะเป็นสถาบันจนกระทั่งประเทศสมาชิกได้เปิด
การประชุมครั้งที่ 8 ในค.ศ. 1986 ที่เรียกว่าการเจรจาการค้ารอบอุรุก
วัย และผลของการประชุมส่วนหนึ่งคือ การก่อตั้งองค์การค้าโลกขึ้นใน
ปี ค.ศ.1995 องค์การนี้สังกัดอยู่ในสมัชชาแห่งสหประชาชาติ
สำานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงเจนีวาประเทศสวิตเซอร์แลนด์ปัจจุบันมี
สมาชิก 148 ประเทศ โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกอันดับที่ 59
            องค์การค้าโลก จัดตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะลดอุปสรรค
และหามาตรการลดการกีดกันทางการค้าต่อกันเพื่อให้เกิดการค้าเสรี
ระหว่างประเทศ โดยออกกฎเกณฑ์ที่จะสร้างความเป็นธรรม โปร่งใส
เปิดกว้างไปสู่การค้าเสรีต่อกัน เพราะการค้าเสรีจะช่วยให้ประชาชาติ
ทั่วโลกสามารถพัฒนาความเจริญได้ทัดเทียมกัน มาตรการเดียวที่
สหประชาชาติยังให้ประเทศต่าง ๆ คงไว้คือ มาตรการด้านภาษีศุลกากร
เท่านั้นเมื่อเกิดองค์การค้าโลกขึ้นมาแล้วบรรยากาศทางการค้าและการ
ลงทุนระหว่างประเทศดีขึ้นมาก การกีดกันทางการค้า การเลือกปฏิบัติ
และการใช้แรงกดดันต่าง ๆ ลดลงมาก

กองทุ น การเงิ น ระหว่ า งประเทศ (IMF)
     กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นองค์กรหนึ่งในสังกัดองค์การ
สหประชาชาติ เริ่มดำาเนินการในปี ค.ศ. 1947 มีสำานักงานใหญ่อยู่ที่
กรุงวอชิงตัน ดี. ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่ง
เสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเงินทุนประเทศสมาชิกจะต้องนำา
มาฝากไว้เป็นกองทุนสำารอง เมื่อมีความต้องการใช้เงินก็สามารถถอน
เงินออกไปได้การดำาเนินงานเช่นนี้เป็นความร่วมมือกันเพื่อป้องกัน
ปัญหาทางการเงินของประเทศสมาชิกอันเป็นการอำานวยความสะดวก
แก่การขยายและการเจริญเติบโตทางการค้าระหว่างประเทศโดยเฉพาะ
แก่ประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดีนัก
การให้ความช่วยเหลือสมาชิกเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้าน
การเงินระหว่างประเทศจะกระทำาโดยผ่านการประชุมพิจารณาและให้
ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันนอกจากนี้กองทุนยังให้ความช่วยเหลือใน
ด้านระบบการเงินและขจัดอุปสรรคทางด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ระหว่างประเทศ อีกทั้งเป็นแหล่งเงินทุน (เงินกู้) ชั่วคราวให้แก่ประเทศ
สมาชิกที่ขาดดุลการชำาระเงินอย่างรุนแรงอีกด้วย ปัจจุบันมีสมาชิก 184
ประเทศ


กลุ ่ ม ประเทศความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ในภู ม ิ ภ าคเอเชี ย –
แปซิ ฟ ิ ก หรื อ เอเปค

(Asia–Pacific Economic Co–operation: APEC)
        เอเปคก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1987 โดยสมาชิก 12 ประเทศซึ่ง
ประกอบด้วย อาเซียน
6 ประเทศแรก (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และ
ไทย)และประเทศ
ที่เป็นคู่ค้าสำาคัญได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
ต่อมามีประเทศเข้าร่วมอีกคือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง ไต้หวัน
เม็กซิโก ปาปัวนิว
กินี ชิลี เวียดนาม เปรู และรัสเซีย ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 21 ประเทศ
วัตถุประสงค์ในการ
จัดตั้งองค์การเอเปค เพื่อให้มีการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนใน
ภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก
โดยกำาหนดเป้าหมายให้ประเทศอุตสาหกรรมเปิดเสรีภายในปี ค.ศ.
2010 และประเทศกำาลัง
พัฒนาให้เปิดเสรีภายในปี ค.ศ.2020 ซึ่งหมายถึงทุกประเทศที่เป็น
สมาชิกจะต้องกำาจัดระบบกีดกันทางการค้าให้หมดไปในอนาคต

ข้ อ ตกลงการค้ า เสรี อ เมริ ก าเหนื อ หรื อ นาฟต้ า (North
America Free Trade Agreement: NAFTA)
       นาฟต้าจัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1992 ปัจจุบันมีสมาชิก 4 ประเทศ
คือ สหรัฐอเมริกา
แคนาดา เม็กซิโก และชิลี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดอุปสรรค
ทางการค้าและบริการ
ระหว่างประเทศสมาชิกยกเลิกภาษีศุลกากร ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็น
ธรรม ขยายโอกาส
การลงทุน คุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และแก้ไขข้อพิพาท
ทางการค้าในอนาคต
นาฟต้าจะเป็นเขตการค้าที่ใหญ่มากมีจำานวนประชากรและมูลค่าของ
สินค้าที่ผลิตได้มาก
กว่ากลุ่มเศรษฐกิจอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีข้อได้เปรียบที่มีค่าจ้างแรงงานตำ่า
และวัตถุดิบราคา
ถูกจากเม็กซิโกมีเงินทุนและเทคโนโลยีระดับสูงจากสหรัฐอเมริกาและ
แคนาดา ปัจจุบันมีนัก
ลงทุนชาวอเมริกันและแคนาดาเข้าไปตั้งโรงงานอุตสาหกรรมใน
เม็กซิโกเป็นจำานวนมาก
ทำาให้ผลผลิตของนาฟต้าแข่งขันกับตลาดโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
           นาฟต้าเป็นตลาดสำาคัญของไทยอีกแห่งหนึ่ง โดยในปี ค.ศ.
1996 ไทยส่งออกสิน
ค้าไปขายนาฟต้าประมาณร้อยละ 19.2 ของมูลค่าสินค้าส่งออกรวม
เช่น เสื้อผ้าสำาเร็จรูป
เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบแผงวงจรไฟฟ้า อาหาร
ทะเลกระป๋อง กุ้งสด
แช่เย็นแช่แข็ง อัญมณีและเครื่องประดับ เป็นต้น
      การที่ประเทศมหาอำานาจสหรัฐอเมริกานั้นแทบเข้ามามีบทบาท
เกี่ยวข้องกับองค์การทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็น
ประเทศที่ทั้งผลักดันให้องค์การทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศดำาเนิน
นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยม และมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการให้เหมาะ
สม ขณะเดียวกันส่งเสริมให้ภาคเอกชน มีบทบาททางเศรษฐกิจ ตลอดทั้ง
มีการถ่ายโอนการผลิตไปสู่เอกชน (Privatization) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ส่งเสริมให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนในแต่ละประเทศเพื่อให้ ระบบ
ทุนนิยมโลกขยายตัวและเป็นองค์การที่ทำาหน้าที่เป็นตัวกลางทางการ
เงิน ตลอดจนอำานวยความสะดวกทางด้านการเงินระหว่างประเทศ

  3. ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งไทยกั บ สหรั ฐ อเมริ ก า

    ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาเริ่มต้นขึ้นในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยประกาศให้การสนับสนุนฝ่ายญี่ปุ่น ดัง
นั้นเมื่อสงครามยุติ ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้ อังกฤษจึงได้ยื่นข้อเรียกร้องจาก
ไทยถึง 21 ข้อ แต่หลังจากเจรจาแล้วไทยยอมตกลงตามข้อเรียกร้อง 8
ข้อ ซึ่งถือได้ว่าค่อนข้างสาหัสสากรรจ์พอสมควร เพราะอังกฤษต้องการ
ควบคุมไทยในฐานะประเทศผู้แพ้สงคราม อังกฤษเสนอให้ไทยลด
อำานาจและอิทธิพลของกองทัพลง และให้ไทยนำาเอาระบบเสรีนิยม
ประชาธิปไตยแบบอังกฤษมาใช้

      แต่สหรัฐอเมริกาในฐานะมหาอำานาจใหม่ในช่วงยุคหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 ต้องการที่จะแสดงอำานาจสร้างอิทธิพลเหนืออังกฤษ
และเห็นโอกาสเหมาะเนื่องจากอังกฤษกำาลังประสบกับภาวะฟื้นฟูหลัง
สงครามซึ่งจะต้องพึ่งความช่วยเหลือจากอเมริกา อเมริกาจึงให้ความ
ช่วยเหลือไทยโดยการเจรจากดดันให้อังกฤษลดข้อเรียกร้องจนเหลือแค่
8 ข้อ ตามที่ไทยได้ยอมรับข้อเสนอ อีกทั้งสหรัฐฯ ไม่เห็นด้วยที่อังกฤษ
จะให้ไทยลดอำานาจของกองทัพ เพราะสหรัฐฯเองก็กลัวการแผ่ขยาย
อิทธิพลของคอมมิวนิสต์ และเห็นว่ากองทัพที่เข้มแข็งเป็นสิ่งเดียวที่จะ
สามารถปราบปรามคอมมิวนิสต์ได้อย่างราบคาบ ดังนั้นการที่สหรัฐฯ
ให้การสนับสนุนความช่วยเหลือทางด้านการทหารและเศรษฐกิจของ
ไทย ส่งผลให้กองทัพและเศรษฐกิจของไทยเข้มแข็งเป็นอย่างมาก2 ซึ่ง
นโยบายไทยต่อสหรัฐอเมริกาที่มีคำาสำาคัญสำาหรับความสัมพันธ์ของไทย
– สหรัฐอเมริกา คือ

      1. ผลประโยชน์ร่วมกัน

      2. ความสมดุลหรือดุลยภาพแห่งความสัมพันธ์

      3.   นโยบายสายกลาง คือ สร้างดุลยภาพแห่งนโยบายและรักษา
           ระยะห่างอย่างเท่าเทียมกันระหว่างความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ
           กับความสัมพันธ์ไทย-จีน


2
 เศรษฐสยาม. สหรั ฐ อเมริ ก า ยุ ท ธศาสตร์ ค รองความเป็ น เจ้ า .
กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2541.
คำาสำาคัญสำาหรับความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาดัง
กล่าวสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ

     1. ระดั บ ทวิ ภ าคี

      นโยบายไทยต่อยุทธศาสตร์การครองความเป็นเจ้าของสหรัฐฯ นั้น
ไทยคงจะไม่มีทางเลือกที่จะต้องคงความเป็นพันธมิตรกับสหรัฐฯ และ
ร่วมมือกับสหรัฐฯ เพื่อหวังผลประโยชน์ที่จะได้ อย่างไรก็ตาม ในระยะ
ยาวมีความเป็นไปได้ว่า ระบบหนึ่งขั้วอำานาจจะแปรเปลี่ยนเป็นระบบ
หลายขั้วอำานาจ และอิทธิพลของสหรัฐฯ ในระยะยาวจะลดลงเรื่อยๆ ดัง
นั้นไทยควรจะต้องเตรียมนโยบายเพื่อรองรับต่อความเปลี่ยนแปลงดัง
กล่าวในระยะยาว

     สำาหรับนโยบายไทยในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การสกัดกั้น
หรือการปิดล้อมจีนของสหรัฐฯนั้น ไทยควรที่จำาดำาเนินนโยบายอย่าง
ระมัดระวัง โดยสิ่งที่ไทยควรทำาที่สุดคือการดำาเนินนโยบายสายกลาง
และการสร้างดุลยภาพแห่งนโยบาย การรักษาระยะห่างอย่างเท่าเทียม
กันระหว่างความสัมพันธ์ไทย – จีนกับความสัมพันธ์ไทย – สหรัฐฯ

      สำาหรับยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการร้ายนั้น ถึงแม้ว่าใน
ประเด็นนี้จะดูเหมือนกับว่า ไทยกับสหรัฐฯ จะมีภัยคุกคามร่วมกันก็ตาม
แต่ถ้าดูลึกลงไป ไทยจะต้องระมัดระวังในการร่วมมือกับสหรัฐฯทั้งนี้
เพราะอาจจะทำาให้ไทยเจ้าไปเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่าง
อารยธรรม สิ่งที่ไทยจะต้องดำาเนินนโยบายคือ การสร้างสมดุลของ
นโยบายที่เป็นนโยบายสายกลางโดนร่วมมือกับสหรัฐฯ แต่ขณะเดียวกัน
ก็ไม่เป็นการชักศึกเข้าบ้านไม่ทำาให้ไทยเป็นเป้าหมายของการก่อการ
ร้ายและไม่เป็นศัตรูกับโลกมุสลิม

     2. ระดั บ พหุ ภ าคี

     สำาหรับนโยบายไทยต่อสหรัฐฯ เป้าหมายที่สำาคัญคือ การสร้าง
ดุลยภาพแห่งอำานาจในภูมิภาคและในเวทีพหุภาคีต่างๆ ซึ่งไทยกับ
สหรัฐฯ น่าจะมีผลประโยชน์ร่วมกัน ในลักษณะ Win-win game
ซึ่งประเด็นสำาคัญคือ เวทีพหุภาคีโดยเฉพาะอาเซียนกำาลังเสีย
ดุลยภาพโดยอิทธิพลของจีนได้เพิ่มอย่างรวดเร็ว ในขณะที่อิทธิพลของ
สหรัฐฯ กำาลงลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะทางด้านการทูตและ
เศรษฐกิจ ดังนั้น แนวนโยบายที่ไทยควรจะดำาเนินคือ การดึงสหรัฐฯ ให้
กลับเข้ามาเพิ่มบทบาทโดยเฉพาะทางด้านการทูตและเศรษฐกิจในเวที
อาเซียนเพื่อถ่วงดุลอำานาจจีน ซึ่งในที่สุดจะนำาไปสู่การสร้างดุลยภาพ
แห่งอำานาจในภูมิภาคโดยรวม และไทยควรจะผลักดันให้สหรัฐฯจัด
ประชุมสุดยอดกับอาเซียน จัดทำาเขตการค้าเสรีอาเซียน – สหรัฐฯ รวม
ทั้งผลักดันให้อาเซียนกับสหรัฐฯ มีความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์
เหมือนกับที่จีนได้ทำากับอาเซียนไปแล้ว3

      จะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกานั้นจะเน้น
ไปทางด้านการให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่ เพื่อที่จะ
ได้ถ่วงดุลอำานาจของสหรัฐอเมริกา

    4. ผลกระทบของสหรั ฐ อเมริ ก าที ่ เ ข้ า มามี บ ทบาทใน
       ประเทศไทย

     เมื่อสหรัฐอเมริกาเข้ามามีบทบาทในไทยเพิ่มมากขึ้นก็ได้มีการนำา
นโยบายการครอบครองตลาดแลครอบงำาความคิดของประชาชนใน
ประเทศมาใช้ โดยใช้กฎระเบียบโลกใหม่และลัทธิการค้าเสรีเป็นเครื่อง
มือในการบุกรุกตลาดการค้า และใช้ระบบอเมริกันนิยม สร้างผู้นำาทาง
ความคิดแบบสหรัฐอเมริกาผ่านสื่อ วัฒนธรรม และการศึกษา เป็นเครื่อง
มือในการครอบงำาแนวคิดประชาชน

       ซึ่งนับตั้งแต่ประเทศไทยเปิดเสรีทางการเงิน ในช่วงปลายปี 2536
ได้มีเงินจำานวนมหาศาลไหลทะลักเข้าสู่ตลาดหุ้นและตลาด
อสังหาริมทรัพย์ของไทย แต่ก็เป็นแค่เงินกู้ภาคเอกชนและเงินลงทุนที่
ฉาบฉวยในตลาดหุ้น ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการไหลออกอย่างรวดเร็วเมื่อ

3
 ประภัสสร์ เทพชาตรี. ยุ ท ธศาสตร์ ส หรั ฐ ฯ ต่ อ ภู ม ิ ภ าคเอเชี ย
ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ . วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
ต้องคืนหนี้ระยะสั้น จนในที่สุดในปี 2540 ก็เกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึ้น เมื่อ
ปริมาณหนี้ของเอกชนสูงถึง 40,000 ล้านดอลลาร์ ซึ่งสูงกว่าเงินสำารอง
ทั้งหมดของไทยในขณะนั้น ส่งผลให้ค่าเงินบาทปั่นป่วน ลดค่าลงอย่าง
ฮวบฮาบ รัฐบาลจึงตัดสินใจขอความช่วยเหลือจากโครงการ IMF ซึ่ง
IMF ได้กำาหนดให้รัฐบาลต้องตัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มภาษี แต่สวนทางกับ
แนวทางการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง เนื่องจากหนี้ที่เกิดขึ้นเป็นหนี้จากการ
ลงทุนของเอกชน แต่รฐบาลและประชาชนกลับต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และ
                     ั
ในภาวะบีบรัดเช่นนี้สหรัฐอเมริกาได้ยื่นเงื่อนไขต่างๆที่เอื้อประโยชน์ให้
กับอเมริกาโดยตรง อาทิ ให้เปิดเสรีมากขึ้น แก้กฎหมายให้ต่างชาติ
ประกอบธุรกิจต่างๆอย่างเสรีทุกประเภท ซึ่งไทยก็ได้ทำาหนังสือแสดง
เจตจำานงยอมรับและจะปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ นี่คือ แผนการล่า
อาณานิคมแบบใหม่ที่ใช้กลไกเศรษฐกิจและองค์การระหว่างประเทศเข้า
ควบคุม ซึ่งไทยก็ต้องยอมรับจุดนี้แม้ว่าจะถูกเอารัดเอาเปรียบเป็นอย่าง
มากก็ตาม

    ดังนั้นจะเห็นได้ว่าภายใต้การอุปถัมภ์ของสหรัฐฯนั้น มักจะหวังผล
ตอบแทน 2 ชั้นเสมอ กล่าวคือ

      ชั ้ น แรก คือ ผลตอบแทนเชิงรูปธรรม เช่น สิทธิพิเศษของ
สหรัฐอเมริกาและคนอเมริกาในดินแดนไทย จะเห็นได้จากการที่คน
อเมริกันเดินทางเข้าเมืองไทยโดยไม่ต้องมีวีซ่า ขณะที่คนไทยจะเดิน
ทางไปสหรัฐอเมริกาต้องขอวีซ่าด้วยความยากลำาบากถูกปฏิบัติเยี่ยง
พวกขอทานขอเศษเงิน

      ชั ้ น ที ่ ส อง คือ ผลตอบแทนเชิงนามธรรม นั่นคือ “อเมริกันนิยม” ที่
แสดงออกโดยความจงรักภักดีของรัฐบาลไทยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ความนิยมคลั่งไคล้อเมริกันในสังคมไทย และรวมไปถึงปัญญาชนคนมี
ความรู้ส่วนใหญ่ในสังคมไทยที่สำาเร็จการศึกษาเล่าเรียนมาจาก
สหรัฐอเมริกา ที่มักจะยึดเอาองค์ความรู้และแนวคิดแบบอเมริกันเป็น
คัมภีร์สำาเร็จรูป

    ดังนั้น “ผลิตภัณฑ์มนุษย์อเมริกันนิยม” เหล่านี้ ยังคงระบาดอยู่ใน
กลไกต่างๆของสังคมไทยเต็มไปหมดจวบถึงปัจจุบันนี้ เมื่อความคิดและ
จิตวิญญาณเป็นหนึ่งเดียวกันมันจึงไม่ใช่ใครตามใคร แต่มันได้พัฒนา
ไปไกลถึงขั้นเป็นสายพันธ์เดียวกันแล้ว และนี่คือการสร้างอาณานิคม
ทางจิตวิญญาณ ที่ลึกกว่า แนบเนียนกว่า และมั่นคงถาวรกว่า

     ตัวอย่าง

       ประเด็นทางการเมือง สหรัฐอเมริกาภายใต้ภาวะสงครามเย็นชูธง
เรื่องลัทธิประชาธิปไตย ชูธงเรื่องเสรีภาพ สหรัฐอเมริกาให้ทุนการศึกษา
แก่นักเรียนไทย ทั้งด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ รับรู้องค์ความรู้
แบบอเมริกัน แต่สิ่งที่แอบแทรกซึมเข้าไปในสมองของคนกลุ่มต่างๆไม่
ส่าจะเป็นทหาร ตำารวจ และปัญญาชน คือ การต่อต้านลัทธิสังคมนิยม4

       นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึงผลกระทบที่มีเกี่ยวข้องกับบทบาทของ
ไทยกับการค้าเสรี และบทบาทไทยกับองค์การค้าโลก ที่มสหรัฐอเมริกา
                                                        ี
เป็นผู้นำาองค์การ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับทางด้านเศรษฐกิจไทยเป็นอย่าง
มาก ดังต่อไปนี้

บทบาทของไทยกั บ เขตการค้ า เสรี (FTA)

     ปัจจุบันประเทศไทยมีการเจรจาการค้าระหว่างประเทศกับหลาย
ประเทศ และหลายๆกลุ่มจนก่อให้เกิดเขตการค้าเสรีหลายแห่ง ซึ่งเบื้อง
ต้นจะต้องกล่าวถึงคำาว่า “เขตการค้าเสรี”

     เขตการค้ า เสรี (Free Trade Area: FTA)

      เขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) หมายถึง การรวมกลุ่ม
เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศที่มีเป้าหมายที่จะลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน
ภายในกลุ่มให้เหลือน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ในขณะเดียวกันก็จะเป็นการ
ป้องกันให้แต่ละประเทศมิสระในการจัดเก็บภาษีศุลกากรต่อประเทศนอก
กลุ่มในอัตราที่สูง การทำาเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านเปิดเสรีด้าน

4
 วิริยา ศ. ชินวรรโณ. เส้ น ทางมหาอำ า นาจ : เอกสารด้ า นนโยบาย
ต่ า งประเทศอเมริ ก าต่ อ เอเชี ย . กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์
คบไฟ, 2535.
สินค้า โดยการลดภาษี และอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการค้า
เสรีในช่วงหลังๆ จะรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านการบริการและการลงทุน
ด้วย

     เขตการค้าเสรีไทย-สหรัฐอเมริกา

      เขตการค้าเสรีไทยกับสหรัฐฯ มีการเจรจากันเกือบทุกสาขา เพราะ
ฉะนั้นถ้าเราเปิดการค้าเสรีมากขึ้น สินค้าการเกษตรของเราจะขายได้
มากขึ้น เช่น กุ้ง ข้าวหอมมะลิ สิ่งทอ ยางพารา ซึ่งมีภาษีและโควตา
ทำาให้การส่งออกของเราเป็นไปอย่างยากลำาบาก ถ้าเรามี FTA กับ
สหรัฐฯ อุปสรรคเหล่านี้ก็จะหมดไป แต่ก็ยังมีเรื่องที่ถกเถียงกัน บางส่วน
เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย และเรียกร้องให้ชะลอการเจรจา เพราะกลัวว่า
เราจะเสียเปรียบ เพราะอเมริกาเป็นมหาอำานาจอันดับหนึ่ง ถ้าเราอยาก
เปิดเสรีการค้ากับสหรัฐฯ เราต้องเปิดทุกสาขา คือ สินค้าเกษตร
อุตสาหกรรม ทั้งการค้าภาคบริการ การลงทุน เรื่องทรัพย์สินทางปัญญา
เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ใหญ่มากและดูกันให้ดี บางเรื่องเราอาจได้
ประโยชน์จากสินค้าบางตัวที่เราส่งไปขายที่สหรัฐฯ ถ้าเขาลดภาษีให้
เหลือศูนย์ เราก็อาจจะขายได้ดีขึ้น แต่ในทางกลับกันเราจะต้องเปิดเสรี
แลกกับเขาด้วย ซึ่งการเปิดเสรีในภาคบริการต้องนี้เราจะเสียเปรียบ สิ่ง
ต่างๆเหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างมากในการเจรจากับ
สหรัฐฯ5

บทบาทไทยกั บ องค์ ก ารค้ า โลก

     มีการเปิดการค้าเสรีระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้นทำาให้องค์การค้า
โลกถูกกล่าวหาว่าควบคุมระบบการค้าของโลกเพื่อผลประโยชน์ของ
ประเทศมหาอำานาจที่รำ่ารวย ซึ่งมีอยู่ในราว 20 –30 ประเทศเท่านั้น
ประเทศรำ่ารวยเหล่านี้ได้อาศัยการค้าเสรีแอบดูดดึงวัตถุดิบราคาถูกจาก
ประเทศอื่นมากอบกินเป็นความมั่งมีศรีสุขของตน มันเป็นโลกที่ชาติด้อย
พัฒนาจำานวนมากตกเป็นเหยื่อของประเทศรำ่ารวย
     ผลกระทบต่อประเทศไทยคือ สินค้าออกของไทยจะได้ราคาสูงขึ้น
และถูกกีดกันน้อยลงสามารถขยายตลาดได้มากขึ้น แต่ไทยจะต้องเปิด

ธีรภัท ชัยพิพัฒน์. การจั ด การระหว่ า งประเทศ. ม.ป.ท.,ม.ป.ป.
5
ตลาดบริการในสาขาการเงิน การคมนาคมขนส่ง ให้การคุ้มครอง
ทรัพย์สินทางปัญญา เข้มงวดในเรื่องสิทธิบัตรยา ลิขสิทธิ์คอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ และสื่อบันเทิงมากขึ้น ต้องยกเลิกมาตรการด้านการลงทุน
ต่างๆ เช่น บังคับใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการส่งเสริม บังคับให้ใช้ชิ้นส่วน
ในประเทศ เป็นต้น
      จากที่กล่าวข้างตนพบว่า การที่สหรัฐอเมริกาเข้ามามีบทบาทใน
ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นนั้น สาเหตุหนึ่งมาจากการที่สหรัฐอเมริกาให้
ความช่วยเหลือประเทศต่างๆในโลก และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นก็เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของ
อเมริกาและต้องการแสดงอำานาจเหนือประเทศอื่นๆ จึงพยายามสรรหา
ทุกวิถีทางที่จะทำาให้ตนครองความเป็นเจ้า ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจน คือ ความ
พยายามบีบบังคับให้ประเทศต่างๆเปิดเสรีทางการค้ากับอเมริกัน เพราะ
อเมริกันเห็นว่าในประเทศของตนเริ่มมีสินค้าล้นตลาดเป็นจำานวนมาก จึง
หาทางระบายสินค้าออกนอกประเทศผ่านตลาดเสรี แต่ก็ได้สร้างข้อ
กีดกันทางการค้าขึ้นมามากมาย เช่น มาตรฐานสินค้า ISO รวมถึงก่อตั้ง
องค์การระหว่างประเทศขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือเล่นงานบางประเทศ
สังเกตได้ว่าองค์การระหว่างประเทศส่วนใหญ่จะมีอเมริกันเป็นผู้กุม
อำานาจ หรือ คอยบังการอยู่เบื้องหลังเพื่อรักษาผลประโยชน์ของอเมริกา
โดยเฉพาะ ซึ่งวิธีการนี้ใช้ได้ผลสำาเร็จ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่ไม่ว่า
ผ่านมากี่ยุคกี่สมัยรัฐบาลไทยก็พึ่งพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา
เสมอมา รวมถึงแนวคิดระบบอเมริกันนิยมก็ยังสามารถครอบงำาชีวิตของ
เด็กไทยได้อีกยาวนาน

  5. สรุ ป แนวโน้ ม ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ของประเทศไทยต่ อ
     สหรั ฐ อเมริ ก าในอนาคต

     สถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ ของไทยในปั จ จุ บ ั น

     ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (open
economy) คือเป็นประเทศที่ติดต่อทำาการซื้อขายสินค้าและบริการกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน การค้าระหว่างประเทศจึงมีบทบาทสำาคัญในฐานะ
กลไกในการพัฒนาและนำาความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศ รวมทั้งมีส่วน
สำาคัญในการผลักดันให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว นับ
ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นปีที่รัฐบาลประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 มาเป็นแนวทางในประเทศ การค้าระหว่าง
ประเทศของไทยที่ผ่านประเทศไทยส่วนใหญ่จะขาดดุลการค้า และได้
ดุลการค้าการชำาระเงินเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากสินค้าส่งออกของไทย
ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าเกษตรกรรม ได้แก่ ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก
ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์มันสำาปะหลัง กุ้งสด ทุเรียน มังคุดและที่ส่งออกมาก
ขึ้นโดยเป็นสินค้าส่งออกที่สำาคัญได้แก่ ซีเมนต์ อัญมณี ชิ้นส่วนอิเลค
ทรอนิกส์ ผ้าไหมไทย แต่ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็ได้นำาเข้าสินค้า
เยอะมาก เป็นเหตุให้เราขาดดุลการค้า สามารถจำาแนกสินค้านำาเข้าได้
ดังนี้

  •   สินค้าอุปโภคบริโภคประเภทอาหาร ผลิตภัณฑ์นม เครื่องดื่ม
      เครื่องใช้ในบ้าน มีแนวโน้มลดลงเพราะมีการผลิตทดแทนการนำา
      เข้า และพัฒนาไปสู่การผลิตเพื่อการส่งออก

  •   สินค้ากึ่งสำาเร็จรูปและวัตถุดิบ เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมภายใน มี
      แนวโน้มสูงขึ้น

  •   สินค้าประเภททุน ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องทุ่น
      แรงรถแทรกเตอร์ ปุ๋ยเคมี มีแนวโน้มสูงขึ้น

  •   สินค้าอื่นๆ ได้แก่ รถยนต์ เชื้อเพลิง อะไหล่รถยนต์ มีแนวโน้มเพิ่ม
      ขึ้น

       ในรอบระยะ 10 ปีที่ผ่านมาอัตราการนำาเข้าสินค้าของไทยสูงมาก
ขึ้น เนื่องจากการเร่งพัฒนาประเทศมีความจำาเป็นต้องนำาเข้าสินค้าทุน
มากขึ้น การบริโภคของคนในประเทศเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากพฤติกรรม
การบริโภคเลียนแบบ ซึ่งมักจะเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยและมีราคาสูง นอกจาก
นี้ประเทศไทยส่งเสริมการค้าเสรี ควบคุมการนำาเข้าเพียงไม่กี่รายการ จึง
มีการนำาเข้าสินค้าอย่างมาก จากสาเหตุเหล่านี้ เป็นเหตุให้ประเทศไทย
ขาดดุลการค้ามาตลอด6

       ปัจจุบันเศรษฐกิจและการค้าของไทยในระยะที่ผ่านมาจะขยายตัว
ในอัตราที่สูงมาก แต่จากสถานการณ์เศรษฐกิจและการค้าของโลกที่
กำาลังเปลี่ยนแปลงไปกล่าวคือ ได้มีการนำามาตรการใหม่ๆ มาเป็นข้ออ้าง
ในการกีดกันการค้ามากขึ้น เช่น การใช้มาตรการต่อต้านการทุ่มตลาด
และ ตอบโต้การอุดหนุนการห้ามนำาเข้าโดยอัตโนมัติ โดยใช้เหตุผลทาง
สุขอนามัย มาตรฐานสินค้าหรือสิ่งแวดล้อม การแข่งขันในตลาดการค้า
โลกที่มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น ในส่วนของประเทศไทยนอกจากแสวงหาผล
ประโยชน์จากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการค้าของโลกโดยเข้าร่วม
ในกลุ่มเศรษฐกิจการค้าที่มีผลประโยชน์สอดคล้องกันและผลักดันให้มี
การพัฒนาอาเซียนเป็นเขตการค้าเสรีแล้ว จะต้องพัฒนาสินค้าออกของ
ไทยให้มีศักยภาพในการแข่งขันมากขึ้นทั้งในด้านคุณภาพ มาตรฐาน
สินค้า และประสิทธิภาพในการผลิตเพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดสินค้าไทย
ในตลาดโลก รวมทั้งจะต้องแสวงหาลู่ทางที่จะขยายการลงทุนของไทย
ไปในภูมิภาคต่างๆ ให้มากขึ้นทั้งในลักษณะของการลงทุนโดยตรงและ
การร่วมทุน เพื่อเป็นช่องทางให้สินค้าออกของไทยกระจายไปสู่ตลาด
ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น
       และแนวโน้มทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยต่อสหรัฐอเมริกา
ในอนาคตนั้นจะพบว่าแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2554 ยังคงขยายตัว
ต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยเสี่ยง ดังนี้
       ปั จ จั ย สนั บ สนุ น

        • อัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มจะอยู่ในระดับตำ่า

        •   การแข็งค่าของเงินบาท ซึ่งช่วยสนับสนุนการลงทุนภายใน
            ประเทศ

        •   การเพิ่มขึ้นของฐานรายได้ผู้บริโภคฐานราก เช่น



6
 พัชรี สุวรรณศรี และสุภัทณี เปี่ยมสุวรรณกิจ. เศรษฐกิ จ โลก. ม.ท.ป,
2543.
•   การปรับเพิ่มเงินเดือนข้าราชการ รายได้เกษตรกรที่มีแนว
            โน้มปรับตัวดีขึ้นจากระดับราคาสินค้าเกษตรหลักๆ ที่มีแนว
            โน้มเพิ่มสูงขึ้น

        • ภาคการท่องเที่ยวเริ่มปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ

        • สภาพคล่องในตลาดเงินและตลาดทุนอยู่ในระดับสูง

     ปั จ จั ย เสี ่ ย งหลั ก

        •    การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเปราะบาง
        •    ความผันผวนของสภาพอากาศ
        •    ความผันผวนของราคานำ้ามัน
        •    การขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
        •    สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศ
           • แรงกดดันจากเงินเฟ้อที่อาจจะเพิ่มขึ้นในกรณีที่ราคาสินค้า
             เกษตรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากผลผลิตทางการเกษตร
             ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ7
       ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เศรษฐกิจประเทศไทยกำาลังแข็งค่าขึ้น หลังจาก
ที่ผ่านสถานการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่มา ไม่มากก็น้อยเพราะระบบ
เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัฒน์นี้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบพี่งพาทุกประเทศ
ติดต่อค้าขายทำาธุรกิจร่วมกันเมื่อประเทศหนึ่งประสบความหายนะทาง
เศรษฐกิจก็จะเป็นลูกโซ่เชื่อมโยงต่อกันไปหมด ประเด็นเรื่องเศรษฐกิจ
กลายเป็นประเด็นหลักในการวางนโยบายต่างประเทศและในทำานอง
เดียวกันนโยบายต่างประเทศก็เป็นสาระสำาคัญหลักในนโยบายเศรษฐกิจ
ของชาติ การทูตเป็นแกนนำาในการส่งเสริมและสนับสนุนความสัมพันธ์
และมิตรภาพที่ดีระหว่างประเทศไทยและประเทศต่างๆ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งกับประเทศสหรัฐฯ ที่เป็น เป้าหมายหลักของไทย ซึ่งมีความสัมพันธ์
ติดต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน และมีผลประโยชน์ร่วมกันในหลายเรื่อง
ความมั่นคงของประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคตนำ้าหนักจะอยู่ที่
เศรษฐกิจ คือ จะต้องเน้นเรื่องความมั่นคงทางเศรษฐกิจเป็นตัวหลักแล้ว
ความมั่นคงอื่นๆ จะตามมา


7
 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ. ทิ ศ ทางแนวโน้ ม เศรษฐกิ จ ไทยปี
2554. ม.ท.ป., 2554.
เอกสารอ้ า งอิ ง

กมล กระมลตระกูล. วิกฤตเอเชีย. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์
พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำากัด, 2542.
ธีรภัท ชัยพิพัฒน์. การจัดการระหว่างประเทศ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
ประภัสสร์ เทพชาตรี. ยุทธศาสตร์สหรัฐฯ ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
พัชรี สุวรรณศรี และสุภัทณี เปี่ยมสุวรรณกิจ. เศรษฐกิจโลก. ม.ท.ป.,
2543.
วิริยา ศ. ชินวรรโณ. เส้นทางมหาอำานาจ: เอกสารด้านนโยบายต่าง
ประเทศอเมริกาต่อเอเชีย. กรุงเทพฯ:
      โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2535.
เศรษฐสยาม. สหรัฐอเมริกา ยุทธศาสตร์ครองความเป็นเจ้า. กรุงเทพฯ:
อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
    , 2541.


.

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 

What's hot (20)

การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 

Viewers also liked

บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmuบทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก CmmuTaraya Srivilas
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์Yaowaluk Chaobanpho
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)
ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)
ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)Pareeya Jeenpradab
 
China model-nov-10-2011
China model-nov-10-2011China model-nov-10-2011
China model-nov-10-2011binggo89
 
China Power Piont( The Lastest)
China Power Piont( The Lastest)China Power Piont( The Lastest)
China Power Piont( The Lastest)cookiesxrun
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...Klangpanya
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นMarz Zuthamat
 
china at the world stage
china at the world stagechina at the world stage
china at the world stageTarik Smajlovic
 
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1korn jose
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11Tharapat
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) Me'e Mildd
 
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นI'am So'shy Tine
 

Viewers also liked (20)

บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmuบทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลกใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและบทบาทของประเทศในสังคมโลก
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)
ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)
ม.6.1 การประสานประโยชน์ : wtoถึงเขตการค้าเสรี (14,47)
 
China model-nov-10-2011
China model-nov-10-2011China model-nov-10-2011
China model-nov-10-2011
 
China Power Piont( The Lastest)
China Power Piont( The Lastest)China Power Piont( The Lastest)
China Power Piont( The Lastest)
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
china at the world stage
china at the world stagechina at the world stage
china at the world stage
 
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
ข้อสอบO netสังคม ม.3 ฉบับที่ 1
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่นโครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
โครงงานวัฒนธรรมญี่ปุ่น
 
Mitsubishi
MitsubishiMitsubishi
Mitsubishi
 

Similar to บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา

Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierMegatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierSongyos SRIJOHN
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงVilaporn Khankasikam
 
บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...
บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...
บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...Dr.Choen Krainara
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรศศิพร แซ่เฮ้ง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 

Similar to บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา (20)

Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierMegatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด bเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด b
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
งาน อ.ป
งาน อ.ป งาน อ.ป
งาน อ.ป
 
The Global Middle Class
The Global Middle ClassThe Global Middle Class
The Global Middle Class
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
21
2121
21
 
2
22
2
 
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงินBM 697 3.วิกฤติการเงิน
BM 697 3.วิกฤติการเงิน
 
วิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงินวิกฤติการเงิน
วิกฤติการเงิน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...
บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...
บทเรียนจากข้อตกลงเขตการค้าเสรีกับสหรัฐอเมริกา: เราสามารถสร้างการค้าที่เป็นธรร...
 
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไรสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1และ2คืออะไรจบลงอย่างไร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 

บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา

  • 1. บทบาทมหาอำ า นาจโลกของสหรั ฐ อเมริ ก า: กรณี ศ ึ ก ษา ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศไทยกั บ สหรั ฐ อเมริ ก าในมิ ต ิ ท างด้ า นเศรษฐกิ จ นับแต่สงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา ประเทศมหาอำานาจต่างๆ ได้พยายามพัฒนาและสร้างอาวุธนิวเคลียร์ขึ้นไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา จีน สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และอินเดีย เนื่องจากต้องการสร้าง อิทธิพลในการเมืองโลกขึ้น เพื่อแสวงหาความได้เปรียบทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ ซึ่งในขณะเดียวกันก็ได้พยายามมาทางป้องกันตัวเอง ด้วยเช่นกัน เช่น การแสวงหาพันธมิตรเพื่อเพิ่มอำานาจการต่อรองในเวที การเมืองและมิตรระหว่างประเทศนั้นอยู่บนพื้นฐานของความช่วยเหลือ ระหว่างประเทศ ซึ่งมีทั้งระบบการกู้ยืมและการให้เปล่าโดยมุ่งไปที่ ประเด็นทางเศรษฐกิจเป็นสำาคัญ ปัจจุบันสหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศมหาอำานาจโลกที่พยายาม รักษาบทบาทเดิมของตนไว้ โดยการให้ความช่วยเหลือทางทหารบาง ส่วนแก่ประเทศในยุโรปตะวันตก และถึงแม้การช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ จะมีผลต่อการสร้างสรรค์ประชาคมโลกให้น่าอยู่ขึ้นแต่ก็มีนัยแฝงไปด้วย วัตถุประสงค์ทางการเมืองอีกด้วย 1. ความเป็ น มา/ ความสำ า คั ญ ของการก้ า วเข้ า สู ่ ม หาอำ า นาจ โลก สหรัฐอเมริกาเริ่มก้าวเข้ามาสู่ความเป็นมหาอำานาจโดยการ พยายามรวบรวมชาติอื่นๆที่ตกเป็นอาณานิคมของประเทศอังกฤษและ สเปนมาเป็นพวกตน และช่วยให้ประเทศเหล่านั้นหลุดจากการตกเป็น อาณานิคมของอังกฤษและสเปนให้ตกเป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกา แทน การกระทำานี้ทำาให้สหรัฐอเมริกามีอำานาจทางการเมืองมากขึ้นใน การที่จะต่อรองกับประเทศอื่นในเรื่องต่างๆทั้งด้านการเมือง สังคม และ เศรษฐกิจ
  • 2. หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ไม่ว่าจะเป็นประเทศฝ่าย สัมพันธมิตรหรือฝ่ายอักษะต่างก็ได้รับความเสียหายกันถ้วนหน้า มีเพียง 2 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา (ทุนนิยม) และสหภาพโซเวียต (สังคมนิยม) เท่านั้นที่ไม่ได้รับผลกระทบจากสงครามครั้งนี้เท่าใดนัก ทำาให้ทั้งสอง ประเทศกลายเป็น 2 มหาอำานาจที่มีอิทธิพลหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ต่อมา ความเป็นมหาอำานาจของสหรัฐฯได้เริ่มก่อตัวขึ้นอย่างเข้ม ข้น ภายหลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลง และอำานาจของรัสเซียก็เริ่ม ถดถอยลง ผูนำาอเมริกาจึงเห็นว่าเป็นโอกาสสำาคัญในการขยายอิทธิพล ้ เข้าสู่เอเชีย การที่ความเป็นประเทศกำาลังพัฒนาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผนวกกับระบอบทุนนิยมที่เข้ามาคลุกคลานทำาให้เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ต้องเผชิญกับศึกหนักกับการเข้ามาของประเทศสหรัฐอเมริกา จีน และ ญี่ปุ่น ซึ่งถือว่าเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทั้งการกระบวนการผลิต เทคโนโลยี และการค้าเป็นอย่างมาก ดังนั้นระบอบทุนนิยมที่ สหรัฐอเมริกาได้สอดแทรกผ่านสื่อไร้พรมแดน ถือเป็นเครื่องมือที่ สามารถสร้างอิทธิพลครอบโลกทางด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความ เป็นอยู่ได้ กรณีของประเทศกำาลังพัฒนาอย่างไทย ก็อย่างจะต้องปลูก ข้าวกันเป็นแสนๆ หรือล้านๆ เกวียน โดยใช้เวลาทั้งปี เพื่อแลกกับการ เสพวัฒนธรรมจำาแลงเพียง 2-3 ชั่วโมง1 หากกล่าวถึงชื่อของประเทศสหรัฐอเมริกา หลายๆคนคงจะนึกถึง ความเป็นชาติมหาอำานาจและยิ่งใหญ่เหนือประเทศอื่นๆ แต่เมื่อได้ดู ตัวเลขความเติบโตทางเศรษฐกิจแล้วจะพบว่าสหรัฐเป็นด้อยจีน หรืออาจ กล่าวได้ว่าประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นหนี้ประเทศจีนอยู่อย่างมหาศาล 1 กมล กระมลตระกูล. 2542. วิ ก ฤตเอเชี ย . พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำากัด.
  • 3. ปัจจุบันนี้เอเชียเริ่มมีความสำาคัญและเป็นเป้าหมายของมหาอำานาจ โลกในการที่ก้าวเข้ามาลงทุน ค้าขาย เพราะบริเวณเอเชียนี้ถือเป็นแหล่ง การผลิตที่สำาคัญที่มีทั้งทรัพยากรเพียงพอต่อความต้องการ มีแรงงานคน ที่มีทักษะ มีพื้นที่ที่สามารถตั้งฐานการผลิตได้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ยังขาดผู้ที่มีความรู้ความชำานาญ ประกอบ กับเทคโนโลยีที่ก้าวไกลทันสมัย จึงต้องมีชาติมหาอำานาจเป็นผู้คอย ควบคุม และเป็นผู้นำา อย่างไรก็ตาม ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ได้ถูกยกระดับจาก เดิมที่ไม่ค่อยมีใครให้ความสำาคัญกับประเทศนี้นัก กลับกลายมาเป็นพื้นที่ ที่ถูกจับตามมองภายใต้บริบทโลก 2. บทบาทมหาอำ า นาจโลกของสหรั ฐ อเมริ ก า ภายหลังการสิ้นสุดช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง บทบาทของ มหาอำานาจในทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีความโดดเด่นในเรื่องของ การเร่งฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจ ซึ่งสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำาคัญ ซึ่ง อาจดูได้จากประวัติศาสตร์ร่วมสมัย นับจากสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นต้นมา จนถึงสงครามเวียดนาม , การล่มสลายของสหภาพโซเวียต , การบุกอิรัก , เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001, การบุกอัฟกานิสถาน และอิรัก เป็นต้น ดังนั้น สหรัฐอเมริกาจึงถือได้ว่าเป็นอภิมหาอำานาจที่ โดดเด่นกว่ามหาอำานาจอื่นๆทั่วไปในโลก อันเนื่องมาจากการดำาเนิน นโยบายต่างประเทศที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและเฉียบขาด อีกทั้งยังเข้า มามีบทบาทในองค์การระหว่างประเทศทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่สำาคัญไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ และการเมือง ดังนี้ ธนาคารโลก (World Bank)
  • 4. ธนาคารโลก หรือ ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่าง ประเทศ (International Bank for Reconstruction and Development : IBRD) ตั้งขึ้น ในปี ค.ศ.1946 ในสังกัด องค์การสหประชาชาติ สำานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงวอชิงตัน ดี. ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา มีสมาชิก 135 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิก ที่ได้รับความเสีย หายจากสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยให้สมาชิกกู้ยืมไปเพื่อพัฒนาและ บูรณะประเทศ ต่อมาได้ขยายขอบเขตของการบริการออกไปเป็นการ สนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาและเพิ่มผล ผลิตในประเทศที่กำาลังพัฒนาตามลักษณะกิจการที่จะลงทุนอันจะทำาให้ ชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนในประเทศเหล่านั้นดีขึ้นนอกจากนี้ธนาคารโลกได้วางกฎ เกณฑ์การแบ่งสรรค์เงินกู้ ตามสภาพภูมิศาสตร์ ตามลักษณะกิจการที่จะลงทุนและตามความจำาเป็น ของโครงการในแต่ละปีเป็นการกระจายการบริการเพื่อผลประโยชน์ ของรัฐบาลประเทศสมาชิกนอกจากนี้ยังช่วย เหลือสมาชิกด้วยการแนะนำาและให้บริการความรู้เกี่ยวกับการวางแผน ลงทุนและบริหารการ เงินเพื่อให้การลงทุนได้ผลเต็มที่ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำาหน่ายพันธบัตรในตลาด การเงินสำาคัญของ โลก ค่าบำารุงจากประเทศสมาชิกและเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก ซึ่ง ทุกประเทศที่เป็น สมาชิกจะต้องถือหุ้นของธนาคารมากบ้างน้อยบ้างตามแต่ฐานะทาง เศรษฐกิจของแต่ละ ประเทศ มูลค่าหุ้นละ 10,000 เหรียญสหรัฐฯ ประเทศที่ถือหุ้นมากที่สุด คือสหรัฐอเมริกา ประมาณร้อยละ 25 ของจำานวนหุ้นทั้งหมดสำาหรับ
  • 5. ประเทศไทยถือหุ้นประมาณ 115 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.45 ของหุ้นทั้งหมด องค์ ก ารค้ า โลก (WTO) องค์การค้าโลก เป็นองค์การระหว่างประเทศที่มีพัฒนาการมาจาก ข้อตกลงทั่วไป ว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า หรือ แกตต์ (General Agreement on Tariffs and Trade: GATT) เมื่อ ปีค.ศ. 1947 แต่ไม่มีสถานะเป็นสถาบันจนกระทั่งประเทศสมาชิกได้เปิด การประชุมครั้งที่ 8 ในค.ศ. 1986 ที่เรียกว่าการเจรจาการค้ารอบอุรุก วัย และผลของการประชุมส่วนหนึ่งคือ การก่อตั้งองค์การค้าโลกขึ้นใน ปี ค.ศ.1995 องค์การนี้สังกัดอยู่ในสมัชชาแห่งสหประชาชาติ สำานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงเจนีวาประเทศสวิตเซอร์แลนด์ปัจจุบันมี สมาชิก 148 ประเทศ โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกอันดับที่ 59 องค์การค้าโลก จัดตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะลดอุปสรรค และหามาตรการลดการกีดกันทางการค้าต่อกันเพื่อให้เกิดการค้าเสรี ระหว่างประเทศ โดยออกกฎเกณฑ์ที่จะสร้างความเป็นธรรม โปร่งใส เปิดกว้างไปสู่การค้าเสรีต่อกัน เพราะการค้าเสรีจะช่วยให้ประชาชาติ ทั่วโลกสามารถพัฒนาความเจริญได้ทัดเทียมกัน มาตรการเดียวที่ สหประชาชาติยังให้ประเทศต่าง ๆ คงไว้คือ มาตรการด้านภาษีศุลกากร เท่านั้นเมื่อเกิดองค์การค้าโลกขึ้นมาแล้วบรรยากาศทางการค้าและการ ลงทุนระหว่างประเทศดีขึ้นมาก การกีดกันทางการค้า การเลือกปฏิบัติ และการใช้แรงกดดันต่าง ๆ ลดลงมาก กองทุ น การเงิ น ระหว่ า งประเทศ (IMF) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นองค์กรหนึ่งในสังกัดองค์การ สหประชาชาติ เริ่มดำาเนินการในปี ค.ศ. 1947 มีสำานักงานใหญ่อยู่ที่ กรุงวอชิงตัน ดี. ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่ง เสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเงินทุนประเทศสมาชิกจะต้องนำา มาฝากไว้เป็นกองทุนสำารอง เมื่อมีความต้องการใช้เงินก็สามารถถอน เงินออกไปได้การดำาเนินงานเช่นนี้เป็นความร่วมมือกันเพื่อป้องกัน ปัญหาทางการเงินของประเทศสมาชิกอันเป็นการอำานวยความสะดวก แก่การขยายและการเจริญเติบโตทางการค้าระหว่างประเทศโดยเฉพาะ แก่ประเทศที่มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดีนัก
  • 6. การให้ความช่วยเหลือสมาชิกเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้าน การเงินระหว่างประเทศจะกระทำาโดยผ่านการประชุมพิจารณาและให้ ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันนอกจากนี้กองทุนยังให้ความช่วยเหลือใน ด้านระบบการเงินและขจัดอุปสรรคทางด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ระหว่างประเทศ อีกทั้งเป็นแหล่งเงินทุน (เงินกู้) ชั่วคราวให้แก่ประเทศ สมาชิกที่ขาดดุลการชำาระเงินอย่างรุนแรงอีกด้วย ปัจจุบันมีสมาชิก 184 ประเทศ กลุ ่ ม ประเทศความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ในภู ม ิ ภ าคเอเชี ย – แปซิ ฟ ิ ก หรื อ เอเปค (Asia–Pacific Economic Co–operation: APEC) เอเปคก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1987 โดยสมาชิก 12 ประเทศซึ่ง ประกอบด้วย อาเซียน 6 ประเทศแรก (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และ ไทย)และประเทศ ที่เป็นคู่ค้าสำาคัญได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ต่อมามีประเทศเข้าร่วมอีกคือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง ไต้หวัน เม็กซิโก ปาปัวนิว กินี ชิลี เวียดนาม เปรู และรัสเซีย ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 21 ประเทศ วัตถุประสงค์ในการ จัดตั้งองค์การเอเปค เพื่อให้มีการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนใน ภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก โดยกำาหนดเป้าหมายให้ประเทศอุตสาหกรรมเปิดเสรีภายในปี ค.ศ. 2010 และประเทศกำาลัง พัฒนาให้เปิดเสรีภายในปี ค.ศ.2020 ซึ่งหมายถึงทุกประเทศที่เป็น สมาชิกจะต้องกำาจัดระบบกีดกันทางการค้าให้หมดไปในอนาคต ข้ อ ตกลงการค้ า เสรี อ เมริ ก าเหนื อ หรื อ นาฟต้ า (North America Free Trade Agreement: NAFTA) นาฟต้าจัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1992 ปัจจุบันมีสมาชิก 4 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก และชิลี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดอุปสรรค
  • 7. ทางการค้าและบริการ ระหว่างประเทศสมาชิกยกเลิกภาษีศุลกากร ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็น ธรรม ขยายโอกาส การลงทุน คุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และแก้ไขข้อพิพาท ทางการค้าในอนาคต นาฟต้าจะเป็นเขตการค้าที่ใหญ่มากมีจำานวนประชากรและมูลค่าของ สินค้าที่ผลิตได้มาก กว่ากลุ่มเศรษฐกิจอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีข้อได้เปรียบที่มีค่าจ้างแรงงานตำ่า และวัตถุดิบราคา ถูกจากเม็กซิโกมีเงินทุนและเทคโนโลยีระดับสูงจากสหรัฐอเมริกาและ แคนาดา ปัจจุบันมีนัก ลงทุนชาวอเมริกันและแคนาดาเข้าไปตั้งโรงงานอุตสาหกรรมใน เม็กซิโกเป็นจำานวนมาก ทำาให้ผลผลิตของนาฟต้าแข่งขันกับตลาดโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ นาฟต้าเป็นตลาดสำาคัญของไทยอีกแห่งหนึ่ง โดยในปี ค.ศ. 1996 ไทยส่งออกสิน ค้าไปขายนาฟต้าประมาณร้อยละ 19.2 ของมูลค่าสินค้าส่งออกรวม เช่น เสื้อผ้าสำาเร็จรูป เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบแผงวงจรไฟฟ้า อาหาร ทะเลกระป๋อง กุ้งสด แช่เย็นแช่แข็ง อัญมณีและเครื่องประดับ เป็นต้น การที่ประเทศมหาอำานาจสหรัฐอเมริกานั้นแทบเข้ามามีบทบาท เกี่ยวข้องกับองค์การทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็น ประเทศที่ทั้งผลักดันให้องค์การทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศดำาเนิน นโยบายเศรษฐกิจเสรีนิยม และมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการให้เหมาะ สม ขณะเดียวกันส่งเสริมให้ภาคเอกชน มีบทบาททางเศรษฐกิจ ตลอดทั้ง มีการถ่ายโอนการผลิตไปสู่เอกชน (Privatization) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่งเสริมให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนในแต่ละประเทศเพื่อให้ ระบบ ทุนนิยมโลกขยายตัวและเป็นองค์การที่ทำาหน้าที่เป็นตัวกลางทางการ เงิน ตลอดจนอำานวยความสะดวกทางด้านการเงินระหว่างประเทศ 3. ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งไทยกั บ สหรั ฐ อเมริ ก า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาเริ่มต้นขึ้นในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยประกาศให้การสนับสนุนฝ่ายญี่ปุ่น ดัง
  • 8. นั้นเมื่อสงครามยุติ ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้ อังกฤษจึงได้ยื่นข้อเรียกร้องจาก ไทยถึง 21 ข้อ แต่หลังจากเจรจาแล้วไทยยอมตกลงตามข้อเรียกร้อง 8 ข้อ ซึ่งถือได้ว่าค่อนข้างสาหัสสากรรจ์พอสมควร เพราะอังกฤษต้องการ ควบคุมไทยในฐานะประเทศผู้แพ้สงคราม อังกฤษเสนอให้ไทยลด อำานาจและอิทธิพลของกองทัพลง และให้ไทยนำาเอาระบบเสรีนิยม ประชาธิปไตยแบบอังกฤษมาใช้ แต่สหรัฐอเมริกาในฐานะมหาอำานาจใหม่ในช่วงยุคหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ต้องการที่จะแสดงอำานาจสร้างอิทธิพลเหนืออังกฤษ และเห็นโอกาสเหมาะเนื่องจากอังกฤษกำาลังประสบกับภาวะฟื้นฟูหลัง สงครามซึ่งจะต้องพึ่งความช่วยเหลือจากอเมริกา อเมริกาจึงให้ความ ช่วยเหลือไทยโดยการเจรจากดดันให้อังกฤษลดข้อเรียกร้องจนเหลือแค่ 8 ข้อ ตามที่ไทยได้ยอมรับข้อเสนอ อีกทั้งสหรัฐฯ ไม่เห็นด้วยที่อังกฤษ จะให้ไทยลดอำานาจของกองทัพ เพราะสหรัฐฯเองก็กลัวการแผ่ขยาย อิทธิพลของคอมมิวนิสต์ และเห็นว่ากองทัพที่เข้มแข็งเป็นสิ่งเดียวที่จะ สามารถปราบปรามคอมมิวนิสต์ได้อย่างราบคาบ ดังนั้นการที่สหรัฐฯ ให้การสนับสนุนความช่วยเหลือทางด้านการทหารและเศรษฐกิจของ ไทย ส่งผลให้กองทัพและเศรษฐกิจของไทยเข้มแข็งเป็นอย่างมาก2 ซึ่ง นโยบายไทยต่อสหรัฐอเมริกาที่มีคำาสำาคัญสำาหรับความสัมพันธ์ของไทย – สหรัฐอเมริกา คือ 1. ผลประโยชน์ร่วมกัน 2. ความสมดุลหรือดุลยภาพแห่งความสัมพันธ์ 3. นโยบายสายกลาง คือ สร้างดุลยภาพแห่งนโยบายและรักษา ระยะห่างอย่างเท่าเทียมกันระหว่างความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ กับความสัมพันธ์ไทย-จีน 2 เศรษฐสยาม. สหรั ฐ อเมริ ก า ยุ ท ธศาสตร์ ค รองความเป็ น เจ้ า . กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2541.
  • 9. คำาสำาคัญสำาหรับความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาดัง กล่าวสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ 1. ระดั บ ทวิ ภ าคี นโยบายไทยต่อยุทธศาสตร์การครองความเป็นเจ้าของสหรัฐฯ นั้น ไทยคงจะไม่มีทางเลือกที่จะต้องคงความเป็นพันธมิตรกับสหรัฐฯ และ ร่วมมือกับสหรัฐฯ เพื่อหวังผลประโยชน์ที่จะได้ อย่างไรก็ตาม ในระยะ ยาวมีความเป็นไปได้ว่า ระบบหนึ่งขั้วอำานาจจะแปรเปลี่ยนเป็นระบบ หลายขั้วอำานาจ และอิทธิพลของสหรัฐฯ ในระยะยาวจะลดลงเรื่อยๆ ดัง นั้นไทยควรจะต้องเตรียมนโยบายเพื่อรองรับต่อความเปลี่ยนแปลงดัง กล่าวในระยะยาว สำาหรับนโยบายไทยในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การสกัดกั้น หรือการปิดล้อมจีนของสหรัฐฯนั้น ไทยควรที่จำาดำาเนินนโยบายอย่าง ระมัดระวัง โดยสิ่งที่ไทยควรทำาที่สุดคือการดำาเนินนโยบายสายกลาง และการสร้างดุลยภาพแห่งนโยบาย การรักษาระยะห่างอย่างเท่าเทียม กันระหว่างความสัมพันธ์ไทย – จีนกับความสัมพันธ์ไทย – สหรัฐฯ สำาหรับยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการร้ายนั้น ถึงแม้ว่าใน ประเด็นนี้จะดูเหมือนกับว่า ไทยกับสหรัฐฯ จะมีภัยคุกคามร่วมกันก็ตาม แต่ถ้าดูลึกลงไป ไทยจะต้องระมัดระวังในการร่วมมือกับสหรัฐฯทั้งนี้ เพราะอาจจะทำาให้ไทยเจ้าไปเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่าง อารยธรรม สิ่งที่ไทยจะต้องดำาเนินนโยบายคือ การสร้างสมดุลของ นโยบายที่เป็นนโยบายสายกลางโดนร่วมมือกับสหรัฐฯ แต่ขณะเดียวกัน ก็ไม่เป็นการชักศึกเข้าบ้านไม่ทำาให้ไทยเป็นเป้าหมายของการก่อการ ร้ายและไม่เป็นศัตรูกับโลกมุสลิม 2. ระดั บ พหุ ภ าคี สำาหรับนโยบายไทยต่อสหรัฐฯ เป้าหมายที่สำาคัญคือ การสร้าง ดุลยภาพแห่งอำานาจในภูมิภาคและในเวทีพหุภาคีต่างๆ ซึ่งไทยกับ สหรัฐฯ น่าจะมีผลประโยชน์ร่วมกัน ในลักษณะ Win-win game
  • 10. ซึ่งประเด็นสำาคัญคือ เวทีพหุภาคีโดยเฉพาะอาเซียนกำาลังเสีย ดุลยภาพโดยอิทธิพลของจีนได้เพิ่มอย่างรวดเร็ว ในขณะที่อิทธิพลของ สหรัฐฯ กำาลงลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะทางด้านการทูตและ เศรษฐกิจ ดังนั้น แนวนโยบายที่ไทยควรจะดำาเนินคือ การดึงสหรัฐฯ ให้ กลับเข้ามาเพิ่มบทบาทโดยเฉพาะทางด้านการทูตและเศรษฐกิจในเวที อาเซียนเพื่อถ่วงดุลอำานาจจีน ซึ่งในที่สุดจะนำาไปสู่การสร้างดุลยภาพ แห่งอำานาจในภูมิภาคโดยรวม และไทยควรจะผลักดันให้สหรัฐฯจัด ประชุมสุดยอดกับอาเซียน จัดทำาเขตการค้าเสรีอาเซียน – สหรัฐฯ รวม ทั้งผลักดันให้อาเซียนกับสหรัฐฯ มีความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เหมือนกับที่จีนได้ทำากับอาเซียนไปแล้ว3 จะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกานั้นจะเน้น ไปทางด้านการให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่ เพื่อที่จะ ได้ถ่วงดุลอำานาจของสหรัฐอเมริกา 4. ผลกระทบของสหรั ฐ อเมริ ก าที ่ เ ข้ า มามี บ ทบาทใน ประเทศไทย เมื่อสหรัฐอเมริกาเข้ามามีบทบาทในไทยเพิ่มมากขึ้นก็ได้มีการนำา นโยบายการครอบครองตลาดแลครอบงำาความคิดของประชาชนใน ประเทศมาใช้ โดยใช้กฎระเบียบโลกใหม่และลัทธิการค้าเสรีเป็นเครื่อง มือในการบุกรุกตลาดการค้า และใช้ระบบอเมริกันนิยม สร้างผู้นำาทาง ความคิดแบบสหรัฐอเมริกาผ่านสื่อ วัฒนธรรม และการศึกษา เป็นเครื่อง มือในการครอบงำาแนวคิดประชาชน ซึ่งนับตั้งแต่ประเทศไทยเปิดเสรีทางการเงิน ในช่วงปลายปี 2536 ได้มีเงินจำานวนมหาศาลไหลทะลักเข้าสู่ตลาดหุ้นและตลาด อสังหาริมทรัพย์ของไทย แต่ก็เป็นแค่เงินกู้ภาคเอกชนและเงินลงทุนที่ ฉาบฉวยในตลาดหุ้น ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการไหลออกอย่างรวดเร็วเมื่อ 3 ประภัสสร์ เทพชาตรี. ยุ ท ธศาสตร์ ส หรั ฐ ฯ ต่ อ ภู ม ิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ . วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
  • 11. ต้องคืนหนี้ระยะสั้น จนในที่สุดในปี 2540 ก็เกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึ้น เมื่อ ปริมาณหนี้ของเอกชนสูงถึง 40,000 ล้านดอลลาร์ ซึ่งสูงกว่าเงินสำารอง ทั้งหมดของไทยในขณะนั้น ส่งผลให้ค่าเงินบาทปั่นป่วน ลดค่าลงอย่าง ฮวบฮาบ รัฐบาลจึงตัดสินใจขอความช่วยเหลือจากโครงการ IMF ซึ่ง IMF ได้กำาหนดให้รัฐบาลต้องตัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มภาษี แต่สวนทางกับ แนวทางการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง เนื่องจากหนี้ที่เกิดขึ้นเป็นหนี้จากการ ลงทุนของเอกชน แต่รฐบาลและประชาชนกลับต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และ ั ในภาวะบีบรัดเช่นนี้สหรัฐอเมริกาได้ยื่นเงื่อนไขต่างๆที่เอื้อประโยชน์ให้ กับอเมริกาโดยตรง อาทิ ให้เปิดเสรีมากขึ้น แก้กฎหมายให้ต่างชาติ ประกอบธุรกิจต่างๆอย่างเสรีทุกประเภท ซึ่งไทยก็ได้ทำาหนังสือแสดง เจตจำานงยอมรับและจะปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ นี่คือ แผนการล่า อาณานิคมแบบใหม่ที่ใช้กลไกเศรษฐกิจและองค์การระหว่างประเทศเข้า ควบคุม ซึ่งไทยก็ต้องยอมรับจุดนี้แม้ว่าจะถูกเอารัดเอาเปรียบเป็นอย่าง มากก็ตาม ดังนั้นจะเห็นได้ว่าภายใต้การอุปถัมภ์ของสหรัฐฯนั้น มักจะหวังผล ตอบแทน 2 ชั้นเสมอ กล่าวคือ ชั ้ น แรก คือ ผลตอบแทนเชิงรูปธรรม เช่น สิทธิพิเศษของ สหรัฐอเมริกาและคนอเมริกาในดินแดนไทย จะเห็นได้จากการที่คน อเมริกันเดินทางเข้าเมืองไทยโดยไม่ต้องมีวีซ่า ขณะที่คนไทยจะเดิน ทางไปสหรัฐอเมริกาต้องขอวีซ่าด้วยความยากลำาบากถูกปฏิบัติเยี่ยง พวกขอทานขอเศษเงิน ชั ้ น ที ่ ส อง คือ ผลตอบแทนเชิงนามธรรม นั่นคือ “อเมริกันนิยม” ที่ แสดงออกโดยความจงรักภักดีของรัฐบาลไทยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ความนิยมคลั่งไคล้อเมริกันในสังคมไทย และรวมไปถึงปัญญาชนคนมี ความรู้ส่วนใหญ่ในสังคมไทยที่สำาเร็จการศึกษาเล่าเรียนมาจาก สหรัฐอเมริกา ที่มักจะยึดเอาองค์ความรู้และแนวคิดแบบอเมริกันเป็น คัมภีร์สำาเร็จรูป ดังนั้น “ผลิตภัณฑ์มนุษย์อเมริกันนิยม” เหล่านี้ ยังคงระบาดอยู่ใน กลไกต่างๆของสังคมไทยเต็มไปหมดจวบถึงปัจจุบันนี้ เมื่อความคิดและ
  • 12. จิตวิญญาณเป็นหนึ่งเดียวกันมันจึงไม่ใช่ใครตามใคร แต่มันได้พัฒนา ไปไกลถึงขั้นเป็นสายพันธ์เดียวกันแล้ว และนี่คือการสร้างอาณานิคม ทางจิตวิญญาณ ที่ลึกกว่า แนบเนียนกว่า และมั่นคงถาวรกว่า ตัวอย่าง ประเด็นทางการเมือง สหรัฐอเมริกาภายใต้ภาวะสงครามเย็นชูธง เรื่องลัทธิประชาธิปไตย ชูธงเรื่องเสรีภาพ สหรัฐอเมริกาให้ทุนการศึกษา แก่นักเรียนไทย ทั้งด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ รับรู้องค์ความรู้ แบบอเมริกัน แต่สิ่งที่แอบแทรกซึมเข้าไปในสมองของคนกลุ่มต่างๆไม่ ส่าจะเป็นทหาร ตำารวจ และปัญญาชน คือ การต่อต้านลัทธิสังคมนิยม4 นอกจากนี้ ยังได้กล่าวถึงผลกระทบที่มีเกี่ยวข้องกับบทบาทของ ไทยกับการค้าเสรี และบทบาทไทยกับองค์การค้าโลก ที่มสหรัฐอเมริกา ี เป็นผู้นำาองค์การ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับทางด้านเศรษฐกิจไทยเป็นอย่าง มาก ดังต่อไปนี้ บทบาทของไทยกั บ เขตการค้ า เสรี (FTA) ปัจจุบันประเทศไทยมีการเจรจาการค้าระหว่างประเทศกับหลาย ประเทศ และหลายๆกลุ่มจนก่อให้เกิดเขตการค้าเสรีหลายแห่ง ซึ่งเบื้อง ต้นจะต้องกล่าวถึงคำาว่า “เขตการค้าเสรี” เขตการค้ า เสรี (Free Trade Area: FTA) เขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) หมายถึง การรวมกลุ่ม เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศที่มีเป้าหมายที่จะลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน ภายในกลุ่มให้เหลือน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ในขณะเดียวกันก็จะเป็นการ ป้องกันให้แต่ละประเทศมิสระในการจัดเก็บภาษีศุลกากรต่อประเทศนอก กลุ่มในอัตราที่สูง การทำาเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านเปิดเสรีด้าน 4 วิริยา ศ. ชินวรรโณ. เส้ น ทางมหาอำ า นาจ : เอกสารด้ า นนโยบาย ต่ า งประเทศอเมริ ก าต่ อ เอเชี ย . กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์ คบไฟ, 2535.
  • 13. สินค้า โดยการลดภาษี และอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการค้า เสรีในช่วงหลังๆ จะรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านการบริการและการลงทุน ด้วย เขตการค้าเสรีไทย-สหรัฐอเมริกา เขตการค้าเสรีไทยกับสหรัฐฯ มีการเจรจากันเกือบทุกสาขา เพราะ ฉะนั้นถ้าเราเปิดการค้าเสรีมากขึ้น สินค้าการเกษตรของเราจะขายได้ มากขึ้น เช่น กุ้ง ข้าวหอมมะลิ สิ่งทอ ยางพารา ซึ่งมีภาษีและโควตา ทำาให้การส่งออกของเราเป็นไปอย่างยากลำาบาก ถ้าเรามี FTA กับ สหรัฐฯ อุปสรรคเหล่านี้ก็จะหมดไป แต่ก็ยังมีเรื่องที่ถกเถียงกัน บางส่วน เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย และเรียกร้องให้ชะลอการเจรจา เพราะกลัวว่า เราจะเสียเปรียบ เพราะอเมริกาเป็นมหาอำานาจอันดับหนึ่ง ถ้าเราอยาก เปิดเสรีการค้ากับสหรัฐฯ เราต้องเปิดทุกสาขา คือ สินค้าเกษตร อุตสาหกรรม ทั้งการค้าภาคบริการ การลงทุน เรื่องทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ใหญ่มากและดูกันให้ดี บางเรื่องเราอาจได้ ประโยชน์จากสินค้าบางตัวที่เราส่งไปขายที่สหรัฐฯ ถ้าเขาลดภาษีให้ เหลือศูนย์ เราก็อาจจะขายได้ดีขึ้น แต่ในทางกลับกันเราจะต้องเปิดเสรี แลกกับเขาด้วย ซึ่งการเปิดเสรีในภาคบริการต้องนี้เราจะเสียเปรียบ สิ่ง ต่างๆเหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างมากในการเจรจากับ สหรัฐฯ5 บทบาทไทยกั บ องค์ ก ารค้ า โลก มีการเปิดการค้าเสรีระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้นทำาให้องค์การค้า โลกถูกกล่าวหาว่าควบคุมระบบการค้าของโลกเพื่อผลประโยชน์ของ ประเทศมหาอำานาจที่รำ่ารวย ซึ่งมีอยู่ในราว 20 –30 ประเทศเท่านั้น ประเทศรำ่ารวยเหล่านี้ได้อาศัยการค้าเสรีแอบดูดดึงวัตถุดิบราคาถูกจาก ประเทศอื่นมากอบกินเป็นความมั่งมีศรีสุขของตน มันเป็นโลกที่ชาติด้อย พัฒนาจำานวนมากตกเป็นเหยื่อของประเทศรำ่ารวย ผลกระทบต่อประเทศไทยคือ สินค้าออกของไทยจะได้ราคาสูงขึ้น และถูกกีดกันน้อยลงสามารถขยายตลาดได้มากขึ้น แต่ไทยจะต้องเปิด ธีรภัท ชัยพิพัฒน์. การจั ด การระหว่ า งประเทศ. ม.ป.ท.,ม.ป.ป. 5
  • 14. ตลาดบริการในสาขาการเงิน การคมนาคมขนส่ง ให้การคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา เข้มงวดในเรื่องสิทธิบัตรยา ลิขสิทธิ์คอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ และสื่อบันเทิงมากขึ้น ต้องยกเลิกมาตรการด้านการลงทุน ต่างๆ เช่น บังคับใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการส่งเสริม บังคับให้ใช้ชิ้นส่วน ในประเทศ เป็นต้น จากที่กล่าวข้างตนพบว่า การที่สหรัฐอเมริกาเข้ามามีบทบาทใน ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นนั้น สาเหตุหนึ่งมาจากการที่สหรัฐอเมริกาให้ ความช่วยเหลือประเทศต่างๆในโลก และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นก็เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของ อเมริกาและต้องการแสดงอำานาจเหนือประเทศอื่นๆ จึงพยายามสรรหา ทุกวิถีทางที่จะทำาให้ตนครองความเป็นเจ้า ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจน คือ ความ พยายามบีบบังคับให้ประเทศต่างๆเปิดเสรีทางการค้ากับอเมริกัน เพราะ อเมริกันเห็นว่าในประเทศของตนเริ่มมีสินค้าล้นตลาดเป็นจำานวนมาก จึง หาทางระบายสินค้าออกนอกประเทศผ่านตลาดเสรี แต่ก็ได้สร้างข้อ กีดกันทางการค้าขึ้นมามากมาย เช่น มาตรฐานสินค้า ISO รวมถึงก่อตั้ง องค์การระหว่างประเทศขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือเล่นงานบางประเทศ สังเกตได้ว่าองค์การระหว่างประเทศส่วนใหญ่จะมีอเมริกันเป็นผู้กุม อำานาจ หรือ คอยบังการอยู่เบื้องหลังเพื่อรักษาผลประโยชน์ของอเมริกา โดยเฉพาะ ซึ่งวิธีการนี้ใช้ได้ผลสำาเร็จ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่ไม่ว่า ผ่านมากี่ยุคกี่สมัยรัฐบาลไทยก็พึ่งพาความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา เสมอมา รวมถึงแนวคิดระบบอเมริกันนิยมก็ยังสามารถครอบงำาชีวิตของ เด็กไทยได้อีกยาวนาน 5. สรุ ป แนวโน้ ม ทางด้ า นเศรษฐกิ จ ของประเทศไทยต่ อ สหรั ฐ อเมริ ก าในอนาคต สถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ ของไทยในปั จ จุ บ ั น ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (open economy) คือเป็นประเทศที่ติดต่อทำาการซื้อขายสินค้าและบริการกับ ประเทศเพื่อนบ้าน การค้าระหว่างประเทศจึงมีบทบาทสำาคัญในฐานะ กลไกในการพัฒนาและนำาความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศ รวมทั้งมีส่วน
  • 15. สำาคัญในการผลักดันให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว นับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นปีที่รัฐบาลประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 มาเป็นแนวทางในประเทศ การค้าระหว่าง ประเทศของไทยที่ผ่านประเทศไทยส่วนใหญ่จะขาดดุลการค้า และได้ ดุลการค้าการชำาระเงินเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากสินค้าส่งออกของไทย ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าเกษตรกรรม ได้แก่ ข้าว ยางพารา ไม้สัก ดีบุก ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์มันสำาปะหลัง กุ้งสด ทุเรียน มังคุดและที่ส่งออกมาก ขึ้นโดยเป็นสินค้าส่งออกที่สำาคัญได้แก่ ซีเมนต์ อัญมณี ชิ้นส่วนอิเลค ทรอนิกส์ ผ้าไหมไทย แต่ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยก็ได้นำาเข้าสินค้า เยอะมาก เป็นเหตุให้เราขาดดุลการค้า สามารถจำาแนกสินค้านำาเข้าได้ ดังนี้ • สินค้าอุปโภคบริโภคประเภทอาหาร ผลิตภัณฑ์นม เครื่องดื่ม เครื่องใช้ในบ้าน มีแนวโน้มลดลงเพราะมีการผลิตทดแทนการนำา เข้า และพัฒนาไปสู่การผลิตเพื่อการส่งออก • สินค้ากึ่งสำาเร็จรูปและวัตถุดิบ เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมภายใน มี แนวโน้มสูงขึ้น • สินค้าประเภททุน ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องทุ่น แรงรถแทรกเตอร์ ปุ๋ยเคมี มีแนวโน้มสูงขึ้น • สินค้าอื่นๆ ได้แก่ รถยนต์ เชื้อเพลิง อะไหล่รถยนต์ มีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้น ในรอบระยะ 10 ปีที่ผ่านมาอัตราการนำาเข้าสินค้าของไทยสูงมาก ขึ้น เนื่องจากการเร่งพัฒนาประเทศมีความจำาเป็นต้องนำาเข้าสินค้าทุน มากขึ้น การบริโภคของคนในประเทศเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากพฤติกรรม การบริโภคเลียนแบบ ซึ่งมักจะเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยและมีราคาสูง นอกจาก นี้ประเทศไทยส่งเสริมการค้าเสรี ควบคุมการนำาเข้าเพียงไม่กี่รายการ จึง
  • 16. มีการนำาเข้าสินค้าอย่างมาก จากสาเหตุเหล่านี้ เป็นเหตุให้ประเทศไทย ขาดดุลการค้ามาตลอด6 ปัจจุบันเศรษฐกิจและการค้าของไทยในระยะที่ผ่านมาจะขยายตัว ในอัตราที่สูงมาก แต่จากสถานการณ์เศรษฐกิจและการค้าของโลกที่ กำาลังเปลี่ยนแปลงไปกล่าวคือ ได้มีการนำามาตรการใหม่ๆ มาเป็นข้ออ้าง ในการกีดกันการค้ามากขึ้น เช่น การใช้มาตรการต่อต้านการทุ่มตลาด และ ตอบโต้การอุดหนุนการห้ามนำาเข้าโดยอัตโนมัติ โดยใช้เหตุผลทาง สุขอนามัย มาตรฐานสินค้าหรือสิ่งแวดล้อม การแข่งขันในตลาดการค้า โลกที่มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น ในส่วนของประเทศไทยนอกจากแสวงหาผล ประโยชน์จากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการค้าของโลกโดยเข้าร่วม ในกลุ่มเศรษฐกิจการค้าที่มีผลประโยชน์สอดคล้องกันและผลักดันให้มี การพัฒนาอาเซียนเป็นเขตการค้าเสรีแล้ว จะต้องพัฒนาสินค้าออกของ ไทยให้มีศักยภาพในการแข่งขันมากขึ้นทั้งในด้านคุณภาพ มาตรฐาน สินค้า และประสิทธิภาพในการผลิตเพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดสินค้าไทย ในตลาดโลก รวมทั้งจะต้องแสวงหาลู่ทางที่จะขยายการลงทุนของไทย ไปในภูมิภาคต่างๆ ให้มากขึ้นทั้งในลักษณะของการลงทุนโดยตรงและ การร่วมทุน เพื่อเป็นช่องทางให้สินค้าออกของไทยกระจายไปสู่ตลาด ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น และแนวโน้มทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยต่อสหรัฐอเมริกา ในอนาคตนั้นจะพบว่าแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2554 ยังคงขยายตัว ต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยเสี่ยง ดังนี้ ปั จ จั ย สนั บ สนุ น • อัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มจะอยู่ในระดับตำ่า • การแข็งค่าของเงินบาท ซึ่งช่วยสนับสนุนการลงทุนภายใน ประเทศ • การเพิ่มขึ้นของฐานรายได้ผู้บริโภคฐานราก เช่น 6 พัชรี สุวรรณศรี และสุภัทณี เปี่ยมสุวรรณกิจ. เศรษฐกิ จ โลก. ม.ท.ป, 2543.
  • 17. การปรับเพิ่มเงินเดือนข้าราชการ รายได้เกษตรกรที่มีแนว โน้มปรับตัวดีขึ้นจากระดับราคาสินค้าเกษตรหลักๆ ที่มีแนว โน้มเพิ่มสูงขึ้น • ภาคการท่องเที่ยวเริ่มปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ • สภาพคล่องในตลาดเงินและตลาดทุนอยู่ในระดับสูง ปั จ จั ย เสี ่ ย งหลั ก • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเปราะบาง • ความผันผวนของสภาพอากาศ • ความผันผวนของราคานำ้ามัน • การขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม • สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศ • แรงกดดันจากเงินเฟ้อที่อาจจะเพิ่มขึ้นในกรณีที่ราคาสินค้า เกษตรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากผลผลิตทางการเกษตร ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ7 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เศรษฐกิจประเทศไทยกำาลังแข็งค่าขึ้น หลังจาก ที่ผ่านสถานการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่มา ไม่มากก็น้อยเพราะระบบ เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัฒน์นี้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบพี่งพาทุกประเทศ ติดต่อค้าขายทำาธุรกิจร่วมกันเมื่อประเทศหนึ่งประสบความหายนะทาง เศรษฐกิจก็จะเป็นลูกโซ่เชื่อมโยงต่อกันไปหมด ประเด็นเรื่องเศรษฐกิจ กลายเป็นประเด็นหลักในการวางนโยบายต่างประเทศและในทำานอง เดียวกันนโยบายต่างประเทศก็เป็นสาระสำาคัญหลักในนโยบายเศรษฐกิจ ของชาติ การทูตเป็นแกนนำาในการส่งเสริมและสนับสนุนความสัมพันธ์ และมิตรภาพที่ดีระหว่างประเทศไทยและประเทศต่างๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งกับประเทศสหรัฐฯ ที่เป็น เป้าหมายหลักของไทย ซึ่งมีความสัมพันธ์ ติดต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน และมีผลประโยชน์ร่วมกันในหลายเรื่อง ความมั่นคงของประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคตนำ้าหนักจะอยู่ที่ เศรษฐกิจ คือ จะต้องเน้นเรื่องความมั่นคงทางเศรษฐกิจเป็นตัวหลักแล้ว ความมั่นคงอื่นๆ จะตามมา 7 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ. ทิ ศ ทางแนวโน้ ม เศรษฐกิ จ ไทยปี 2554. ม.ท.ป., 2554.
  • 18. เอกสารอ้ า งอิ ง กมล กระมลตระกูล. วิกฤตเอเชีย. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำากัด, 2542. ธีรภัท ชัยพิพัฒน์. การจัดการระหว่างประเทศ. ม.ป.ท., ม.ป.ป. ประภัสสร์ เทพชาตรี. ยุทธศาสตร์สหรัฐฯ ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้. ม.ป.ท., ม.ป.ป. พัชรี สุวรรณศรี และสุภัทณี เปี่ยมสุวรรณกิจ. เศรษฐกิจโลก. ม.ท.ป., 2543. วิริยา ศ. ชินวรรโณ. เส้นทางมหาอำานาจ: เอกสารด้านนโยบายต่าง ประเทศอเมริกาต่อเอเชีย. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2535. เศรษฐสยาม. สหรัฐอเมริกา ยุทธศาสตร์ครองความเป็นเจ้า. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง , 2541. .