SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
เที่ยวสุขขี 4 ชุมชน
การทองเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
อาจารยมานิศา ผิวจันทร
สาขาวิชาการทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
งานเสวนากิจกรรมเวทีกลาง ในงาน
“Thailand Medical Hub Expo 2012”
อิมแพค เมืองทองธานี (1 กันยายน 2555)
วันขางหนา....ชีวิตเราจะเปนอยางไร?
คนจํานวนมาก...มีภาวะความเครียดจากสภาพแวดลอม
และการทํางาน
การเดินทางการเดินทาง......เปนการเปลี่ยนเปนการเปลี่ยน
สภาพแวดลอมสภาพแวดลอม
และการพักผอนรูปแบบหนึ่งและการพักผอนรูปแบบหนึ่ง
คานิยมเดิม Vs คานิยมใหม • Security หมายถึง ความ
ปลอดภัยทั้งจากภัยธรรมชาติ
และความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพยสิน
• Sanitation หมายถึง ความ
สะอาดปราศจากเชื้อโรคและ
มลพิษตาง
• Satisfaction หมายถึง
ความพึงพอใจ ความประทับใจ
ทั้งสถานที่ทองเที่ยวและบริการ
การรักษาสิ่งแวดลอมและ
พัฒนาอยางยั่งยืน
จากเดิม คือ
Sea (ทะเล)
Sand (หาดทราย)
Sun (แสงแดด)
Christine Lee and Michael Spisto, Medical Tourism : the Future of Health Services
ประเภทของการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
การทองเที่ยวเชิงสงเสริมสุขภาพ (Health
Promotion Tourism)
การทองเที่ยวเชิงบําบัดรักษาสุขภาพ
(Heath Healing Tourism)
กิจกรรมดานการทองเที่ยวเชิงสงเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Tourism)
• การทองเที่ยวที่เนนกิจกรรมดานการดูแล ฟนฟูสภาพ
รางกายและจิตใจ เพื่อความผอนคลายดานกายภาพ
• แตมิใชเพื่อการรักษาโรค
• เชน การนวด ประคบสมุนไพร การอาบน้ําแร การปฏิบัติ
สมาธิ เปนตน
• ซึ่งประโยชนที่ไดรับเปนไปในทางการสงเสริมสุขภาพและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของนักทองเที่ยว
รูปแบบการทองเที่ยวเชิงสงเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Tourism)
การนวดแผนไทย
(Thai Massage)
เปนวิธีการนวดหรือ การกดบนรางกายอยาง
มีระบบเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อย และ
รักษาโรค สามารถใชในทางกายภาพบําบัดได
การอบสมุนไพร (Thai
Herbal Stream)
เปนวิธีการบําบัดรักษาโดยการใหผิวหนัง
สัมผัสกับไอน้ํา ชวยใหเกิดการไหลเวียนโลหิต
กระตุนรางกายใหสดชื่น
การประคบสมุนไพร
(Thai Herbal Compass)
มักประคบหลังจากการนวด โดยการนําตัวยา
สมุนไพรนึ่งผสานกับความรอน ประคบวางไป
ตามสวนตาง ๆ ของรางกาย โดยใหตัวยา
สมุนไพรซึมผานผิวหนังเขาไป
สุวคนธบําบัด (Aroma
Therapy)
การบําบัดรักษารางกาย จิตใจ และอารมณ ดวยกลิ่น
จากน้ํามันหอมระเหย
การบริการอาบน้ําแร
(Spa)
การอาบน้ําแรมีคุณคาทางการบําบัดรักษาสุขภาพ
วารีบําบัด (Water
Therapy)
การสรางเสริมสุขภาพดวยการออกกําลังกายในน้ํา เชน
กิจกรรมแอโรบิกในน้ํา หรือ ไฮโดรเทอราป
(Hydrotherapy) เนื่องจากน้ํามีแรงพยุงตัวที่ชวยลดใน
สวนตางๆ ของรางกายไดดี และชวยเสริมสราง
กลามเนื้อไดเร็วขึ้น
การฝกกายบริหารทา
ฤาษีดัดตน
เปนการบริหารรางกาย เพื่อใหเกิดการใชพลังงานที่ขับ
เหงื่อออกมา โดยฤาษีดัดตนเปนทาทางการเคลื่อนไหว
ตามธรรมชาติ ที่ชวยบรรเทาอาการเจ็บ ปวดเมื่อย
ตามรางกาย ทั้งนี้มีการดัดตนยังอาศัยความสัมพันธ
ระหวางทาทางการเคลื่อนไหว การหายใจ และการฝก
สมาธิอีกดวย
การฝกสมาธิแนวพุทธ
ศาสน (Buddhist Meditation)
การฝกสภาวะทางจิตใจ โดยการปฏิบัติในแนวทาง
ของพุทธศาสนา เพื่อใหจิตใจ สงบ เยือกเย็น เกิด
ความมั่นคงทางอารมณ และมีภูมิคุมกันโรคทางจิต
เปนตน
การบริการอาหารและ
เครื่องดื่มสมุนไพรเพื่อ
สุขภาพ (Nutrition Therapy)
การรับประทานอาหารเพื่อสรางสมดุลทางรางกาย
ตามธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ โดยเฉพาะพืช
สมุนไพรไทยที่มีสวนสรรพคุณในการปรับธาตุที่
หยอนหรือกําเริบใหกลับคืนสูภาวะปกติ สามารถ
สรางความสมดุลและบํารุงรางกาย
การบริการผลิตภัณฑ
สมุนไพรเพื่อสุขภาพและ
ความงาม
เปนการนําสมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการดูแล
รางกาย ผิวพรรณ มาสกัดเพื่อผลิตเครื่องสําอาง/
เวชสําอาง เพื่อลดการใชอันตรายจากสารเคมี
ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, 2552
แลวทําไม....จึงตองไปทองเที่ยวในชุมชน
แนวคิด
• Rural Tourism การทองเที่ยวชนบท
• Community-based Tourism การทองเที่ยวโดยชุมชน
• Health Tourism การทองเที่ยวเชิงสงเสริมสุขภาพ
(Health promotion)
การทองเที่ยว
โดยชุมชน
การทองเที่ยว
โดยชุมชน
ทรัพยากรที่เกี่ยวเนื่องกับ
เอกลักษณในพื้นที่
ทรัพยากรที่เกี่ยวเนื่องกับ
เอกลักษณในพื้นที่
ความรับผิดชอบตอ
สิ่งแวดลอมและยั่งยืน
ความรับผิดชอบตอ
สิ่งแวดลอมและยั่งยืน
การเรียนรู/การศึกษา เพิ่มพูน
ความรู/ ประทับใจ/ จิตสํานึก
ประสบการณ
การเรียนรู/การศึกษา เพิ่มพูน
ความรู/ ประทับใจ/ จิตสํานึก
ประสบการณ
ทองถิ่นมีสวนรวมตลอด
กระบวนการ/ ไดประโยชน
และ ยกระดับคุณภาพชีวิต
ทองถิ่นมีสวนรวมตลอด
กระบวนการ/ ไดประโยชน
และ ยกระดับคุณภาพชีวิต
พื้นที่
กิจกรรม
การจัดการ
การมีสวนรวม
องคประกอบหลักในการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน
ขอมูลจาก : สินธุ สโรบล, 2554
• Home Stay ถือเปนกิจกรรมทองเที่ยวที่
นักทองเที่ยวพักรวมกับเจาของบานซึ่งใชบานเปน
ศูนยกลางโดยเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยว
วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของ
ชุมชนเขาดวยกัน
• นักทองเที่ยวไดมีโอกาสเขาไปใชชีวิตความเปนอยู
รวมกับคนในทองถิ่น อยูบานเดียวกัน ทํากิจกรรม
ตาง ๆ รวมกัน
เรากําลังนําเสนอ....สิ่งที่ทดลองสินคาไมได
• การทองเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน..... เปนการนําเสนอ
ประสบการณ ดังนั้น นักทองเที่ยวตองเขาไปสัมผัสดวย
ตนเอง
• วิถีชีวิต วัฒนธรรม ...เปนการเรียนรู คําพูดที่อธิบายอาจ
ไมใชทั้งหมดที่จะไดรับ
• ชุมชน...เปนเจาของผลิตภัณฑและสินคาทองถิ่น
• ชุมชน...กําลังนําเสนอความเปนตัวตน เปนจุดขายที่ไมมี
สินคาใดเลียนแบบได
นักทองเที่ยว
• กลุมตลาดนักทองเที่ยว >> ตลาดเฉพาะกลุม
(Niche Market)
• คนกลุมนี้สนใจอะไร อยากเรียนรูอะไร
• ภูมิปญญาสุขภาพ / อาหารทองถิ่น / โฮมเสตย
เปนสิ่งที่นักทองเที่ยวจะไดรับ (วีถีชีวิตเกษตร /
วัฒนธรรมชนเผา หรือ ?)
นักทองเที่ยวจะไดรับ
• ประสบการณการทองเที่ยวโดยชุมชน
• การเรียนรูวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความเปนตัวตน
• สัมผัสประสบการณดานบริการสุขภาพ ดวนสมุนไพรทองถิ่น
• มีการดูแลดานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และเพิ่มมูลคาดานโภชนาการ
โดยวัตถุดิบจากทองถิ่น
• อยางนอย....คุณไดรับความประทับใจ และการหันกลับมาใสใจดูแล
ตนเองทั้ง “รางกาย” และ “จิตใจ”
เที่ยวสุขขี 4 ชุมชน
•บานแมกําปอง จ.เชียงใหม
•บานทากู จ.ลําพูน
•บานปาเหมี้ยง จ.ลําปาง
•ต.ผาบอง จ.แมฮองสอน
บานแมกําปอง จ.เชียงใหม
• “วิถีธรรมชาติสูสุขภาพดี”
บริการสุขภาพ
• นวดแผนโบราณและประคบสมุนไพร
• ยางแคร
• อบสมุนไพร
บานทากู จ.ลําพูน
• งามดวยวิถีพอเพียง
บริการสุขภาพ
• ลูกประคบหนาเดง
• นวดแผนไทย
บานปาเหมี้ยง จ.ลําปาง
• ปรับสมดุลชีวิต
บริการสุขภาพ
• ลูกประคบตามธาตุเจาเรือน
• ยาสมุนไพรแชเทา
• ยาอบ
ต.ผาบอง จ.แมฮองสอน
• “อยูหลี กิ๋นวาน ตระการตาวัฒนธรรม”
บริการสุขภาพ
• แชน้ําพุรอนดวยยาแชน้ําพุรอนจากสมุนไพรทองถิ่น (กําลังเสือ
โครง)
• นวดแผนโบราณและประคบสมุนไพร (กําลังเสือโครง)
การพัฒนาการทองเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
• ดานที่พัก
• ดานอาหารและโภชนาการ
• ดานความปลอดภัย
• ดานการจัดการ
• ดานกิจกรรมการทองเที่ยว
• ดานสภาพแวดลอม
• ดานมูลคาเพิ่ม
• ดานการสงเสรมการตลาด
• ดานของที่ระลึก
•ดานเครื่องแตงกาย
•ดานภูมิปญญา
สุขภาพ
+
ประยุกตจาก: เกณฑการประเมินมาตรฐานโฮมสเตยไทย
กระบวนการ
1. การคัดเลือกชุมชน
2. ศึกษาศักยภาพและความเปนไปได
• ความรวมมือชุมชน และแรงจูงใจในการรวมพัฒนา
• ความเขาใจการทองเที่ยวเชิงสุขภาพโดยการจัดการของชุมชน
• วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส อุปสรรคของชุมชน
• ผลกระทบดานบวกและลบ
• ทุนของทรัพยากรในชุมชน (จัดทําแผนที่ชุมชน / ปฏิทินประเพณี /
อาชีพ / การรวมกลุม เพื่อการสํารวจตอไป)
• ฯลฯ
• นําขอมูลกลับสูชุมชน
3. การวางวิสัยทัศนการทองเที่ยวของชุมชน
4. การวางแผน (Planning)
สิ่งที่ไดคือ
• (ราง) รูปแบบโปรแกรมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
• (ราง) กระบวนการใหบริการของชุมชน
• Tourist and travel arrangement
• การคํานวณราคาบริการ
– ศักยภาพการองรับของแหลงทองเที่ยว
– ระยะเวลาที่เหมาะสม
– การใหบริการที่พัก อาหารและ บริการอื่น ๆ
– กิจกรรม
– ฯลฯ
5. สํารวจความตองการ
6. ออกแบบโปรแกรมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Design)
นําเขาขอมูล 4 รูปแบบ (จากทีมตนแบบ)
7. แผนการปฏิบัติงานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน
8. การบริหารจัดการ พัฒนาบุคลากร และองคความรู
9. การนําเสนอสูตลาด
10. รายงานผลโครงการ
โปรแกรมทองเที่ยวภายใน 1 วัน (1 day trip)
โปรแกรมทองเที่ยวระยะสั้น (2-3 days trip)
โปรแกรมทองเที่ยวแบบทางเลือก (Optional
tour)
‐การดําเนินการทองเที่ยว
‐การจัดตั้งกลุมผูรับผิดชอบ
‐การบริหารคาตอบแทน
‐หนวยงานที่เกี่ยวของ
ฯลฯ
‐Pre‐tour
‐Touring
‐Post tour
‐ Service providers
ฯลฯ
‐จุดขาย /และ Vision
‐การนําเสนอผลิตภัณฑ
‐กําหนดราคา
‐ฯลฯ
‐ประยุกตกับ 4 รูปแบบ
‐สรางรายได
‐ภูมิใจในชุมชน
‐ฯลฯ
‐ชุมชนสามารถนําขอมูล
ไปปรับปรุงดานกายภาพ
‐ปรับเปลี่ยนโปรแกรมตาม
ความเหมาสมดวยตนเองได
‐ ฯลฯ
อาจารย มานิศา ผิวจันทร
สาขาวิชาการทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
MANISA.P@CMU.AC.TH
ขอบคุณคะ

More Related Content

What's hot

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวKorawan Sangkakorn
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานChacrit Sitdhiwej
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยchickyshare
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8Chuta Tharachai
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorSomyot Ongkhluap
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 

What's hot (20)

T guide 6
T  guide 6T  guide 6
T guide 6
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
Convention
ConventionConvention
Convention
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 

Similar to การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน

Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Silpakorn University
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiDrDanai Thienphut
 
Ecotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai Tourism
Ecotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai TourismEcotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai Tourism
Ecotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai TourismChutikan Yindeesuk
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5Moo Ect
 
ใบงานที่9-16
ใบงานที่9-16ใบงานที่9-16
ใบงานที่9-16jeejylove23
 

Similar to การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน (6)

Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu Chi
 
Ecotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai Tourism
Ecotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai TourismEcotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai Tourism
Ecotourism Knowledge, Attitudes and Behaviors of Thai Tourism
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
ใบงานที่9-16
ใบงานที่9-16ใบงานที่9-16
ใบงานที่9-16
 

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน