SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
1
คานา
บทเรียนสาเร็จรูปเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
ชุดนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนและพัฒนาผู้เรียน ในรายวิชาประวัติศาสตร์ 5 รหัสวิชา
ส23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ
ยังเป็นคู่มือ ในการศึกษาด้วยตนเองของผู้เรียน ซึ่งมีเนื้อหา คาถาม แบบทดสอบ และ
ภาพประกอบ ที่ช่วยสร้างความน่าสนใจ ทาให้ผู้เรียนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ในการศึกษาหาความรู้
บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุดนี้
มีทั้งหมด 5 เล่ม ประกอบด้วย
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
เล่มที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
เล่มที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้
เล่มที่ 4 ทวีปแอฟริกา
เล่มที่ 5 ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนสาเร็จรูปนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน
ในการศึกษาหาความรู้ให้กับตนเองได้เป็นอย่างดี
ขอขอบพระคุณคณะผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาแนะนาสนับสนุนในการจัดทาเอกสารนี้
ด้วยดีตลอดมา ผู้จัดทาจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
นางสาวมลฤดี เพ็ชร์สุวรรณ
ผู้จัดทา
2
3
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ จ
คาชี้แจง 1
คาแนะนาสาหรับครู 2
คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3
กรอบนา 4
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 7
1.1 ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปของทวีปยุโรป 9
บทเรียนกรอบที่ 1 ยุโรปสมัยโบราณ 10
บทเรียนกรอบที่ 2 ยุโรปสมัยกลาง 11
บทเรียนกรอบที่ 3 ยุโรปสมัยใหม่ 12
กรอบสรุป 13
1.2 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของทวีปยุโรป 14
บทเรียนกรอบที่ 1 การเมืองการปกครองสมัยกลาง 15
บทเรียนกรอบที่ 2 การเมืองการปกครองสมัยใหม่ 16
บทเรียนกรอบที่ 3 การเมืองการปกครองสมัยปัจจุบัน 17
กรอบสรุป 18
1.3 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจทวีปยุโรป 19
บทเรียนกรอบที่ 1 เศรษฐกิจสมัยกลาง 20
บทเรียนกรอบที่ 2 เศรษฐกิจสมัยใหม่ 21
กรอบสรุป 22
4
สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า
1.4 พัฒนาการด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรป 23
บทเรียนกรอบที่ 1 สังคมในสมัยกลาง 24
บทเรียนกรอบที่ 2 ศิลปะยุคแห่งศรัทธา 26
บทเรียนกรอบที่ 3 ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 27
บทเรียนกรอบที่ 4 ศิลปะแบบบาโรก 28
บทเรียนกรอบที่ 5 ศิลปะแนวสัจนิยม 29
กรอบสรุป 30
1.5 อิทธิพลขอทวีปยุโรปต่อสังคมโลก 31
บทเรียนกรอบที่ 1อิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลก 32
กรอบสรุป 33
แบบทดสอบหลังเรียน 34
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 36
แบบประเมินตนเองหลังเรียน 37
บรรณานุกรม 38
ประวัติผู้จัดทา 39
ภาพที่ หน้า
1-1 ภาพแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพทวีปยุโรป
1- 2 ภาพวิหารพาร์เธนอน 10
1- 3 ภาพคอลอสเซียม 10
1- 4 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 1 12
1- 5 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 12
1- 6 ภาพรูปปั้นจักรพรรดิอิมแปราตอร์ ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส 15
1- 7 ภาพอธิบายโครงสร้างระบบฟิวดัล 15
1- 8 ภาพพระเจ้าจอห์นลงพระนามแมกนา คาร์ตา 16
1- 9 ภาพสัญลักษณ์พรรคคอมมิวนิสต์ของคาร์ล มาร์ก 17
1-10 ภาพการดาเนินชีวิตในคฤหาสน์ที่มีที่ดินล้อมรอบของขุนนาง 20
1-11 ภาพรูปปั้นจาลองเทพเจ้าซุส 25
1-12 ภาพหัวเสาแบบคอรินเธียน 25
1-13 ภาพรูปปั้นกวีโฮเมอร์ 25
1-14 ภาพคอลอสเซียม 25
1-15 ภาพวาดนักรบโรมัน 25
1-16 ภาพวิหาร ออร์เวียตโต (Orvieto) เมืองเตร์นี (Terni) ประเทศอิตาลี 26
1-17 ภาพพระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส 28
1-18 ภาพการตกแต่งภายในพระราชวังแวร์ซาย 28
1-19 ภาพสระบัว โดย โกลด โมเน ( Claude Monet) 29
5
สารบัญภาพ
6
บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มนี้
จัดทาขึ้นโดยได้กาหนดเนื้อหาและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์
เพื่อใช้ประกอบการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ 5 และเป็นสื่อสาหรับผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย
ตนเอง
ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหา และประเมินผลการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตาม
ขั้นตอนที่กาหนดไว้ คือ บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ใช้เวลาเรียน 17 คาบ คาบเรียนละ 50 นาที
เนื้อหาการเรียนรู้แบ่งเป็น 5 เล่ม เรียงลาดับการนาเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ แบบทดสอบ
ก่อนเรียน เนื้อหา คาถาม และแบบทดสอบหลังเรียน ในแต่ละตอนมีกิจกรรมเพื่อหาความรู้
คาถาม พร้อมเฉลยคาตอบได้ทันที ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความสามารถ
ของแต่ละบุคคล เป็นการสนองความต้องการ ความสนใจ และช่วยส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
คาชี้แจง
7
1. ใช้บทเรียนสาเร็จรูปประกอบแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ประวัติศาสตร์ 5 (ส23102)
2. ศึกษาบทเรียนสาเร็จรูปตั้งแต่กรอบแรกจนถึงกรอบสุดท้ายทั้งเนื้อหาและกิจกรรมให้เข้าใจก่อน
3. ศึกษาว่ากิจกรรมในกรอบใดที่ครูต้องเป็นผู้ให้คาแนะนา ช่วยเหลือหรือให้คาปรึกษาบ้าง
4. ชี้แจงให้นักเรียนอ่านคาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป และปฏิบัติตามทุกขั้นตอน ทุกกรอบ
ไม่ข้ามกรอบ ทั้งเนื้อหา กิจกรรม และแบบทดสอบ
5. คอยให้คาปรึกษาแก่นักเรียนเมื่อเกิดปัญหา
6. ควรแนะนาให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเองอย่างแท้จริง นักเรียนจะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง
ไม่ดูคาตอบล่วงหน้าก่อนตอบคาถาม
คาแนะนาสาหรับครู
8
บทเรียนนี้เป็นบทเรียนสาเร็จรูป จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง
โปรดอ่านคาแนะนาก่อนศึกษาบทเรียน ดังต่อไปนี้
1. บทเรียนนี้ไม่ใช่ข้อทดสอบ นักเรียนไม่ต้องกังวลใจ พยายามทาไปช้าๆ ทีละกรอบ
นักเรียนจะได้รับความรู้ ได้ทาแบบทดสอบ และได้ทากิจกรรมต่างๆด้วยตัวของนักเรียนเอง
2. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนก่อน
3. เริ่มทาตั้งแต่กรอบแรกเรียงไปตามลาดับ โดยห้ามข้ามกรอบใดกรอบหนึ่ง
4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้าๆให้เข้าใจ คิดให้ดีแล้วจึงตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบ
อย่าขีดเขียนใดๆลงในบทเรียนสาเร็จรูปนี้
5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง จึงเปิดไปดูคาตอบในกรอบต่อไป เพื่อตรวจสอบคาตอบว่าถูก
หรือไม่ ถ้าตอบถูกจึงศึกษากรอบต่อไป
6. ถ้าคาตอบผิด จงย้อนกลับไปอ่านข้อความในกรอบที่ผ่านมาใหม่ ทาความเข้าใจให้ดี แล้วตอบ
คาถามใหม่
7. ทาไปช้าๆ ไม่ต้องรีบร้อน ถ้าเหนื่อยหรือเบื่อให้พักสักครู่ แล้วค่อยทาต่อไป
8. เมื่อศึกษาจนจบทุกกรอบแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วย เสร็จแล้วตรวจคาตอบ
ในเฉลยหน้าต่อไป เพื่อดูผลความก้าวหน้าของตนเอง
9. นักเรียนที่ดี จะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเองเสมอ จะไม่เปิดดูคาตอบก่อน
คาแนะนาสาหรับนักเรียน
9
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก
โดยสังเขป
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
1. ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยสังเขป
2. พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของทวีปยุโรปโดยสังเขป
3. อิทธิพลของทวีปยุโรปที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
1. อธิบายภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้
2. อธิบายพัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้
3. อธิบายพัฒนาการด้านเศรษฐกิจของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้
4. อธิบายพัฒนาการด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้
5. อธิบายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลกได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
กรอบนา
10
ทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายกากบาท (x) ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ
1. ประวัติศาสตร์ของยุโรปมีความเกี่ยวข้องกับอารยธรรมใดมากที่สุด
ก) อิยิปต์
ข) กรีก – โรมัน
ค) เมโสโปเตเมีย
ง) ลาติน – รัสเซียน
2. ศูนย์กลางความเจริญของอารยธรรมโรมันตั้งอยู่ที่ประเทศใดในปัจจุบัน
ก) กรีซ
ข) ตุรกี
ค) อิตาลี
ง) เยอรมัน
3. ในสมัยกลางทวีปยุโรปมีการปกครองแบบใด
ก) ระบอบฟิวดัล
ข) ระบอบเผด็จการ
ค) ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ง) ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
4. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะทางการเมืองการปกครองของทวีปยุโรปในปัจจุบันได้ถูกต้องที่สุด
ก) นิยมประชาธิปไตย
ข) ไม่ยึดติดเรื่องแนวคิด
ค) การเมืองมีสภาพคงที่
ง) มีการเปลี่ยนรัฐบาลอยู่บ่อยครั้ง
5. ลักษณะเศรษฐกิจแบบพอเลี้ยงตนเองของทวีปยุโรปในสมัยกลางตอนต้นคือข้อใด
ก) แมเนอร์
ข) ทุนนิยม
ค) สังคมนิยม
ง) พาณิชยนิยม
11
ทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
6. เหตุการณ์ใดที่ส่งผลให้เศรษฐกิจทวีปยุโรปฟื้นตัวขึ้นหลังจากหยุดชะงักเป็นเวลานาน
ก) สงครามครูเสด
ข) สงครามสามสิบปี
ค) สงครามโลกครั้งที่ 1
ง) สงครามดอกกุหลาบ
7. ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชนชั้นใดที่สร้างความเจริญให้แก่สังคมยุโรป
ก) นักรบ
ข) ขุนนาง
ค) นักบวช
ง) กระฎุมพี
8. ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน
ก) ศิลปะแบบโรมัน - คอลอสเซียม
ข) ศิลปะแบบกรีก - วิหารพาเธนอน
ค) ศิลปะแบบบาโรก - วิหารโนตรดาม
ง) ศิลปะแบบกอทิก - วิหารออร์เวียตโต
9. ข้อใดไม่ใช่มรดกทางอารยธรรมที่ชาวกรีกถ่ายทอดให้แก่ทวีปยุโรป
ก) คริสต์ศาสนา
ข) งานสถาปัตยกรรม
ค) การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก
ง) การปกครองระบอบประชาธิปไตย
10. เหตุการณ์ใดในประวัติศาสตร์ของยุโรปที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกมากที่สุด
ก) จักรวรรดิโรมันถูกโจมตี
ข) สหภาพโซเวียตล่มสลาย
ค) สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
ง) การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
.
ไปตรวจคาตอบกันครับ
เฉลยทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
เพื่อนๆทาแบบทดสอบก่อนเรียนได้หรือเปล่าคะ
คราวนี้เราลองไปศึกษาเรื่อง พัฒนาการ
ทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป
พร้อมกันเลยนะคะ
1. ข.
2. ค.
3. ก.
4. ก.
5. ก.
6. ก.
7. ง.
8. ง.
9. ก.
10. ค.
13
ที่มา : https://thankyou0874277257.wordpress.com
ภาพที่ 1-1 ภาพแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพทวีปยุโรป
1.1ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
ของทวีปยุโรป
14
สวัสดีค่ะนักเรียน
เรามาเริ่มเรียนรู้ประวัติศาสตร์ยุโรปพร้อมๆกันนะคะ
เปิดหน้าต่อไปเลยค่ะ
ทวีปยุโรปมีความเจริญเก่าแก่ที่สืบย้อนหลังไปได้กว่า 2000 ปี โดยอาจแบ่งประวัติศาสตร์
ของทวีปยุโรปออกเป็นสมัยต่างๆ ดังนี้
15
กรอบที่ 1
ยุโรปสมัยโบราณ
ความเจริญของยุโรปเริ่มขึ้นเป็นแห่งแรกที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแถบชายฝั่งทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน โดยมีกรีกและโรมันเป็นศูนย์กลางความเจริญในสมัยโบราณ
ซึ่งเรียกความเจริญสมัยกรีกและโรมันนี้ว่า อารยธรรมสมัยคลาสสิค
1. ยุโรปสมัยโบราณ
คาถาม อารยธรรรมสมัยคลาสสิค คือ การสร้างสรรค์อารยธรรมของสมัยใดบ้าง
(ตอบเสร็จแล้วตรวจคาตอบหน้าถัดไปเลยค่ะ )
ภาพที่ 1-2 ภาพวิหารพาร์เธนอน
ที่มา : https://chompoonumbernine.wordpress.com
ผลงานของชาวกรีก
ภาพที่ 1-3 ภาพคอลอสเซียม
ที่มา : http://www.kuukob.com/backup/kuukob/project_web/
12523_54/Roman.html
ผลงานของชาวโรมัน
16
เมื่ออาณาจักรของชาวโรมันเสื่อมอานาจลงในค.ศ 476
อันเนื่องมาจากการแผ่อานาจของชนกลุ่มต่างๆ ที่เรียกว่า อนารยชนเยอรมัน ก็ถือ
ว่าอารยธรรมสมัยคลาสสิคของยุโรปสิ้นสุดลง และ เป็นการเริ่มต้นประวัติศาสตร์
ของยุโรปสมัยกลาง ซึ่งมีระยะเวลายาวนานประมาณ 1000 ปี
ในสมัยกลางนี้เป็นช่วงเวลาที่ความเจริญต่างๆ ของยุโรปชะลอตัว
เนื่องจากความวุ่นวายทางการเมืองและการสงคราม มีการแบ่งดินแดนออกเป็น
แว่นแคว้นต่างๆ มากมาย และมีการแก่งแย่งชิงอานาจกัน นอกจากนี้ยังเป็นช่วง
ระยะเวลาที่คริสต์ศาสนามีอิทธิพลมากต่อการดาเนินชีวิตของผู้คน
2. สมัยกลาง
คาถาม สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของผู้คนในสมัยกลางคืออะไร
คาตอบกรอบที่ 1
สมัยกรีกและสมัยโรมัน
กรอบที่ 2
ยุโรปสมัยกลาง
ตรวจคาตอบหน้าถัดไปเลย
ค่ะ
17
ภาพที่ 1- 5 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2ภาพที่ 1- 4 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 1
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/
การสารวจและการตั้งถิ่นฐานในทวีปต่างๆ ชาวยุโรปได้เดินทางไปสารวจ
ดินแดนในทวีปต่าง ๆ คือ แอฟริกา เอเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้และออสเตรเลีย
ชาวยุโรปก็ได้รับผลประโยชน์ทางการค้า และการสร้างอาณานิคมขึ้นในดินแดนต่างๆ เหล่านั้น
เป็นผลให้อิทธิพลของชาวยุโรปทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมแผ่ขยายออกไป
กว้างขวางทั่วโลก
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตจากเดิมที่เคย
ใช้แรงงานคน และสัตว์มาใช้เครื่องจักรแทน เกิดขึ้นในตอนต้นของพุทธศตวรรษที่ 24 โดยเริ่ม
ขึ้นในประเทศอังกฤษก่อนแล้วขยายตัวไปสู่ประเทศอื่นๆ ในเวลาต่อมา การปฏิวัติอุตสาหกรรม
มีผลให้ทวีปยุโรปนาหน้าทวีปอื่นๆ ในด้านเศรษฐกิจ และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
เป็นเวลานานติดต่อกันกว่าสองศตวรรษ จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
คาตอบกรอบที่ 2
คริสต์ศาสนา
กรอบที่ 3
ยุโรปสมัยใหม่
คาถาม เหตุการณ์สาคัญที่ทาทวีปยุโรปมีความก้าวหน้ากว่าทวีปอื่นๆในด้าน
เศรษฐกิจและเทศโนโลยี คือเหตุการณ์ใด (ตรวจคาตอบหน้าถัดไปค่ะ )
18
คาตอบกรอบที่ 3
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
สรุป ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ทวีปยุโรป
1.ยุโรปสมัยโบราณ อารยธรรมสาคัญคือ สมัยกรีกและโรมัน
2. ยุโรปสมัยกลาง คริสต์ศาสนามีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของผู้คน
3. ยุโรปสมัยใหม่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมส่งผลให้ทวีปยุโรปมีความเจริญรุ่งเรืองกว่าทวีปอื่นๆ
เป็นอย่างไรบ้างคะเพื่อนๆ สาหรับเรื่องแรก ไม่ยากเลยใช่มั้ยคะ
เราไปศึกษาเรื่องต่อไปพร้อมๆกันเลยค่ะ
กรอบสรุป
19
1.2 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง
ทวีปยุโรป
นักเรียนเปิดหน้าต่อไปเลยค่ะ
กรอบที่ 1
การเมืองการปกครองสมัยกลาง
20
ในอดีตดินแดนส่วนใหญ่ของทวีปยุโรป
มีกษัตริย์เป็นประมุขสูงสุด ตั้งแต่ในสมัยกรีกเรือง
อานาจเมื่อกว่า 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช จนถึง
ในสมัยจักรวรรดิโรมัน 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช
(ค.ศ.476) พระประมุขสูงสุดของชาวโรมัน เรียกว่า
ซีซาร์หรือจักรพรรดิ
ภาพที่ 1- 6 ภาพรูปปั้นจักรพรรดิอิมแปราตอร์
ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส
จักรพรรดิพระองค์แรกของชาวโรมัน
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/
ยุโรปได้เข้าสู่สมัยกลาง เมื่อจักรวรรดิโรมัน ล่มสลาย
ใน ค.ศ. 476 จากการรุกรานของพวกชนเผ่ากอทหรือชนเผ่า
เยอรมัน มีอาณาจักรใหม่ๆ เกิดขึ้นหลายอาณาจักร มีกษัตริย์
เป็นประมุข แต่มิได้มีอานาจในการปกครองอย่างแท้จริง
การปกครองสมัยกลางใช้ระบอบฟิวดัล (Feudalism)
หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์
ภาพที่ 1- 7 ภาพอธิบายโครสร้างระบบฟิวดัล
ที่มา : http://freedomthing.blogspot.com/2011/09/feudalism.html
ลักษณะการปกครองแบบกระจายอานาจ
ไม่รวมศูนย์อานาจไว้ที่ส่วนกลางเหมือนกับ
สมัยจักรวรรดิโรมัน โดยกษัตริย์จะทรงแจกจ่าย
ที่ดินให้แก่ขุนนางผู้ปกครองแคว้นต่างๆ ให้ใช้
ประโยชน์จากที่ดินนั้น
ระบอบฟิวดัล
คาถาม ในสมัยกลางการปกครองของยุโรปเป็นแบบใด (ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ )
ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นครั้งแรกที่อังกฤษ เมื่อขุนนางรวมตัวกัน
ต่อต้านการใช้อานาจการปกครองที่กดขี่ของพระเจ้าจอห์นที่ 5 โดยบีบบังคับให้พระองค์ทรง
ลงนามและยอมปฏิบัติตามกฎบัตรแมกนา คาร์ตา (Magna Carta) ในปี ค.ศ. 1215
คาตอบกรอบที่ 1
ระบอบฟิวดัล
ผลที่ตามมา คือ เป็นการจากัดพระราช-
อานาจสิทธิ์ขาดและการกระทาโดยมิชอบของพระองค์
และทาให้ฐานะของกษัตริย์อังกฤษไม่ทรงอยู่เหนือ
กฎหมายอีกต่อไป
นอกจากนี้กฎบัตร แมกนา คาร์ตา ยังเป็น
รากฐานของ “รัฐธรรมนูญ” และ “รัฐสภา”
ของอังกฤษในสมัยต่อมาอีกด้วย
ในสมัยต่อมากษัตริย์อังกฤษในยุคสมัย
หลังๆหลายพระองค์ไม่ปฏิบัติตามกฎบัตรแมกนา
คาร์ตา จึงเกิดการต่อต้านจากประชาชน ดังเหตุการณ์
ในปี ค.ศ. 1688 ที่เรียกว่า
“การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์”
ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ภาพที่ 1- 8 ภาพพระเจ้าจอห์นลงพระนามแมกนา คาร์ตา
ที่มา : https://robpowellwrites.files.wordpress.com
เป็นระบอบการปกครองที่กษัตริย์ทรงมีพระราชอานาจสิทธิ์ขาดหรือเป็นศูนย์กลางแห่งอานาจ
ซึ่งเจริญรุ่งเรืองอยู่ในบรรดาชาติมหาอานาจของยุโรป ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 เช่น ฝรั่งเศส รัสเซีย และ
ปรัสเซีย ( รัฐผู้นาในการรวมชาติเยอรมัน )
กษัตริย์ยุโรปที่ประสบความสาเร็จและเป็นสัญลักษณ์ของระบอบการปกครองดังกล่าว ได้แก่
พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643-1714) พระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราชแห่งรัสเซีย
ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
กรอบที่ 2
การเมืองการปกครอง
สมัยใหม่
คาถาม กษัตริย์ที่ประสบความสาเร็จในการใช้ระบอบการปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือกษัตริย์พระองค์ใดบ้าง
ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ
22
กรอบที่ 3
การเมืองการปกครอง
สมัยปัจจุบัน
คาตอบกรอบที่ 2
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าซาร์ปีเตอร์
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ประเทศในยุโรปมีระบอบการปกครอง 2 ระบอบ คือ
 การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีต้นกาเนิดมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ
 เป็นระบอบที่เน้นความเป็นปัจเจกบุคคลนิยม เหตุผลนิยมและเสรีภาพ
 หลักการสาคัญของแนวความคิดประชาธิปไตย คือ สิทธิ เสรีภาพของประชาชน
 การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่ประชาชนมีอานาจสูงสุด
 การปกครองระบอบประชาธิปไตย 3 รูปแบบ คือ แบบรัฐสภาแบบประธานาธิบดีและ
แบบผสม ( กึ่งรัฐสภาและกึ่งประธานาธิบดี )
ระบอบประชาธิปไตย
 เป็นระบอบการปกครองที่ยึดถือตามทฤษฎีสังคมนิยมของคาร์ล มาร์ก (Carl Marx)
 สังคมที่ปราศจากชนชั้น และมีความเสมอภาคกันในด้านต่างๆ โดยชนชั้นแรงงานเป็นผู้ปกครอง
 พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ผู้นาพรรคคอมมิวนิสต์และ ผู้นารัฐเป็นคนเดียวกัน
 สหภาพโซเวียตเป็นประเทศแรก ที่การปกครองในระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์
 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีประเทศที่ปกครองในระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์อีก 16 ประเทศ
 เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายลงใน ค.ศ. 1991 ยังมีประเทศที่ปกครองในระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ คือ
จีน คิวบา เกาหลีเหนือ
ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์
ภาพที่ 1- 9 ภาพสัญลักษณ์พรรคคอมมิวนิสต์ของคาร์ล มาร์ก
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki
คาถาม การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทวีปยุโรปมีต้นกาเนิด
มาจากอารยธรรมใด
ตรวจคาตอบหน้าถัดไปได้เลยค่ะ
23
กรอบสรุป
คาตอบกรอบที่ 3
อารยธรรมกรีก
การเมืองการปกครองของทวีปยุโรปมีการเปลี่ยนการปกครองหลายรูปแบบ หาก
เพื่อนๆยังสงสัยในเรื่องใด ก็สามารถย้อนกลับไปศึกษาใหม่ได้นะคะ
ถ้าศึกษาจนเข้าใจแล้ว เปิดไปหน้าถัดไปได้เลยค่ะ
สมัยกรีกและโรมัน กษัตริย์มีอานาจสูงสุด
สมัยกลาง ระบอบฟิวดัล
สมัยใหม่ ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ระบอบกษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์
สมัยปัจจุบัน ระบอบประชาธิปไตย
ระบอบคอมมิวนิสต์
24
1.3 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจของทวีปยุโรป
เปิดหน้าถัดไปได้เลยค่ะ
25
กรอบที่ 1
เศรษฐกิจสมัยกลาง
“เศรษฐกิจแบบแมเนอร์” หรือ
เศรษฐกิจแบบยังฃีพ เป็นระบบการผลิต
เพื่อเลี้ยงตัวเองในแต่ละแมเนอร์ มีขุนนางเป็นผู้ปกครอง
โดยจัดแบ่งที่ดินให้ราษฎรเช่าทาการเกษตรส่วนหนึ่ง และ
ของขุนนางเองอีกส่วนหนึ่ง มีการนาผลผลิตไปขายทั้ง
ภายในแมเนอร์และนอกแมเนอร์
เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ ทาให้การค้าที่เคยรุ่งเรือง
ในสมัยจักรวรรดิโรมันต้องหยุดชะงักกว่า 500 ปี
เศรษฐกิจแบบแมเนอร์
ภาพที่ 1- 10 ภาพการดาเนินชีวิตในคฤหาสน์ที่มีที่ดิน
ล้อมรอบของขุนนาง
ที่มา : http://worldrecordhistory.blogspot.com
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและสังคมของยุโรป ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสงครามครูเสด
ที่ชาวคริสต์รบกับชาวมุสลิมในดินแดนตะวันออกกลาง และมีโอกาสนาเอาความรู้ ความเจริญ และ
ศิลปะวิทยาการ ของโลกตะวันออก กลับมาเผยแพร่ให้แก่โลกตะวันตกส่วนสินค้าที่โลกตะวันตกต้องการ ได้แก่
เครื่องเทศ น้าตาล ข้าว ส้ม มะนาว พริกไทย ผ้าไหม และพรม โดยมีพ่อค้าชาวอิตาลีเป็นคนกลาง
พ่อค้าอิตาลีซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ มาร์โก โปโล (Marco Polo) ชาวเวนิส ได้เดินทางไปค้าขาย
จนถึงเมืองจีน
เศรษฐกิจในช่วงสงครามครูเสด
คาถาม เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ทาให้การค้าต้องหยุดชะงักเป็นเวลานานแต่เหตุการณ์ใดที่ทาให้เศรษฐกิจ
ของยุโรปสามารถฟื้นตัวได้อีกครั้ง
ตรวจคาตอบได้ในหน้าถัดไปเลยครับ
26
กรอบที่ 2
เศรษฐกิจสมัยใหม่
คาตอบกรอบที่ 1
สงครามครูเสด
ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อยุโรปเข้าสู่สมัยใหม่ การค้าขายทางทะเลในดินแดนไกลโพ้น
มีความเจริญรุ่งเรืองมาก มีการสารวจทางทะเลเพื่อแสวงหาเส้นทางเดินเรือและค้นพบดินแดนใหม่ๆ
ทั้งในทวีปอเมริกา เอเชีย และแอฟริกา ทาให้ชาติในยุโรปเกิดพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจในรูปแบบ
ต่างๆ ดังนี้
รัฐบาลของกษัตริย์จะเข้าไปควบคุมการผลิตสินค้าและการค้าขายทั้งภายในประเทศและกับต่างประเทศ
เพื่อนารายได้เข้าสู่ท้องพระคลังให้มากที่สุด เน้นการส่งออกและกีดกันการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ส่งเสริม
การแสวงหาอาณานิคมเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบและตลาดระบายสินค้า ทั้งนี้ เกิดจากความเชื่อว่าจะทาให้รัฐเข้มแข็ง
และมั่นคง
ระบบเศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม
การยกเลิกกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินส่วนบุคคล เช่น ที่ดิน โรงงาน ฯลฯ แต่รัฐจะเข้าควบคุมและดาเนินการในระบบ
เศรษฐกิจเองทั้งหมด โดยให้มีการบริหารการผลิตโดยชนชั้นแรงงาน ทั้งนี้เพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจที่มี
ความเสมอภาคและเกิดความเป็นธรรมในสังคม
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เกิดแนวความคิดการค้าแบบเสรี (Free Trade) โดยสนับสนุนให้เอกชน
เป็นผู้ประกอบธุรกิจการค้า ทั้งในด้านอุตสาหกรรมและการเงิน โดยรัฐไม่เข้าไปแทรกแซง แต่ควรปล่อยให้นายทุน
แข่งขันกันอย่างเสรี ซึ่งจะนาความมั่งคั่งมาสู่รัฐได้เช่นกัน
ระบบเศรษฐกิจแบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
คาถาม รัฐบาลของกษัตริย์จะเข้าไปควบคุมการผลิตสินค้าและการค้าขายทั้งภายในประเทศ
และกับต่างประเทศ เพื่อนารายได้เข้าสู่ท้องพระคลังให้มากที่สุดคือระบบเศรษฐกิจแบบใด
ตรวจคาตอบได้ในหน้าถัดไปเลยครับ
27
คาตอบกรอบที่ 2
ระบบเศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม
สรุปพัฒนาการด้านเศรษฐกิจทวีปยุโรป
สมัยกลาง
• เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ ส่งผลให้การค้าหยุดชะงักเป็นเวลานาน
• สงครามครูเสด ส่งผลให้เศรษฐกิจยุโรปฟื้นตัวอีกครั้ง
สมัยใหม่
• เศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม รัฐเป็นเจ้าของกิจการทั้งหมด
• เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ส่งเสริมเอกชนให้เป็นเจ้าของกิจการ
• เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม สร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรม
เพื่อนๆตอบถูกกันกี่ข้อคะ ไม่ยากเลยใช่มั้ยคะ
เมื่อศึกษาด้านเศรษฐกิจเข้าใจดีแล้ว เปิดหน้าถัดไปได้เลยค่ะ
กรอบสรุป
28
1.4 พัฒนาการด้านสังคมและ
ศิลปวัฒนธรรมทวีปยุโรป
เปิดหน้าถัดไปเลยค่ะ
กรอบที่ 1
สังคมในสมัยกลาง
ผู้คนในสังคมประกอบด้วย 3 ชนชั้น ได้แก่
 ฐานันดรที่ 1 คือ พระราชวงศ์และขุนนาง
 ฐานันดรที่ 2 คือ พระหรือบาทหลวงในคริสต์ศาสนา
 ฐานันดรที่ 3 คือ ราษฎรสามัญชน ชาวนาเสรี และทาสติดที่ดิน
สังคมของยุโรปในสมัยกลางเป็นสังคมฟิวดัล
 คริสต์ศตวรรษที่ 11 มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเติบโตของเมือง
ทาให้เกิดชนชั้นใหม่ขึ้นเรียกว่า “ชนชั้นกลาง” หรือชนชั้นกระฎุมพี
 ชนชั้นกลางประกอบด้วยพ่อค้า นายทุน ช่างฝีมือ นักปราชญ์ แพทย์
 ชนชั้นกลางเหล่านี้ได้ร่วมกันวางรากฐานความเจริญให้แก่สังคมยุโรปและปลูกฝังอุดมการณ์
และวิธีการปฏิบัติในการอยู่ร่วมกัน
 ชนชั้นกลางให้ความสาคัญแก่สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคปัจเจกบุคคล ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญ
ที่ทาให้สังคมยุโรป สามารถพัฒนาการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย
กาเนิดของชนชั้นกลาง
 เป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้มีผู้คนจากชนบทอพยพเข้ามาทางานในเมือง
ซึ่งปรากฏเด่นชัดตั้งแต่ตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา
 ประชากรของอังกฤษและประเทศที่มีความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมมากกว่าครึ่งหนึ่ง
ของประชากรทั้งประเทศอาศัยอยู่ในเขตเมืองและส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลาง
สังคมยุโรปในปัจจุบันเป็นสังคมเมือง
คาถาม ในสมัยกลางชนชั้นใดที่ช่วยสร้างความเจริญให้แก่สังคมยุโรป ตรวจคาตอบหน้าถัดไป
ได้เลยค่ะ
กรอบที่ 2
ศิลปวัฒนธรรม
คาตอบกรอบที่ 1
ชนชั้นกลาง
ความเชื่อทางศาสนา ชาวกรีกนับถือเทพเจ้าหลายองค์
โดยให้ความสาคัญกับธรรมชาติและยกย่องให้เป็นเทพเจ้า
งานสถาปัตยกรรม ได้แก่ วิหารพาร์เธนอน หัวเสาแบบดอริก
ไอออนิก,คอรินเธียน
งานวรรณกรรม ได้แก่ อีเลียด และโอเดสซี ของกวีโฮเมอร์
อารยธรรม
กรีก
งานสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่น คือ อาคารสิ่งก่อสร้างมีขนาดใหญ่
เพื่อรองรับคนจานวนมาก หลังคาเป็นแบบโค้งครึ่งวงกลมหรือโดม
และรู้จักใช้คอนกรีต เช่น สนามกีฬาคอลอสเซียม
งานวรรณกรรม ผลงานที่มีชื่อเสียง ได้แก่ “อีเนียด”ของกวีชื่อ
เวอร์จิล เป็นมหากาพย์สดุดีความยิ่งใหญ่ของชนชาติโรมันและความ
เป็นมาของกรุงโรม
อารยธรรม
โรมัน
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชนชาติยุโรปที่สาคัญ
มี 2 ประการ คือ อารยธรรมกรีก-โรมันกับคริสต์ศาสนา ซึ่งเป็นรากฐานของวัฒนธรรมตะวันตกใน
ปัจจุบัน
ภาพที่ 1-11 รูปปั้นจาลองเทพเจ้าซุส
ภาพที่ 1-12 ภาพหัวเสาแบบคอรินเธียน
ภาพที่ 1-13 ภาพรูปปั้นกวีโฮเมอร์
ภาพที่ 1-14 ภาพคอลอสเซียม
ภาพที่ 1-15 ภาพวาดนักรบโรมัน
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/
คาถาม รากฐานของศิลปวัฒนธรรมตะวันตกในปัจจุบันมาจาก
สิ่งใดบ้าง
ตรวจคาตอบในหน้าถัดไปได้เลยครับ
31
กรอบที่ 2
ศิลปะยุคแห่งศรัทธา
คาตอบกรอบที่ 1
อารยธรรมกรีก – โรมัน
และคริสต์ศาสนา
เกิดจากอิทธิพลของคริสต์ศาสนาซึ่ง พลังที่แต่งเติมให้ศิลปวัฒนธรรมของยุโรปบรรลุความงาม
และความสมบูรณ์แบบ ทั้งมีการสร้างมหาวิหารด้วยศิลปะแบบกอทิก ในระหว่าง ค.ศ. 1100 -
1300 มีจานวนมากกว่า 500 แห่ง
ผลงานของศิลปะกอทิกจะปรากฏในงาน
สถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่เป็นวิหารในคริสต์ศาสนา
มีลักษณะสูงเพรียว โปร่ง หลังคาทรงสูงก่อสร้าง
เป็นโค้งแหลม ประตูมีลักษณะโค้ง หน้าต่างใช้
กระจกสีประดิษฐ์ ลวดลายสวยงาม เช่น วิหาร
โนตรดาม (Notre Dame) กรุงปารีส ประเทศ
ฝรั่งเศส และวิหาร ออร์เวียตโต (Orvieto)
เมืองเตร์นี (Terni) ประเทศอิตาลี เป็นต้น
ศิลปะกอทิก
ภาพที่ 1-16 ภาพวิหาร ออร์เวียตโต (Orvieto) เมืองเตร์นี (Terni)
ประเทศอิตาลี
ที่มา:https://sites.google.com/site/alohatravelplace/dark-age
คาถาม วิหารออร์เวียตโต ในประเทศอิตาลีเป็นศิลปะแบบใด
ตรวจคาตอบหน้าถัดไปเลยค่ะ
ศิลปะยุคแห่งศรัทธา
32
กรอบที่ 3
ศิลปะยุคฟื้นฟู
ศิลปวิทยาการ
คาตอบกรอบที่ 2
ศิลปะแบบกอทิก
ได้แก่ วิหารเซนต์ ปีเตอร์ ณ นครวาติกัน กรุงโรม ประเทศอิตาลี มีรูปแบบอาคารของกรีกและโรมัน
เช่น ใช้เสาขนาดใหญ่ หลังคาโค้งหรือหลังคารูปโดม
ด้านสถาปัตยกรรม
ได้แก่ รูปสลักหินอ่อนเดวิด (David) ของศิลปินที่ชื่อ ไมเคิลแอนเจโล (Michelangelo)
แสดงสัดส่วนสรีระร่างกายของมนุษย์เหมือนอย่างกรีก-โรมัน
ด้านประติมากรรม
นิยมเขียนภาพวาดเหมือนจริง เน้นอิริยาบถการเคลื่อนไหวและสะท้อนอารมณ์และความรู้สึกของมนุษย์
ตามความเป็นจริง มีการใช้สี และเงาให้เกิดแสงสว่าง เกิดความตื้นลึกของภาพที่เรียกว่า “เปอร์สเปคตีฟ”
(Perspective) ผลงานที่มีชื่อเสียง คือ ภาพโมนาลิซา (Mona Lisa) ของศิลปินชื่อ ลิโอนาร์โด ดาวินชี
(Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี เป็นต้น
ด้านจิตรกรรม
เริ่มต้นในอิตาลีในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 14 ยุโรปสามารถฟื้นฟูการศึกษาและผลงานสร้างสรรค์
ทางด้านวิจิตรศิลป์ของกรีก-โรมันขึ้นมาใหม่
ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ(Renaissances)
คาถาม ภาพโมนาลิซา (Mona Lisa) เป็นผลงานของศิลปินคนใด
ตรวจคาตอบในหน้าถัดไป
เลยค่ะ
กรอบที่ 4
ศิลปะแบบบาโรก
คาตอบกรอบที่ 3
ลิโอนาร์โด ดาวินชี
(Leonardo da Vinci)
ถูกนามาใช้เพื่อความยิ่งใหญ่ของคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกอิตาลี
ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นช่วงเวลาที่กษัตริย์ยุโรปราชวงศ์ต่างๆ มีพระราชอานาจโดยสมบูรณ์
เหล่าพ่อค้าขนชั้นกลางมีความมั่งคั่งร่ารวย ผลงานด้านศิลปะในยุคนี้จึงเน้นความหรูหรา ฟุ้งเฟ้อ
เพื่อตอบสนองชนชั้นสูงและคนมีฐานะ
ศิลปะแบบบาโรก (Baroque Arts)
ถูกนาไปใช้เพื่อสร้างความสุขและความหรูหราแก่ชนชั้นสูง
เช่น การสร้างพระราชวังแวร์ซายของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14
ต่อมาศิลปะบาโรกจากราชสานักก็ขยายเข้าสู่คฤหาสน์ของชนชั้นขุนนาง
ฝรั่งเศส
ภาพที่ 1-17 พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ภาพที่ 1-18 การตกแต่งภายในพระราชวังแวร์ซาย
ที่มา : http://deversailles.blogspot.com/2012/09/blog-post.html
คาถาม พระราชวังแวร์ซายในประเทศฝรั่งเศส เป็นศิลปะรูปแบบใด
ตรวจคาตอบในหน้า
ถัดไปเลยค่ะ
34
กรอบเนื้อหาที่ 5
ศิลปะแนวสัจนิยม
คาตอบกรอบที่ 4
ศิลปะแบบบาโรก
ภาพที่ 1-19 ภาพสระบัว โดย โกลด โมเน ( Claude Monet)
ที่มา :http://pirun.ku.ac.th/~b521080392/5Impressionism%20Art.html
 เป็นภาพวาดที่มักถ่ายทอดความเป็นจริงของชีวิตในสังคมอุตสาหกรรม
ทั้งความมั่งคั่งของนายทุนและชีวิตของคนยากจนในเมืองใหญ่
 ศิลปินก็นาหลักวิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับแนวทางศิลปะ ทาให้ภาพวาดมีลักษณะใหม่ที่
สว่างและสดใสมากขึ้น จึงได้ชื่อว่า อิมเพรสชันนิสต์ (Impressionism)
 จิตรกรที่โดดเด่น เช่น โกลด โมเน (Claude Monet) ปีแยร์ โอกูสต์ เรอนัวร์ (Pierre
Auguste Renoir)
ศิลปะแนวสัจนิยม หรือเรียลลิสติก (Realistic)
คาถาม การนาหลักวิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับแนวทางศิลปะ ทาให้ภาพวาดมีลักษณะใหม่
ที่สว่างและสดใสมากขึ้นคือลักษณะของศิลปะแบบใด
ตรวจคาตอบใน
หน้าถัดไปเลยค่ะ
35
คาตอบกรอบที่ 4
อิมเพรสชันนิสต์
(Impressionism)
สรุปพัฒนาการด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรป
• สังคมของยุโรปในสมัยกลางเป็นสังคมฟิวดัล มีการแบ่งเป็นชนชั้น
ต่างๆ
• “ชนชั้นกลาง” หรือชนชั้นกระฎุมพีร่วมกันวางรากฐานความเจริญ
ให้แก่สังคมยุโรปและปลูกฝังอุดมการณ์และวิธีการปฏิบัติในการอยู่
ร่วมกัน
ด้านสังคม
• สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชนชาติ
ยุโรปที่สาคัญคือ อารยธรรมกรีก-โรมันกับคริสต์ศาสนา
• การสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรปเกิดขึ้นหลายยุคสมัย
 ศิลปะยุคแห่งศรัทธา เช่น ศิลปะแบบกอทิก
 ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ เช่น ศิลปะแบบบาโรก
 ศิลปะแนวสัจนิยม หรือเรียลลิสติก เช่น ศิลปะอิมเพรสชันนิสต์
ด้านศิลปวัฒนธรรม
ศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรปมีความสวยงามและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก และมีการเผยแพร่
ไปทั่วโลกเลย เพื่อนๆศึกษาแล้วชื่นชอบศิลปะรูปแบบใดบ้างครับ
ต่อไปเป็นเนื้อหาสุดท้ายแล้ว
พร้อมแล้วเปิดหน้าถัดไปเลยค่ะ
กรอบสรุป
36
1.5 อิทธิพลของทวีปยุโรป
ต่อสังคมโลก
เปิดหน้าถัดไปได้เลยค่ะ
กรอบที่ 1
อิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลก
 แนวคิดประชาธิปไตยสมัยกรีก เป็นแม่แบบ ของระบอบประชาธิปไตย และระบอบ
กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
 กฎหมายสิบสองโต๊ะของโรมัน เป็นแม่แบบของประมวลกฎหมายในประเทศทั่วโลก
 เมืองและระบบเทศาภิบาลในสมัยกลาง เป็นแม่แบบของเมืองในปัจจุบัน
 ผลจากลัทธิสังคมนิยมนาไปสู่การปฏิวัติรัสเซีย เกิดการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์
และขยายตัวไปยังที่ต่างๆ ทั่วโลก
 หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อเสริมสร้าง
สันติภาพ และความร่วมมือของโลก
ด้านการเมืองการปกครอง
 งานศิลปะแขนงต่างๆ ของยุโรปเป็นต้นแบบในการสร้างสรรค์งานศิลปะทั่วโลก
ด้านศิลปวัฒนธรรม
คาถาม สังคมยุโรปเปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม
เพราะได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์ใด
ตรวจคาตอบใน
หน้าถัดไปเลยค่ะ
 การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ทาให้สังคมตะวันตกก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและวิทยาการต่างๆ มากกว่า
ดินแดนอื่นๆ ของโลก
 การปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้ยุโรปเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม
ที่ทันสมัย ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี ทาให้เศรษฐกิจแบบทุนนิยมขยายตัวอย่างมาก
 การปฏิวัติฝรั่งเศสของชนชั้นกลางเพื่อความเป็นประชาธิปไตยตามแนวทางของเสรีภาพ
ความเสมอภาค และภราดรภาพ ต่อมายังนาไปสู่การเกิดลัทธิชาตินิยม
ด้านการปฏิวัติต่างๆ
38
คาตอบกรอบที่ 1
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
สรุป
อิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลก
1.ระบอบการปกครองระบอบประชาธิปไตย
2.ระบอบการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์
3. การปฏิวัติอุตสาหกรรม
4. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์
5. การเป็นผู้นาด้านศิลปวัฒนธรรม
เปิดหน้าถัดไปเลยค่ะ
กรอบสรุป
เมื่อเพื่อนๆเปิดมาถึงหน้านี้ แสดงว่าได้ศึกษา
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปครบ
ทุกกรอบแล้วนะคะ ต่อไปเรามาทาแบบทดสอบ
หลังเรียนกันเลยค่ะ
39
ทดสอบหลังเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายกากบาท (x) ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ
1. ศูนย์กลางความเจริญของอารยธรรมโรมันตั้งอยู่ที่ประเทศใดในปัจจุบัน
ก) กรีซ
ข) ตุรกี
ค) อิตาลี
ง) เยอรมัน
2. ในสมัยกลางทวีปยุโรปมีการปกครองแบบใด
ก) ระบอบฟิวดัล
ข) ระบอบเผด็จการ
ค) ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ง) ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
3. ประวัติศาสตร์ของยุโรปมีความเกี่ยวข้องกับอารยธรรมใดมากที่สุด
ก) อิยิปต์
ข) กรีก – โรมัน
ค) เมโสโปเตเมีย
ง) ลาติน – รัสเซียน
4. ลักษณะเศรษฐกิจแบบพอเลี้ยงตนเองของทวีปยุโรปในสมัยกลางตอนต้นคือข้อใด
ก) แมเนอร์
ข) ทุนนิยม
ค) สังคมนิยม
ง) พาณิชยนิยม
5. เหตุการณ์ใดที่ส่งผลให้เศรษฐกิจทวีปยุโรปฟื้นตัวขึ้นหลังจากหยุดชะงักเป็นเวลานาน
ก) สงครามครูเสด
ข) สงครามสามสิบปี
ค) สงครามโลกครั้งที่ 1
ง) สงครามดอกกุหลาบ
40
ทดสอบหลังเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
6. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะทางการเมืองการปกครองของทวีปยุโรปในปัจจุบันได้ถูกต้องที่สุด
ก) นิยมประชาธิปไตย
ข) ไม่ยึดติดเรื่องแนวคิด
ค) การเมืองมีสภาพคงที่
ง) มีการเปลี่ยนรัฐบาลอยู่บ่อยครั้ง
7. ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน
ก) ศิลปะแบบโรมัน - คอลอสเซียม
ข) ศิลปะแบบกรีก - วิหารพาเธนอน
ค) ศิลปะแบบบาโรก - วิหารโนตรดาม
ง) ศิลปะแบบกอทิก - วิหารออร์เวียตโต
8. ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชนชั้นใดที่สร้างความเจริญให้แก่สังคมยุโรป
ก) นักรบ
ข) ขุนนาง
ค) นักบวช
ง) กระฎุมพี
9. เหตุการณ์ใดในประวัติศาสตร์ของยุโรปที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกมากที่สุด
ก) จักรวรรดิโรมันถูกโจมตี
ข) สหภาพโซเวียตล่มสลาย
ค) สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
ง) การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
10. ข้อใดไม่ใช่มรดกทางอารยธรรมที่ชาวกรีกถ่ายทอดให้แก่ทวีปยุโรป
ก) คริสต์ศาสนา
ข) งานสถาปัตยกรรม
ค) การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก
ง) การปกครองระบอบประชาธิปไตย
.
ไปตรวจคาตอบกันครับ
เฉลยทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
เพื่อนๆทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ถูกต้องกี่ข้อคะ
เปิดหน้าถัดไปเพื่อประเมินตนเองด้วยนะคะ
1. ก.
2. ก.
3. ข.
4. ก.
5. ก.
6. ก.
7. ค.
8. ง.
9. ค.
10. ก.
42
แบบประเมินตนเองหลังเรียน
การเรียนบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป
ชื่อ.....................................................................................................................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .............................................เลขที่........................................
โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก )
จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน นักเรียนทาคะแนนได้
___________________
10
เกณฑ์การประเมิน
ถ้านักเรียนทาได้ 6 คะแนน ถือว่า ผ่าน
ถ้านักเรียนทาได้ 7-8 คะแนน ถือว่า ดี
ถ้านักเรียนทาได้ 9-10 คะแนน ถือว่า ดีมาก
ถ้าเพื่อนๆ พิจารณาผลการเรียนแล้ว อยู่ในเกณฑ์
ที่ไม่น่าพอใจ ลองศึกษาใหม่อีกครั้งนะครับ
43
บรรณานุกรม
โกปีน,บรีชีตและคณะ.(2552).THINKสารานุกรมชวนคิดสังคมและประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค
พับลิเคชั่นส์.
ณรงค์ พ่วงพิศและคณะ.(2555)หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม.3.(พิมพ์ครั้งที่3)
กรุงเทพฯ:อักษรเจริญทัศน์ อจท.
พลับพลึง คงชนะ,ผศ.(2552)หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ประวัติศาสตร์.(พิมพ์ครั้งที่ 2)
กรุงเทพฯ:พัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
ไพฑูรย์ มีกุศล,รศ.ดร.(2555)หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.กรุงเทพฯ:
วัฒนาพานิช.
วรรัตน์ วรรณเลิศลักษณ์.(2555)แบบวัดผลและบันทึกผลการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ม.3.
(พิมพ์ครั้งที่18)กรุงเทพฯ:อักษรเจริญทัศน์ อจท.
เสียง เชษฐศิริพงค์และคณะ.(2552)ติวเข้มเฉลยแนวข้อสอบ ม.3 O-NET.กรุงเทพฯ:พ.ศ.พัฒนา.
ศิริพร กรอบทองและคณะ.(2555). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม.3.(พิมพ์ครั้งที่1).
กรุงเทพฯ:เอมพันธ์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. (2553). หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน
เทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) พุทธศักราช 2553 ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2558
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. สงขลา:โรงเรียนเทศบาล 5
(วัดหัวป้อมนอก).
44
ประวัติผู้จัดทา
ชื่อ-ชื่อสกุล นางสาวมลฤดี เพ็ชร์สุวรรณ
วัน เดือน ปีเกิด 6 ธันวาคม 2523
สถานที่เกิด จังหวัดสงขลา
สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 16 หมู่ที่ 3 ตาบลคูขุด อาเภอสทิงพระ
จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90190
ตาแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน ครูชานาญการ
สถานที่ทางานปัจจุบัน โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวป้อมนอก) ถนนริมทางรถไฟ
ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
รหัสไปรษณีย์ 90000
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2546 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
สถาบันมหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

What's hot (20)

หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

Viewers also liked

5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียDe'Icejoong Ice
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 

Viewers also liked (7)

ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...KruNistha Akkho
 

Similar to บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (20)

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
 

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์

  • 1. 1
  • 2. คานา บทเรียนสาเร็จรูปเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ชุดนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนและพัฒนาผู้เรียน ในรายวิชาประวัติศาสตร์ 5 รหัสวิชา ส23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ ยังเป็นคู่มือ ในการศึกษาด้วยตนเองของผู้เรียน ซึ่งมีเนื้อหา คาถาม แบบทดสอบ และ ภาพประกอบ ที่ช่วยสร้างความน่าสนใจ ทาให้ผู้เรียนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ในการศึกษาหาความรู้ บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุดนี้ มีทั้งหมด 5 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป เล่มที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เล่มที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้ เล่มที่ 4 ทวีปแอฟริกา เล่มที่ 5 ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียนสาเร็จรูปนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ในการศึกษาหาความรู้ให้กับตนเองได้เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณคณะผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาแนะนาสนับสนุนในการจัดทาเอกสารนี้ ด้วยดีตลอดมา ผู้จัดทาจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ นางสาวมลฤดี เพ็ชร์สุวรรณ ผู้จัดทา 2
  • 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ จ คาชี้แจง 1 คาแนะนาสาหรับครู 2 คาแนะนาสาหรับนักเรียน 3 กรอบนา 4 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 7 1.1 ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปของทวีปยุโรป 9 บทเรียนกรอบที่ 1 ยุโรปสมัยโบราณ 10 บทเรียนกรอบที่ 2 ยุโรปสมัยกลาง 11 บทเรียนกรอบที่ 3 ยุโรปสมัยใหม่ 12 กรอบสรุป 13 1.2 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของทวีปยุโรป 14 บทเรียนกรอบที่ 1 การเมืองการปกครองสมัยกลาง 15 บทเรียนกรอบที่ 2 การเมืองการปกครองสมัยใหม่ 16 บทเรียนกรอบที่ 3 การเมืองการปกครองสมัยปัจจุบัน 17 กรอบสรุป 18 1.3 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจทวีปยุโรป 19 บทเรียนกรอบที่ 1 เศรษฐกิจสมัยกลาง 20 บทเรียนกรอบที่ 2 เศรษฐกิจสมัยใหม่ 21 กรอบสรุป 22
  • 4. 4 สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า 1.4 พัฒนาการด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรป 23 บทเรียนกรอบที่ 1 สังคมในสมัยกลาง 24 บทเรียนกรอบที่ 2 ศิลปะยุคแห่งศรัทธา 26 บทเรียนกรอบที่ 3 ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 27 บทเรียนกรอบที่ 4 ศิลปะแบบบาโรก 28 บทเรียนกรอบที่ 5 ศิลปะแนวสัจนิยม 29 กรอบสรุป 30 1.5 อิทธิพลขอทวีปยุโรปต่อสังคมโลก 31 บทเรียนกรอบที่ 1อิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลก 32 กรอบสรุป 33 แบบทดสอบหลังเรียน 34 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 36 แบบประเมินตนเองหลังเรียน 37 บรรณานุกรม 38 ประวัติผู้จัดทา 39
  • 5. ภาพที่ หน้า 1-1 ภาพแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพทวีปยุโรป 1- 2 ภาพวิหารพาร์เธนอน 10 1- 3 ภาพคอลอสเซียม 10 1- 4 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 1 12 1- 5 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 12 1- 6 ภาพรูปปั้นจักรพรรดิอิมแปราตอร์ ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส 15 1- 7 ภาพอธิบายโครงสร้างระบบฟิวดัล 15 1- 8 ภาพพระเจ้าจอห์นลงพระนามแมกนา คาร์ตา 16 1- 9 ภาพสัญลักษณ์พรรคคอมมิวนิสต์ของคาร์ล มาร์ก 17 1-10 ภาพการดาเนินชีวิตในคฤหาสน์ที่มีที่ดินล้อมรอบของขุนนาง 20 1-11 ภาพรูปปั้นจาลองเทพเจ้าซุส 25 1-12 ภาพหัวเสาแบบคอรินเธียน 25 1-13 ภาพรูปปั้นกวีโฮเมอร์ 25 1-14 ภาพคอลอสเซียม 25 1-15 ภาพวาดนักรบโรมัน 25 1-16 ภาพวิหาร ออร์เวียตโต (Orvieto) เมืองเตร์นี (Terni) ประเทศอิตาลี 26 1-17 ภาพพระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส 28 1-18 ภาพการตกแต่งภายในพระราชวังแวร์ซาย 28 1-19 ภาพสระบัว โดย โกลด โมเน ( Claude Monet) 29 5 สารบัญภาพ
  • 6. 6 บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยได้กาหนดเนื้อหาและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ประกอบการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ 5 และเป็นสื่อสาหรับผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย ตนเอง ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหา และประเมินผลการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตาม ขั้นตอนที่กาหนดไว้ คือ บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ใช้เวลาเรียน 17 คาบ คาบเรียนละ 50 นาที เนื้อหาการเรียนรู้แบ่งเป็น 5 เล่ม เรียงลาดับการนาเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ แบบทดสอบ ก่อนเรียน เนื้อหา คาถาม และแบบทดสอบหลังเรียน ในแต่ละตอนมีกิจกรรมเพื่อหาความรู้ คาถาม พร้อมเฉลยคาตอบได้ทันที ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความสามารถ ของแต่ละบุคคล เป็นการสนองความต้องการ ความสนใจ และช่วยส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน คาชี้แจง
  • 7. 7 1. ใช้บทเรียนสาเร็จรูปประกอบแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ประวัติศาสตร์ 5 (ส23102) 2. ศึกษาบทเรียนสาเร็จรูปตั้งแต่กรอบแรกจนถึงกรอบสุดท้ายทั้งเนื้อหาและกิจกรรมให้เข้าใจก่อน 3. ศึกษาว่ากิจกรรมในกรอบใดที่ครูต้องเป็นผู้ให้คาแนะนา ช่วยเหลือหรือให้คาปรึกษาบ้าง 4. ชี้แจงให้นักเรียนอ่านคาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป และปฏิบัติตามทุกขั้นตอน ทุกกรอบ ไม่ข้ามกรอบ ทั้งเนื้อหา กิจกรรม และแบบทดสอบ 5. คอยให้คาปรึกษาแก่นักเรียนเมื่อเกิดปัญหา 6. ควรแนะนาให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเองอย่างแท้จริง นักเรียนจะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูคาตอบล่วงหน้าก่อนตอบคาถาม คาแนะนาสาหรับครู
  • 8. 8 บทเรียนนี้เป็นบทเรียนสาเร็จรูป จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง โปรดอ่านคาแนะนาก่อนศึกษาบทเรียน ดังต่อไปนี้ 1. บทเรียนนี้ไม่ใช่ข้อทดสอบ นักเรียนไม่ต้องกังวลใจ พยายามทาไปช้าๆ ทีละกรอบ นักเรียนจะได้รับความรู้ ได้ทาแบบทดสอบ และได้ทากิจกรรมต่างๆด้วยตัวของนักเรียนเอง 2. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนก่อน 3. เริ่มทาตั้งแต่กรอบแรกเรียงไปตามลาดับ โดยห้ามข้ามกรอบใดกรอบหนึ่ง 4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้าๆให้เข้าใจ คิดให้ดีแล้วจึงตอบคาถามลงในกระดาษคาตอบ อย่าขีดเขียนใดๆลงในบทเรียนสาเร็จรูปนี้ 5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง จึงเปิดไปดูคาตอบในกรอบต่อไป เพื่อตรวจสอบคาตอบว่าถูก หรือไม่ ถ้าตอบถูกจึงศึกษากรอบต่อไป 6. ถ้าคาตอบผิด จงย้อนกลับไปอ่านข้อความในกรอบที่ผ่านมาใหม่ ทาความเข้าใจให้ดี แล้วตอบ คาถามใหม่ 7. ทาไปช้าๆ ไม่ต้องรีบร้อน ถ้าเหนื่อยหรือเบื่อให้พักสักครู่ แล้วค่อยทาต่อไป 8. เมื่อศึกษาจนจบทุกกรอบแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วย เสร็จแล้วตรวจคาตอบ ในเฉลยหน้าต่อไป เพื่อดูผลความก้าวหน้าของตนเอง 9. นักเรียนที่ดี จะต้องซื่อสัตย์ต่อตนเองเสมอ จะไม่เปิดดูคาตอบก่อน คาแนะนาสาหรับนักเรียน
  • 9. 9 สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก โดยสังเขป มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 1. ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยสังเขป 2. พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของทวีปยุโรปโดยสังเขป 3. อิทธิพลของทวีปยุโรปที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 1. อธิบายภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้ 2. อธิบายพัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้ 3. อธิบายพัฒนาการด้านเศรษฐกิจของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้ 4. อธิบายพัฒนาการด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรปโดยสังเขปได้ 5. อธิบายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลกได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ กรอบนา
  • 10. 10 ทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายกากบาท (x) ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ 1. ประวัติศาสตร์ของยุโรปมีความเกี่ยวข้องกับอารยธรรมใดมากที่สุด ก) อิยิปต์ ข) กรีก – โรมัน ค) เมโสโปเตเมีย ง) ลาติน – รัสเซียน 2. ศูนย์กลางความเจริญของอารยธรรมโรมันตั้งอยู่ที่ประเทศใดในปัจจุบัน ก) กรีซ ข) ตุรกี ค) อิตาลี ง) เยอรมัน 3. ในสมัยกลางทวีปยุโรปมีการปกครองแบบใด ก) ระบอบฟิวดัล ข) ระบอบเผด็จการ ค) ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ง) ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 4. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะทางการเมืองการปกครองของทวีปยุโรปในปัจจุบันได้ถูกต้องที่สุด ก) นิยมประชาธิปไตย ข) ไม่ยึดติดเรื่องแนวคิด ค) การเมืองมีสภาพคงที่ ง) มีการเปลี่ยนรัฐบาลอยู่บ่อยครั้ง 5. ลักษณะเศรษฐกิจแบบพอเลี้ยงตนเองของทวีปยุโรปในสมัยกลางตอนต้นคือข้อใด ก) แมเนอร์ ข) ทุนนิยม ค) สังคมนิยม ง) พาณิชยนิยม
  • 11. 11 ทดสอบก่อนเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป 6. เหตุการณ์ใดที่ส่งผลให้เศรษฐกิจทวีปยุโรปฟื้นตัวขึ้นหลังจากหยุดชะงักเป็นเวลานาน ก) สงครามครูเสด ข) สงครามสามสิบปี ค) สงครามโลกครั้งที่ 1 ง) สงครามดอกกุหลาบ 7. ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชนชั้นใดที่สร้างความเจริญให้แก่สังคมยุโรป ก) นักรบ ข) ขุนนาง ค) นักบวช ง) กระฎุมพี 8. ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน ก) ศิลปะแบบโรมัน - คอลอสเซียม ข) ศิลปะแบบกรีก - วิหารพาเธนอน ค) ศิลปะแบบบาโรก - วิหารโนตรดาม ง) ศิลปะแบบกอทิก - วิหารออร์เวียตโต 9. ข้อใดไม่ใช่มรดกทางอารยธรรมที่ชาวกรีกถ่ายทอดให้แก่ทวีปยุโรป ก) คริสต์ศาสนา ข) งานสถาปัตยกรรม ค) การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ง) การปกครองระบอบประชาธิปไตย 10. เหตุการณ์ใดในประวัติศาสตร์ของยุโรปที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกมากที่สุด ก) จักรวรรดิโรมันถูกโจมตี ข) สหภาพโซเวียตล่มสลาย ค) สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ง) การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 . ไปตรวจคาตอบกันครับ
  • 12. เฉลยทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป เพื่อนๆทาแบบทดสอบก่อนเรียนได้หรือเปล่าคะ คราวนี้เราลองไปศึกษาเรื่อง พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป พร้อมกันเลยนะคะ 1. ข. 2. ค. 3. ก. 4. ก. 5. ก. 6. ก. 7. ง. 8. ง. 9. ก. 10. ค.
  • 13. 13 ที่มา : https://thankyou0874277257.wordpress.com ภาพที่ 1-1 ภาพแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพทวีปยุโรป
  • 15. ทวีปยุโรปมีความเจริญเก่าแก่ที่สืบย้อนหลังไปได้กว่า 2000 ปี โดยอาจแบ่งประวัติศาสตร์ ของทวีปยุโรปออกเป็นสมัยต่างๆ ดังนี้ 15 กรอบที่ 1 ยุโรปสมัยโบราณ ความเจริญของยุโรปเริ่มขึ้นเป็นแห่งแรกที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแถบชายฝั่งทะเล เมดิเตอร์เรเนียน โดยมีกรีกและโรมันเป็นศูนย์กลางความเจริญในสมัยโบราณ ซึ่งเรียกความเจริญสมัยกรีกและโรมันนี้ว่า อารยธรรมสมัยคลาสสิค 1. ยุโรปสมัยโบราณ คาถาม อารยธรรรมสมัยคลาสสิค คือ การสร้างสรรค์อารยธรรมของสมัยใดบ้าง (ตอบเสร็จแล้วตรวจคาตอบหน้าถัดไปเลยค่ะ ) ภาพที่ 1-2 ภาพวิหารพาร์เธนอน ที่มา : https://chompoonumbernine.wordpress.com ผลงานของชาวกรีก ภาพที่ 1-3 ภาพคอลอสเซียม ที่มา : http://www.kuukob.com/backup/kuukob/project_web/ 12523_54/Roman.html ผลงานของชาวโรมัน
  • 16. 16 เมื่ออาณาจักรของชาวโรมันเสื่อมอานาจลงในค.ศ 476 อันเนื่องมาจากการแผ่อานาจของชนกลุ่มต่างๆ ที่เรียกว่า อนารยชนเยอรมัน ก็ถือ ว่าอารยธรรมสมัยคลาสสิคของยุโรปสิ้นสุดลง และ เป็นการเริ่มต้นประวัติศาสตร์ ของยุโรปสมัยกลาง ซึ่งมีระยะเวลายาวนานประมาณ 1000 ปี ในสมัยกลางนี้เป็นช่วงเวลาที่ความเจริญต่างๆ ของยุโรปชะลอตัว เนื่องจากความวุ่นวายทางการเมืองและการสงคราม มีการแบ่งดินแดนออกเป็น แว่นแคว้นต่างๆ มากมาย และมีการแก่งแย่งชิงอานาจกัน นอกจากนี้ยังเป็นช่วง ระยะเวลาที่คริสต์ศาสนามีอิทธิพลมากต่อการดาเนินชีวิตของผู้คน 2. สมัยกลาง คาถาม สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของผู้คนในสมัยกลางคืออะไร คาตอบกรอบที่ 1 สมัยกรีกและสมัยโรมัน กรอบที่ 2 ยุโรปสมัยกลาง ตรวจคาตอบหน้าถัดไปเลย ค่ะ
  • 17. 17 ภาพที่ 1- 5 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2ภาพที่ 1- 4 ภาพเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 1 ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ การสารวจและการตั้งถิ่นฐานในทวีปต่างๆ ชาวยุโรปได้เดินทางไปสารวจ ดินแดนในทวีปต่าง ๆ คือ แอฟริกา เอเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้และออสเตรเลีย ชาวยุโรปก็ได้รับผลประโยชน์ทางการค้า และการสร้างอาณานิคมขึ้นในดินแดนต่างๆ เหล่านั้น เป็นผลให้อิทธิพลของชาวยุโรปทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมแผ่ขยายออกไป กว้างขวางทั่วโลก การปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตจากเดิมที่เคย ใช้แรงงานคน และสัตว์มาใช้เครื่องจักรแทน เกิดขึ้นในตอนต้นของพุทธศตวรรษที่ 24 โดยเริ่ม ขึ้นในประเทศอังกฤษก่อนแล้วขยายตัวไปสู่ประเทศอื่นๆ ในเวลาต่อมา การปฏิวัติอุตสาหกรรม มีผลให้ทวีปยุโรปนาหน้าทวีปอื่นๆ ในด้านเศรษฐกิจ และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เป็นเวลานานติดต่อกันกว่าสองศตวรรษ จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 คาตอบกรอบที่ 2 คริสต์ศาสนา กรอบที่ 3 ยุโรปสมัยใหม่ คาถาม เหตุการณ์สาคัญที่ทาทวีปยุโรปมีความก้าวหน้ากว่าทวีปอื่นๆในด้าน เศรษฐกิจและเทศโนโลยี คือเหตุการณ์ใด (ตรวจคาตอบหน้าถัดไปค่ะ )
  • 18. 18 คาตอบกรอบที่ 3 การปฏิวัติอุตสาหกรรม สรุป ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ทวีปยุโรป 1.ยุโรปสมัยโบราณ อารยธรรมสาคัญคือ สมัยกรีกและโรมัน 2. ยุโรปสมัยกลาง คริสต์ศาสนามีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของผู้คน 3. ยุโรปสมัยใหม่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมส่งผลให้ทวีปยุโรปมีความเจริญรุ่งเรืองกว่าทวีปอื่นๆ เป็นอย่างไรบ้างคะเพื่อนๆ สาหรับเรื่องแรก ไม่ยากเลยใช่มั้ยคะ เราไปศึกษาเรื่องต่อไปพร้อมๆกันเลยค่ะ กรอบสรุป
  • 20. กรอบที่ 1 การเมืองการปกครองสมัยกลาง 20 ในอดีตดินแดนส่วนใหญ่ของทวีปยุโรป มีกษัตริย์เป็นประมุขสูงสุด ตั้งแต่ในสมัยกรีกเรือง อานาจเมื่อกว่า 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช จนถึง ในสมัยจักรวรรดิโรมัน 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช (ค.ศ.476) พระประมุขสูงสุดของชาวโรมัน เรียกว่า ซีซาร์หรือจักรพรรดิ ภาพที่ 1- 6 ภาพรูปปั้นจักรพรรดิอิมแปราตอร์ ไกซาร์ ดีวี ฟีลิอุส เอากุสตุส จักรพรรดิพระองค์แรกของชาวโรมัน ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ ยุโรปได้เข้าสู่สมัยกลาง เมื่อจักรวรรดิโรมัน ล่มสลาย ใน ค.ศ. 476 จากการรุกรานของพวกชนเผ่ากอทหรือชนเผ่า เยอรมัน มีอาณาจักรใหม่ๆ เกิดขึ้นหลายอาณาจักร มีกษัตริย์ เป็นประมุข แต่มิได้มีอานาจในการปกครองอย่างแท้จริง การปกครองสมัยกลางใช้ระบอบฟิวดัล (Feudalism) หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ ภาพที่ 1- 7 ภาพอธิบายโครสร้างระบบฟิวดัล ที่มา : http://freedomthing.blogspot.com/2011/09/feudalism.html ลักษณะการปกครองแบบกระจายอานาจ ไม่รวมศูนย์อานาจไว้ที่ส่วนกลางเหมือนกับ สมัยจักรวรรดิโรมัน โดยกษัตริย์จะทรงแจกจ่าย ที่ดินให้แก่ขุนนางผู้ปกครองแคว้นต่างๆ ให้ใช้ ประโยชน์จากที่ดินนั้น ระบอบฟิวดัล คาถาม ในสมัยกลางการปกครองของยุโรปเป็นแบบใด (ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ )
  • 21. ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นครั้งแรกที่อังกฤษ เมื่อขุนนางรวมตัวกัน ต่อต้านการใช้อานาจการปกครองที่กดขี่ของพระเจ้าจอห์นที่ 5 โดยบีบบังคับให้พระองค์ทรง ลงนามและยอมปฏิบัติตามกฎบัตรแมกนา คาร์ตา (Magna Carta) ในปี ค.ศ. 1215 คาตอบกรอบที่ 1 ระบอบฟิวดัล ผลที่ตามมา คือ เป็นการจากัดพระราช- อานาจสิทธิ์ขาดและการกระทาโดยมิชอบของพระองค์ และทาให้ฐานะของกษัตริย์อังกฤษไม่ทรงอยู่เหนือ กฎหมายอีกต่อไป นอกจากนี้กฎบัตร แมกนา คาร์ตา ยังเป็น รากฐานของ “รัฐธรรมนูญ” และ “รัฐสภา” ของอังกฤษในสมัยต่อมาอีกด้วย ในสมัยต่อมากษัตริย์อังกฤษในยุคสมัย หลังๆหลายพระองค์ไม่ปฏิบัติตามกฎบัตรแมกนา คาร์ตา จึงเกิดการต่อต้านจากประชาชน ดังเหตุการณ์ ในปี ค.ศ. 1688 ที่เรียกว่า “การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์” ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ภาพที่ 1- 8 ภาพพระเจ้าจอห์นลงพระนามแมกนา คาร์ตา ที่มา : https://robpowellwrites.files.wordpress.com เป็นระบอบการปกครองที่กษัตริย์ทรงมีพระราชอานาจสิทธิ์ขาดหรือเป็นศูนย์กลางแห่งอานาจ ซึ่งเจริญรุ่งเรืองอยู่ในบรรดาชาติมหาอานาจของยุโรป ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 เช่น ฝรั่งเศส รัสเซีย และ ปรัสเซีย ( รัฐผู้นาในการรวมชาติเยอรมัน ) กษัตริย์ยุโรปที่ประสบความสาเร็จและเป็นสัญลักษณ์ของระบอบการปกครองดังกล่าว ได้แก่ พระเจ้าหลุยส์ ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643-1714) พระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราชแห่งรัสเซีย ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กรอบที่ 2 การเมืองการปกครอง สมัยใหม่ คาถาม กษัตริย์ที่ประสบความสาเร็จในการใช้ระบอบการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือกษัตริย์พระองค์ใดบ้าง ตรวจคาตอบหน้าถัดไปครับ
  • 22. 22 กรอบที่ 3 การเมืองการปกครอง สมัยปัจจุบัน คาตอบกรอบที่ 2 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าซาร์ปีเตอร์ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ประเทศในยุโรปมีระบอบการปกครอง 2 ระบอบ คือ  การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีต้นกาเนิดมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ  เป็นระบอบที่เน้นความเป็นปัจเจกบุคคลนิยม เหตุผลนิยมและเสรีภาพ  หลักการสาคัญของแนวความคิดประชาธิปไตย คือ สิทธิ เสรีภาพของประชาชน  การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่ประชาชนมีอานาจสูงสุด  การปกครองระบอบประชาธิปไตย 3 รูปแบบ คือ แบบรัฐสภาแบบประธานาธิบดีและ แบบผสม ( กึ่งรัฐสภาและกึ่งประธานาธิบดี ) ระบอบประชาธิปไตย  เป็นระบอบการปกครองที่ยึดถือตามทฤษฎีสังคมนิยมของคาร์ล มาร์ก (Carl Marx)  สังคมที่ปราศจากชนชั้น และมีความเสมอภาคกันในด้านต่างๆ โดยชนชั้นแรงงานเป็นผู้ปกครอง  พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ผู้นาพรรคคอมมิวนิสต์และ ผู้นารัฐเป็นคนเดียวกัน  สหภาพโซเวียตเป็นประเทศแรก ที่การปกครองในระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์  หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีประเทศที่ปกครองในระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์อีก 16 ประเทศ  เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายลงใน ค.ศ. 1991 ยังมีประเทศที่ปกครองในระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ คือ จีน คิวบา เกาหลีเหนือ ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ ภาพที่ 1- 9 ภาพสัญลักษณ์พรรคคอมมิวนิสต์ของคาร์ล มาร์ก ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki คาถาม การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทวีปยุโรปมีต้นกาเนิด มาจากอารยธรรมใด ตรวจคาตอบหน้าถัดไปได้เลยค่ะ
  • 23. 23 กรอบสรุป คาตอบกรอบที่ 3 อารยธรรมกรีก การเมืองการปกครองของทวีปยุโรปมีการเปลี่ยนการปกครองหลายรูปแบบ หาก เพื่อนๆยังสงสัยในเรื่องใด ก็สามารถย้อนกลับไปศึกษาใหม่ได้นะคะ ถ้าศึกษาจนเข้าใจแล้ว เปิดไปหน้าถัดไปได้เลยค่ะ สมัยกรีกและโรมัน กษัตริย์มีอานาจสูงสุด สมัยกลาง ระบอบฟิวดัล สมัยใหม่ ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ระบอบกษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์ สมัยปัจจุบัน ระบอบประชาธิปไตย ระบอบคอมมิวนิสต์
  • 25. 25 กรอบที่ 1 เศรษฐกิจสมัยกลาง “เศรษฐกิจแบบแมเนอร์” หรือ เศรษฐกิจแบบยังฃีพ เป็นระบบการผลิต เพื่อเลี้ยงตัวเองในแต่ละแมเนอร์ มีขุนนางเป็นผู้ปกครอง โดยจัดแบ่งที่ดินให้ราษฎรเช่าทาการเกษตรส่วนหนึ่ง และ ของขุนนางเองอีกส่วนหนึ่ง มีการนาผลผลิตไปขายทั้ง ภายในแมเนอร์และนอกแมเนอร์ เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ ทาให้การค้าที่เคยรุ่งเรือง ในสมัยจักรวรรดิโรมันต้องหยุดชะงักกว่า 500 ปี เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ ภาพที่ 1- 10 ภาพการดาเนินชีวิตในคฤหาสน์ที่มีที่ดิน ล้อมรอบของขุนนาง ที่มา : http://worldrecordhistory.blogspot.com การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและสังคมของยุโรป ส่วนหนึ่งเป็นผลจากสงครามครูเสด ที่ชาวคริสต์รบกับชาวมุสลิมในดินแดนตะวันออกกลาง และมีโอกาสนาเอาความรู้ ความเจริญ และ ศิลปะวิทยาการ ของโลกตะวันออก กลับมาเผยแพร่ให้แก่โลกตะวันตกส่วนสินค้าที่โลกตะวันตกต้องการ ได้แก่ เครื่องเทศ น้าตาล ข้าว ส้ม มะนาว พริกไทย ผ้าไหม และพรม โดยมีพ่อค้าชาวอิตาลีเป็นคนกลาง พ่อค้าอิตาลีซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ มาร์โก โปโล (Marco Polo) ชาวเวนิส ได้เดินทางไปค้าขาย จนถึงเมืองจีน เศรษฐกิจในช่วงสงครามครูเสด คาถาม เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ทาให้การค้าต้องหยุดชะงักเป็นเวลานานแต่เหตุการณ์ใดที่ทาให้เศรษฐกิจ ของยุโรปสามารถฟื้นตัวได้อีกครั้ง ตรวจคาตอบได้ในหน้าถัดไปเลยครับ
  • 26. 26 กรอบที่ 2 เศรษฐกิจสมัยใหม่ คาตอบกรอบที่ 1 สงครามครูเสด ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อยุโรปเข้าสู่สมัยใหม่ การค้าขายทางทะเลในดินแดนไกลโพ้น มีความเจริญรุ่งเรืองมาก มีการสารวจทางทะเลเพื่อแสวงหาเส้นทางเดินเรือและค้นพบดินแดนใหม่ๆ ทั้งในทวีปอเมริกา เอเชีย และแอฟริกา ทาให้ชาติในยุโรปเกิดพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจในรูปแบบ ต่างๆ ดังนี้ รัฐบาลของกษัตริย์จะเข้าไปควบคุมการผลิตสินค้าและการค้าขายทั้งภายในประเทศและกับต่างประเทศ เพื่อนารายได้เข้าสู่ท้องพระคลังให้มากที่สุด เน้นการส่งออกและกีดกันการนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ส่งเสริม การแสวงหาอาณานิคมเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบและตลาดระบายสินค้า ทั้งนี้ เกิดจากความเชื่อว่าจะทาให้รัฐเข้มแข็ง และมั่นคง ระบบเศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม การยกเลิกกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินส่วนบุคคล เช่น ที่ดิน โรงงาน ฯลฯ แต่รัฐจะเข้าควบคุมและดาเนินการในระบบ เศรษฐกิจเองทั้งหมด โดยให้มีการบริหารการผลิตโดยชนชั้นแรงงาน ทั้งนี้เพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจที่มี ความเสมอภาคและเกิดความเป็นธรรมในสังคม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เกิดแนวความคิดการค้าแบบเสรี (Free Trade) โดยสนับสนุนให้เอกชน เป็นผู้ประกอบธุรกิจการค้า ทั้งในด้านอุตสาหกรรมและการเงิน โดยรัฐไม่เข้าไปแทรกแซง แต่ควรปล่อยให้นายทุน แข่งขันกันอย่างเสรี ซึ่งจะนาความมั่งคั่งมาสู่รัฐได้เช่นกัน ระบบเศรษฐกิจแบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คาถาม รัฐบาลของกษัตริย์จะเข้าไปควบคุมการผลิตสินค้าและการค้าขายทั้งภายในประเทศ และกับต่างประเทศ เพื่อนารายได้เข้าสู่ท้องพระคลังให้มากที่สุดคือระบบเศรษฐกิจแบบใด ตรวจคาตอบได้ในหน้าถัดไปเลยครับ
  • 27. 27 คาตอบกรอบที่ 2 ระบบเศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม สรุปพัฒนาการด้านเศรษฐกิจทวีปยุโรป สมัยกลาง • เศรษฐกิจแบบแมเนอร์ ส่งผลให้การค้าหยุดชะงักเป็นเวลานาน • สงครามครูเสด ส่งผลให้เศรษฐกิจยุโรปฟื้นตัวอีกครั้ง สมัยใหม่ • เศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม รัฐเป็นเจ้าของกิจการทั้งหมด • เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ส่งเสริมเอกชนให้เป็นเจ้าของกิจการ • เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม สร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรม เพื่อนๆตอบถูกกันกี่ข้อคะ ไม่ยากเลยใช่มั้ยคะ เมื่อศึกษาด้านเศรษฐกิจเข้าใจดีแล้ว เปิดหน้าถัดไปได้เลยค่ะ กรอบสรุป
  • 29. กรอบที่ 1 สังคมในสมัยกลาง ผู้คนในสังคมประกอบด้วย 3 ชนชั้น ได้แก่  ฐานันดรที่ 1 คือ พระราชวงศ์และขุนนาง  ฐานันดรที่ 2 คือ พระหรือบาทหลวงในคริสต์ศาสนา  ฐานันดรที่ 3 คือ ราษฎรสามัญชน ชาวนาเสรี และทาสติดที่ดิน สังคมของยุโรปในสมัยกลางเป็นสังคมฟิวดัล  คริสต์ศตวรรษที่ 11 มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเติบโตของเมือง ทาให้เกิดชนชั้นใหม่ขึ้นเรียกว่า “ชนชั้นกลาง” หรือชนชั้นกระฎุมพี  ชนชั้นกลางประกอบด้วยพ่อค้า นายทุน ช่างฝีมือ นักปราชญ์ แพทย์  ชนชั้นกลางเหล่านี้ได้ร่วมกันวางรากฐานความเจริญให้แก่สังคมยุโรปและปลูกฝังอุดมการณ์ และวิธีการปฏิบัติในการอยู่ร่วมกัน  ชนชั้นกลางให้ความสาคัญแก่สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคปัจเจกบุคคล ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญ ที่ทาให้สังคมยุโรป สามารถพัฒนาการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย กาเนิดของชนชั้นกลาง  เป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้มีผู้คนจากชนบทอพยพเข้ามาทางานในเมือง ซึ่งปรากฏเด่นชัดตั้งแต่ตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา  ประชากรของอังกฤษและประเทศที่มีความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมมากกว่าครึ่งหนึ่ง ของประชากรทั้งประเทศอาศัยอยู่ในเขตเมืองและส่วนใหญ่เป็นชนชั้นกลาง สังคมยุโรปในปัจจุบันเป็นสังคมเมือง คาถาม ในสมัยกลางชนชั้นใดที่ช่วยสร้างความเจริญให้แก่สังคมยุโรป ตรวจคาตอบหน้าถัดไป ได้เลยค่ะ
  • 30. กรอบที่ 2 ศิลปวัฒนธรรม คาตอบกรอบที่ 1 ชนชั้นกลาง ความเชื่อทางศาสนา ชาวกรีกนับถือเทพเจ้าหลายองค์ โดยให้ความสาคัญกับธรรมชาติและยกย่องให้เป็นเทพเจ้า งานสถาปัตยกรรม ได้แก่ วิหารพาร์เธนอน หัวเสาแบบดอริก ไอออนิก,คอรินเธียน งานวรรณกรรม ได้แก่ อีเลียด และโอเดสซี ของกวีโฮเมอร์ อารยธรรม กรีก งานสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่น คือ อาคารสิ่งก่อสร้างมีขนาดใหญ่ เพื่อรองรับคนจานวนมาก หลังคาเป็นแบบโค้งครึ่งวงกลมหรือโดม และรู้จักใช้คอนกรีต เช่น สนามกีฬาคอลอสเซียม งานวรรณกรรม ผลงานที่มีชื่อเสียง ได้แก่ “อีเนียด”ของกวีชื่อ เวอร์จิล เป็นมหากาพย์สดุดีความยิ่งใหญ่ของชนชาติโรมันและความ เป็นมาของกรุงโรม อารยธรรม โรมัน สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชนชาติยุโรปที่สาคัญ มี 2 ประการ คือ อารยธรรมกรีก-โรมันกับคริสต์ศาสนา ซึ่งเป็นรากฐานของวัฒนธรรมตะวันตกใน ปัจจุบัน ภาพที่ 1-11 รูปปั้นจาลองเทพเจ้าซุส ภาพที่ 1-12 ภาพหัวเสาแบบคอรินเธียน ภาพที่ 1-13 ภาพรูปปั้นกวีโฮเมอร์ ภาพที่ 1-14 ภาพคอลอสเซียม ภาพที่ 1-15 ภาพวาดนักรบโรมัน ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ คาถาม รากฐานของศิลปวัฒนธรรมตะวันตกในปัจจุบันมาจาก สิ่งใดบ้าง ตรวจคาตอบในหน้าถัดไปได้เลยครับ
  • 31. 31 กรอบที่ 2 ศิลปะยุคแห่งศรัทธา คาตอบกรอบที่ 1 อารยธรรมกรีก – โรมัน และคริสต์ศาสนา เกิดจากอิทธิพลของคริสต์ศาสนาซึ่ง พลังที่แต่งเติมให้ศิลปวัฒนธรรมของยุโรปบรรลุความงาม และความสมบูรณ์แบบ ทั้งมีการสร้างมหาวิหารด้วยศิลปะแบบกอทิก ในระหว่าง ค.ศ. 1100 - 1300 มีจานวนมากกว่า 500 แห่ง ผลงานของศิลปะกอทิกจะปรากฏในงาน สถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่เป็นวิหารในคริสต์ศาสนา มีลักษณะสูงเพรียว โปร่ง หลังคาทรงสูงก่อสร้าง เป็นโค้งแหลม ประตูมีลักษณะโค้ง หน้าต่างใช้ กระจกสีประดิษฐ์ ลวดลายสวยงาม เช่น วิหาร โนตรดาม (Notre Dame) กรุงปารีส ประเทศ ฝรั่งเศส และวิหาร ออร์เวียตโต (Orvieto) เมืองเตร์นี (Terni) ประเทศอิตาลี เป็นต้น ศิลปะกอทิก ภาพที่ 1-16 ภาพวิหาร ออร์เวียตโต (Orvieto) เมืองเตร์นี (Terni) ประเทศอิตาลี ที่มา:https://sites.google.com/site/alohatravelplace/dark-age คาถาม วิหารออร์เวียตโต ในประเทศอิตาลีเป็นศิลปะแบบใด ตรวจคาตอบหน้าถัดไปเลยค่ะ ศิลปะยุคแห่งศรัทธา
  • 32. 32 กรอบที่ 3 ศิลปะยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ คาตอบกรอบที่ 2 ศิลปะแบบกอทิก ได้แก่ วิหารเซนต์ ปีเตอร์ ณ นครวาติกัน กรุงโรม ประเทศอิตาลี มีรูปแบบอาคารของกรีกและโรมัน เช่น ใช้เสาขนาดใหญ่ หลังคาโค้งหรือหลังคารูปโดม ด้านสถาปัตยกรรม ได้แก่ รูปสลักหินอ่อนเดวิด (David) ของศิลปินที่ชื่อ ไมเคิลแอนเจโล (Michelangelo) แสดงสัดส่วนสรีระร่างกายของมนุษย์เหมือนอย่างกรีก-โรมัน ด้านประติมากรรม นิยมเขียนภาพวาดเหมือนจริง เน้นอิริยาบถการเคลื่อนไหวและสะท้อนอารมณ์และความรู้สึกของมนุษย์ ตามความเป็นจริง มีการใช้สี และเงาให้เกิดแสงสว่าง เกิดความตื้นลึกของภาพที่เรียกว่า “เปอร์สเปคตีฟ” (Perspective) ผลงานที่มีชื่อเสียง คือ ภาพโมนาลิซา (Mona Lisa) ของศิลปินชื่อ ลิโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี เป็นต้น ด้านจิตรกรรม เริ่มต้นในอิตาลีในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 14 ยุโรปสามารถฟื้นฟูการศึกษาและผลงานสร้างสรรค์ ทางด้านวิจิตรศิลป์ของกรีก-โรมันขึ้นมาใหม่ ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ(Renaissances) คาถาม ภาพโมนาลิซา (Mona Lisa) เป็นผลงานของศิลปินคนใด ตรวจคาตอบในหน้าถัดไป เลยค่ะ
  • 33. กรอบที่ 4 ศิลปะแบบบาโรก คาตอบกรอบที่ 3 ลิโอนาร์โด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) ถูกนามาใช้เพื่อความยิ่งใหญ่ของคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกอิตาลี ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นช่วงเวลาที่กษัตริย์ยุโรปราชวงศ์ต่างๆ มีพระราชอานาจโดยสมบูรณ์ เหล่าพ่อค้าขนชั้นกลางมีความมั่งคั่งร่ารวย ผลงานด้านศิลปะในยุคนี้จึงเน้นความหรูหรา ฟุ้งเฟ้อ เพื่อตอบสนองชนชั้นสูงและคนมีฐานะ ศิลปะแบบบาโรก (Baroque Arts) ถูกนาไปใช้เพื่อสร้างความสุขและความหรูหราแก่ชนชั้นสูง เช่น การสร้างพระราชวังแวร์ซายของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ต่อมาศิลปะบาโรกจากราชสานักก็ขยายเข้าสู่คฤหาสน์ของชนชั้นขุนนาง ฝรั่งเศส ภาพที่ 1-17 พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ภาพที่ 1-18 การตกแต่งภายในพระราชวังแวร์ซาย ที่มา : http://deversailles.blogspot.com/2012/09/blog-post.html คาถาม พระราชวังแวร์ซายในประเทศฝรั่งเศส เป็นศิลปะรูปแบบใด ตรวจคาตอบในหน้า ถัดไปเลยค่ะ
  • 34. 34 กรอบเนื้อหาที่ 5 ศิลปะแนวสัจนิยม คาตอบกรอบที่ 4 ศิลปะแบบบาโรก ภาพที่ 1-19 ภาพสระบัว โดย โกลด โมเน ( Claude Monet) ที่มา :http://pirun.ku.ac.th/~b521080392/5Impressionism%20Art.html  เป็นภาพวาดที่มักถ่ายทอดความเป็นจริงของชีวิตในสังคมอุตสาหกรรม ทั้งความมั่งคั่งของนายทุนและชีวิตของคนยากจนในเมืองใหญ่  ศิลปินก็นาหลักวิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับแนวทางศิลปะ ทาให้ภาพวาดมีลักษณะใหม่ที่ สว่างและสดใสมากขึ้น จึงได้ชื่อว่า อิมเพรสชันนิสต์ (Impressionism)  จิตรกรที่โดดเด่น เช่น โกลด โมเน (Claude Monet) ปีแยร์ โอกูสต์ เรอนัวร์ (Pierre Auguste Renoir) ศิลปะแนวสัจนิยม หรือเรียลลิสติก (Realistic) คาถาม การนาหลักวิทยาศาสตร์มาประยุกต์กับแนวทางศิลปะ ทาให้ภาพวาดมีลักษณะใหม่ ที่สว่างและสดใสมากขึ้นคือลักษณะของศิลปะแบบใด ตรวจคาตอบใน หน้าถัดไปเลยค่ะ
  • 35. 35 คาตอบกรอบที่ 4 อิมเพรสชันนิสต์ (Impressionism) สรุปพัฒนาการด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรป • สังคมของยุโรปในสมัยกลางเป็นสังคมฟิวดัล มีการแบ่งเป็นชนชั้น ต่างๆ • “ชนชั้นกลาง” หรือชนชั้นกระฎุมพีร่วมกันวางรากฐานความเจริญ ให้แก่สังคมยุโรปและปลูกฝังอุดมการณ์และวิธีการปฏิบัติในการอยู่ ร่วมกัน ด้านสังคม • สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชนชาติ ยุโรปที่สาคัญคือ อารยธรรมกรีก-โรมันกับคริสต์ศาสนา • การสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรปเกิดขึ้นหลายยุคสมัย  ศิลปะยุคแห่งศรัทธา เช่น ศิลปะแบบกอทิก  ศิลปะยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ เช่น ศิลปะแบบบาโรก  ศิลปะแนวสัจนิยม หรือเรียลลิสติก เช่น ศิลปะอิมเพรสชันนิสต์ ด้านศิลปวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรมของทวีปยุโรปมีความสวยงามและมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก และมีการเผยแพร่ ไปทั่วโลกเลย เพื่อนๆศึกษาแล้วชื่นชอบศิลปะรูปแบบใดบ้างครับ ต่อไปเป็นเนื้อหาสุดท้ายแล้ว พร้อมแล้วเปิดหน้าถัดไปเลยค่ะ กรอบสรุป
  • 37. กรอบที่ 1 อิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลก  แนวคิดประชาธิปไตยสมัยกรีก เป็นแม่แบบ ของระบอบประชาธิปไตย และระบอบ กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ  กฎหมายสิบสองโต๊ะของโรมัน เป็นแม่แบบของประมวลกฎหมายในประเทศทั่วโลก  เมืองและระบบเทศาภิบาลในสมัยกลาง เป็นแม่แบบของเมืองในปัจจุบัน  ผลจากลัทธิสังคมนิยมนาไปสู่การปฏิวัติรัสเซีย เกิดการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ และขยายตัวไปยังที่ต่างๆ ทั่วโลก  หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อเสริมสร้าง สันติภาพ และความร่วมมือของโลก ด้านการเมืองการปกครอง  งานศิลปะแขนงต่างๆ ของยุโรปเป็นต้นแบบในการสร้างสรรค์งานศิลปะทั่วโลก ด้านศิลปวัฒนธรรม คาถาม สังคมยุโรปเปลี่ยนจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม เพราะได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์ใด ตรวจคาตอบใน หน้าถัดไปเลยค่ะ  การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ทาให้สังคมตะวันตกก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและวิทยาการต่างๆ มากกว่า ดินแดนอื่นๆ ของโลก  การปฏิวัติอุตสาหกรรมทาให้ยุโรปเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม ที่ทันสมัย ประชาชนมีการกินดีอยู่ดี ทาให้เศรษฐกิจแบบทุนนิยมขยายตัวอย่างมาก  การปฏิวัติฝรั่งเศสของชนชั้นกลางเพื่อความเป็นประชาธิปไตยตามแนวทางของเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ ต่อมายังนาไปสู่การเกิดลัทธิชาตินิยม ด้านการปฏิวัติต่างๆ
  • 38. 38 คาตอบกรอบที่ 1 การปฏิวัติอุตสาหกรรม สรุป อิทธิพลของทวีปยุโรปต่อสังคมโลก 1.ระบอบการปกครองระบอบประชาธิปไตย 2.ระบอบการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ 3. การปฏิวัติอุตสาหกรรม 4. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ 5. การเป็นผู้นาด้านศิลปวัฒนธรรม เปิดหน้าถัดไปเลยค่ะ กรอบสรุป เมื่อเพื่อนๆเปิดมาถึงหน้านี้ แสดงว่าได้ศึกษา พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปครบ ทุกกรอบแล้วนะคะ ต่อไปเรามาทาแบบทดสอบ หลังเรียนกันเลยค่ะ
  • 39. 39 ทดสอบหลังเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายกากบาท (x) ข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ 1. ศูนย์กลางความเจริญของอารยธรรมโรมันตั้งอยู่ที่ประเทศใดในปัจจุบัน ก) กรีซ ข) ตุรกี ค) อิตาลี ง) เยอรมัน 2. ในสมัยกลางทวีปยุโรปมีการปกครองแบบใด ก) ระบอบฟิวดัล ข) ระบอบเผด็จการ ค) ระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ง) ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 3. ประวัติศาสตร์ของยุโรปมีความเกี่ยวข้องกับอารยธรรมใดมากที่สุด ก) อิยิปต์ ข) กรีก – โรมัน ค) เมโสโปเตเมีย ง) ลาติน – รัสเซียน 4. ลักษณะเศรษฐกิจแบบพอเลี้ยงตนเองของทวีปยุโรปในสมัยกลางตอนต้นคือข้อใด ก) แมเนอร์ ข) ทุนนิยม ค) สังคมนิยม ง) พาณิชยนิยม 5. เหตุการณ์ใดที่ส่งผลให้เศรษฐกิจทวีปยุโรปฟื้นตัวขึ้นหลังจากหยุดชะงักเป็นเวลานาน ก) สงครามครูเสด ข) สงครามสามสิบปี ค) สงครามโลกครั้งที่ 1 ง) สงครามดอกกุหลาบ
  • 40. 40 ทดสอบหลังเรียนเรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป 6. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะทางการเมืองการปกครองของทวีปยุโรปในปัจจุบันได้ถูกต้องที่สุด ก) นิยมประชาธิปไตย ข) ไม่ยึดติดเรื่องแนวคิด ค) การเมืองมีสภาพคงที่ ง) มีการเปลี่ยนรัฐบาลอยู่บ่อยครั้ง 7. ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน ก) ศิลปะแบบโรมัน - คอลอสเซียม ข) ศิลปะแบบกรีก - วิหารพาเธนอน ค) ศิลปะแบบบาโรก - วิหารโนตรดาม ง) ศิลปะแบบกอทิก - วิหารออร์เวียตโต 8. ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชนชั้นใดที่สร้างความเจริญให้แก่สังคมยุโรป ก) นักรบ ข) ขุนนาง ค) นักบวช ง) กระฎุมพี 9. เหตุการณ์ใดในประวัติศาสตร์ของยุโรปที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกมากที่สุด ก) จักรวรรดิโรมันถูกโจมตี ข) สหภาพโซเวียตล่มสลาย ค) สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ง) การปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 10. ข้อใดไม่ใช่มรดกทางอารยธรรมที่ชาวกรีกถ่ายทอดให้แก่ทวีปยุโรป ก) คริสต์ศาสนา ข) งานสถาปัตยกรรม ค) การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ง) การปกครองระบอบประชาธิปไตย . ไปตรวจคาตอบกันครับ
  • 41. เฉลยทดสอบหลังเรียน เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป เพื่อนๆทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ถูกต้องกี่ข้อคะ เปิดหน้าถัดไปเพื่อประเมินตนเองด้วยนะคะ 1. ก. 2. ก. 3. ข. 4. ก. 5. ก. 6. ก. 7. ค. 8. ง. 9. ค. 10. ก.
  • 42. 42 แบบประเมินตนเองหลังเรียน การเรียนบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่มที่ 1 ทวีปยุโรป ชื่อ..................................................................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ .............................................เลขที่........................................ โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก ) จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน นักเรียนทาคะแนนได้ ___________________ 10 เกณฑ์การประเมิน ถ้านักเรียนทาได้ 6 คะแนน ถือว่า ผ่าน ถ้านักเรียนทาได้ 7-8 คะแนน ถือว่า ดี ถ้านักเรียนทาได้ 9-10 คะแนน ถือว่า ดีมาก ถ้าเพื่อนๆ พิจารณาผลการเรียนแล้ว อยู่ในเกณฑ์ ที่ไม่น่าพอใจ ลองศึกษาใหม่อีกครั้งนะครับ
  • 43. 43 บรรณานุกรม โกปีน,บรีชีตและคณะ.(2552).THINKสารานุกรมชวนคิดสังคมและประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค พับลิเคชั่นส์. ณรงค์ พ่วงพิศและคณะ.(2555)หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม.3.(พิมพ์ครั้งที่3) กรุงเทพฯ:อักษรเจริญทัศน์ อจท. พลับพลึง คงชนะ,ผศ.(2552)หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ประวัติศาสตร์.(พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ:พัฒนาคุณภาพงานวิชาการ ไพฑูรย์ มีกุศล,รศ.ดร.(2555)หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. วรรัตน์ วรรณเลิศลักษณ์.(2555)แบบวัดผลและบันทึกผลการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ม.3. (พิมพ์ครั้งที่18)กรุงเทพฯ:อักษรเจริญทัศน์ อจท. เสียง เชษฐศิริพงค์และคณะ.(2552)ติวเข้มเฉลยแนวข้อสอบ ม.3 O-NET.กรุงเทพฯ:พ.ศ.พัฒนา. ศิริพร กรอบทองและคณะ.(2555). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม.3.(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ:เอมพันธ์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. (2553). หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน เทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) พุทธศักราช 2553 ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2558 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. สงขลา:โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก).
  • 44. 44 ประวัติผู้จัดทา ชื่อ-ชื่อสกุล นางสาวมลฤดี เพ็ชร์สุวรรณ วัน เดือน ปีเกิด 6 ธันวาคม 2523 สถานที่เกิด จังหวัดสงขลา สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 16 หมู่ที่ 3 ตาบลคูขุด อาเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90190 ตาแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน ครูชานาญการ สถานที่ทางานปัจจุบัน โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวป้อมนอก) ถนนริมทางรถไฟ ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90000 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2546 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา สถาบันมหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา