SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
วิชา : อัลอัคลาก
ชั้น : ระดับอิสลามศึกษาตอนปลายชั้นปที่ 4
ภาคเรียน / ปการศึกษา : 2 / 2555
อาจารยผูสอน : ออ..มูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟยย
โรงเรียนสามารถดีวิทยา
อําเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
บันทึกขอความ
ที วสว. 017 / 2555
วันที พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
เรือง ขออนุมัติการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
เรียน ผู้อํานวยการโรงเรียนสามารถดีวิทยา
ด้วยฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา ได้มีนโยบายเกียวกับการ
จัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพจึงได้กําหนดให้ครูผู้สอนมีการจัดทําแผนการ
จัดการเรียนรู้ทีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ บัดนี ข้าพเจ้าได้จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ประจํา
ภาคเรียนที 2/2555 เรียบร้อย ดังรายละเอียดทีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้
ในการนีจึงขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้
ลงชือ………………………………ผู้ขอใช้แผน
(นายมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟีย์)
ครูผู้สอน
ลงชือ………………………………ผู้ตรวจสอบ
(นายมาหะมะ บาราเตะ)
รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา
ลงชือ………………………………ผู้อนุมัติใช้แผน
(นายอําพล พลาสิน)
ผู้อํานวยการโรงเรียนสามารถดีวิทยา
คําอธิบายรายวิชา
รายวิชา อัลอัคลาก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมและจริยธรรม
ชันอิสลามศึกษาปีที 4 ภาคเรียนที 2 รหัสวิชา สจ 41162
เวลา 20 ชัวโมง จํานวน 0.5 หน่วยกิต
ศึกษา ค้นคว้า สังเกต รายงานและอภิปรายหลักฐานจากอัลกุรอานและอัลฮะดีษถึง
ความสําคัญของจริยธรรมอิสลามในเรือง การมีมารยาทในการสามัคคีการห้ามคิดร้ายต่อผู้อืน การ
ห้ามนินทา และห้ามแตกแยก
เพือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความเชือมัน พึงพอใจ ชืนชมในการปฏิบัติตามมารยาท
ต่างๆในการดําเนินชีวิตเพือการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
โครงสร้างรายวิชา อัลอัคลาก (ภาคเรียนที 2)
ชันอิสลามศึกษาปีที 4
ลําดับ
ที
ชือหน่วยการเรียน
มาตรฐานการ
เรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
(ชัวโมง)
5
การประชุมระบบชู
รอในอิสลาม
สจ 2.1 , 2.2 ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอ
เรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ
พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบ
ความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับ
การนําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫ﻣﺟﻠس‬
‫اﻟﺷورى‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ
6
6
การช่วยเหลือสิงที
ดีและการตักวา
สจ 2.1 , 2.2 การใหความชวยเหลือกันระหวางผูศรัทธานั้น
จะตองดูใหครบทุกๆดาน ทุกๆเรื่อง ไมวาจะเปน
เรื่องในทางโลกอาคิเราะห หรือการดําเนินชีวิตใน
ดุนยา เปรียบไดกับอาคาร ทุกชิ้นสวนของมัน
จะตองยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน จึงจะทําใหอาคาร
นั้นแข็งแรงมั่นคง
4
7
คุณค่าของเวลา สจ 2.1 , 2.2 เวลาเปนสิ่งมีคา ชาวตะวันตกถือวาเวลา
คือทองคํา แตอิสลามสอนวาเวลามีคายิ่งกวานั้น
เพราะเวลาคือชวงชีวิตที่พระเจามอบใหมนุษยแต
ละคนในโลกนี้เพื่อเตรียมตัวไวสําหรับอนาคตใน
โลกหนา ในอดีต นักวิชาการมุสลิมเขาใจถึงคุณคา
ของเวลาดีกวาชาวตะวันตกเสียอีกและการรูจัก
คุณคาของเวลานี้เองคือเหตุผลที่ทําใหทําใหบรรพ
ชนมุสลิมในอดีตประสบความสําเร็จในการฟนฟู
ศาสนา
5
8
การนินทาผู้อืน สจ 2.1 , 2.2 การนินทาวาราย ถือวาเปนการกระทําที่ไมดีอยาง
มาก และเปนการแสดงออกถึงความไรจรรยา
มารยาท ผูที่มีจิตใจออนแอและมีจิตใจที่ไรอีหมาน
จะไมสามารถหลีกเหลี่ยงจากการกระทําอันนี้ได
และมันยังเปนบาปใหญที่มุสลิมจะตองละทิ้ง การ
นินทาเปรียบเสมือนการคาที่ประสบกับการ
ขาดทุน โดยที่ผลของการนินทาจะมากัดกรอน
ความดีของเขาใหหมดไป ความผิดบาปจะเขามา
แทนที่ความดี
5
ตารางโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา อัลอัคลาก ชันอิสลามศึกษาปีที 4
ภาคเรียนที 2 เวลา 20 ชัวโมง
หน่วยการเรียนรู้
แผนการจัด
การเรียนรู้
วิธีสอน / กระบวนการจัด
การเรียนรู้
ทักษะการคิด
เวลา
(ชัวโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที5
การประชุมระบบชูรอใน
อิสลาม
1. ความหมายการชู
รอ ความสําคัญ
ประวัติความเป็นมา
หุกุมและหลักฐาน
1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
2. วิธีสอนแบบกระบวนการ
สร้างความตระหนัก
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์
4
2. คุณสมบัติที
ปรึกษาและเป้ าหมาย
- วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือ
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์
2
หน่วยการเรียนรู้ที6
การช่วยเหลือสิงทีดีและ
การตักวา
3. ความหมายและ
ความสําคัญของการ
ช่วยเหลือ
1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
2. วิธีสอนแบบกระบวนการ
สร้างความตระหนัก
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะการคิด
สร้างสรรค์
2
4. หลักฐานและ
ปัจจัยเกือหนุน
1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
2. วิธีสอนแบบกระบวนการ
สืบค้น
- ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2
หน่วยการเรียนรู้ที7
คุณค่าของเวลา
5. ความหมาย
หลักฐานและ
ประโยชน์ของเวลา
- วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์
3
6. วิธีการบริหารเวลา - วิธีสอนแบบกระบวนการ
สร้างความตระหนัก
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์
2
หน่วยการเรียนรู้ที8
การนินทาผู้อืน
7. ความหมาย หุกุม
หลักฐานและสาเหตุ
ของการนิทา
1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
2. วิธีสอนแบบกระบวนการ
สร้างความตระหนัก
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะการคิด
สร้างสรรค์
3
8. วิธีการป้ องกันและ
รักษา
1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
2. วิธีสอนแบบกระบวนการ
สืบค้น
- ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2
5
อัลอัคลาก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมและจริยธรรม
ชันอิสลามศึกษาปีที 4 เวลาเรียน 6 ชัวโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว
สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข
สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการพัฒนาดําเนินชีวิต
สาระสําคัญ
ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ
พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับการ
นําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫اﻟﺷورى‬ ‫ﻣﺟﻠس‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง/ตัวชีวัด
3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการประชุม
3.2 เห็นความสําคัญของการประชุม
3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 บอกและอธิบายความหมายของการประชุมได
4.2 บอกและอธิบายความสําคัญของการประชุมได
4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวันได
สาระการเรียนรู้
5.1 การประชุม(ชูรอ)
- ความหมายและความสําคัญของการประชุม
- ประวัติความเปนมา
- หุกุมและหลักฐาน
- คุณสมบัติสมาชิกการประชุม
- เปาหมายการประชุม
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการจัดการเรียนรู(การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA”) ดังนี้
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 1111 การทบทวนความรูเดิมการทบทวนความรูเดิมการทบทวนความรูเดิมการทบทวนความรูเดิม
อุสตาษฺทบทวนความรูเดิมโดยซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการชูรอ จากนั้นอุสตาษฺเขียนหัวขอบน
กระดานดํา และใหนักเรียนถกเกี่ยวกับการชูรอ ดังกลาว
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 2222 การแสวงหาความรูใหมการแสวงหาความรูใหมการแสวงหาความรูใหมการแสวงหาความรูใหม
อุสตาษฺอธิบายเกี่ยวกับความหมายการชูรอ โดยอุสตาษฺแจกใบความรูที่ 1 ใหนักเรียนศึกษา
จากนั้นอุสตาษฺอธิบายเกี่ยวกับ
1. วิธีการชูรอ
2. ความสําคัญของการชูรอ
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 3333 การศึกษาทําความเขาใจขอมูลการศึกษาทําความเขาใจขอมูลการศึกษาทําความเขาใจขอมูลการศึกษาทําความเขาใจขอมูล////ความรูใหมความรูใหมความรูใหมความรูใหม
อุสตาษฺใหนักเรียนแบงกลุม จากนั้นแจกใบงานที่ 1 ใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของการชู
รอในอิสลาม
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 4444 การแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุมการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุมการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุมการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุม
เมื่อนักเรียนทํางานเสร็จแลวใหนักเรียนทําความเขาใจ แลกเปลี่ยน หรือตรวจความถูกตอง
ภายในกลุม
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 5555 การสรุปการสรุปการสรุปการสรุป
อุสตาษฺใหนักเรียนชวยกันสรุปขอมูลที่ไดศึกษาการชูรอและรัฐศาสตรอิสลามในยุคปจจุบัน
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 6666 การแสดงผลงานการแสดงผลงานการแสดงผลงานการแสดงผลงาน
อุสตาษฺใหนักเรียน 6 คน ออกมานําเสนอขอมูลโดยสรุปจากที่ไดศึกษาบนกระดาน จากนั้นให
นักเรียนทุกคนชวยกันตรวจสอบ
ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 7777 การประยุกตใชความรูการประยุกตใชความรูการประยุกตใชความรูการประยุกตใชความรู
อุสตาษฺแจกแบบฝกหัดใหนักเรียนทําเปนการบานและทดสอบเก็บคะแนน
การวัดและการประเมินผล
วิธีกวิธีกวิธีกวิธีการประเมินารประเมินารประเมินารประเมิน
1. สังเกตจากการรวมกิจกรรม(การตอบคําถาม)
2. การอานและทองจํา
3. ตรวจใบงาน
เครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
2. แบบประเมินการอานและทองจํา
3. แบบประเมินชิ้นงาน
1
ความหมายความหมายความหมายความหมายของคําวาชูรอ ทางหลักภาษาอาหรับ คือ ปรึกษาหารือ ขอคําเสนอแนะ ขอความ
คิดเห็น
ความหมายความหมายความหมายความหมายทางหลักนิติศาสตรอิสลาม อัชชูรอ คือ การประชุมในกิจการหนึ่งๆ เพื่อหารือกัน
ระหวางผูเขารวมประชุม ประสงคที่จะบรรลุสูความเห็นที่ดีและเหมาะสมในกิจการนั้นๆ . มัจลิส อัชชู
รอ คือ สภาที่ประชุม
หลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลามหลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลามหลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลามหลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลาม
หลักฐานจากอัลกุรอาน
ْ‫م‬ُ‫ھ‬ْ‫ر‬ِ‫او‬َ‫ش‬َ‫و‬‫ي‬ِ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫م‬َ‫األ‬‫ا‬َ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ف‬َ‫ت‬ْ‫م‬َ‫ز‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ﱠ‬‫ك‬َ‫و‬َ‫ت‬َ‫ف‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ِ ّ‫ﷲ‬‫ﱠ‬‫ن‬ِ‫إ‬َ ّ‫ﷲ‬‫بﱡ‬ِ‫ح‬ُ‫ي‬َ‫ين‬ِ‫ل‬‫ﱢ‬‫ك‬َ‫و‬َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ال‬{
และจงปรึกษาหารือกับพวกเขาในกิจการทั้งหลาย ครั้นเมื่อเจาไดตัดสินใจแลว ก็จงมอบหมาย
แดอัลลอฮเถิดแทจริงอัลลอฮทรงรักใครผูมอบหมายทั้งหลาย (อาลิ อิมรอน 159)
َ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ﱠ‬‫ال‬َ‫و‬‫ُوا‬‫ب‬‫ا‬َ‫ج‬َ‫ت‬ْ‫س‬‫ا‬ْ‫م‬ِ‫ھ‬‫ﱢ‬‫ب‬َ‫ر‬ِ‫ل‬‫وا‬ُ‫م‬‫ا‬َ‫ق‬َ‫أ‬َ‫و‬َ‫ة‬ َ‫ﱠال‬‫ص‬‫ال‬ْ‫م‬ُ‫ھ‬ُ‫ر‬ْ‫م‬َ‫أ‬َ‫و‬‫ى‬َ‫ر‬‫و‬ُ‫ش‬ْ‫م‬ُ‫ھ‬َ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ب‬‫ا‬‫ﱠ‬‫م‬ِ‫م‬َ‫و‬ْ‫م‬ُ‫ھ‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ق‬َ‫ز‬َ‫ر‬َ‫ون‬ُ‫ق‬ِ‫ف‬‫ُن‬‫ي‬
และบรรดาผูตอบรับตอพระเจาของพวกเขาและดํารงละหมาด และกิจการของพวกเขามีการ
ปรึกษาหารือระหวางพวกเขาและเขาบริจาคสิ่งที่เราได ใหเครื่องปจจัยยังชีพแกพวกเขา (อัชชูรอ 38)
หลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัดหลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัดหลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัดหลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัด
1.รายงานโดยทานอบูฮุรอยเราะฮ (ร.ฮ.) กลาววา (ฉันไมเคยเห็นผูใดที่ปรึกษาหารือในกิจการ
ตางๆกับสหายของเคามากกวาทาน รอซูล อีกแลว) บันทีกโดยอัตติรมิซี(4/213).
2.ทานรอซูล ไดปรีกษาหารือ(ชูรอ) กับบรรดาศอฮาบะฮในสงครามบะดัร เกี่ยวกับยุทธศาสตร
การรบ. (ซีเราะฮอิบนุฮิชาม 2/272)
3.ทานรอซูล ไดปรีกษาบรรดาศอฮาบะฮในการออกสงครามอุฮุดวาสมควรออกไปหรือไม
(ฟตฮุลบารีย 17/103-104)
4.ทานหะซัน อัลบัศรียกลาววา ทานรอซูล ไดปรีกษาหารือไมเวนแมกระทั่งสตรี และหลอนก็ไดให
คําแนะนํา ทานรอซูลไดปฏิบัติตามคําแนะนําของหลอน (ศอเฮี้ยะ อัลบุคอรี เรื่องสงครามหุดัยบี
ยะฮ)
ระบบชูรอเปนระบบสําคัญและมีมาตั้งแตการกอตั้งรัฐอิสลามแหงแรกในมะดีนะฮ โดยทานน
บีมุฮัมมัด นับแตทานไดฮิจเราะฮสูนครมะดีนะฮ นับแตนั้นไดถือกําเนิดระบบชูรอ และรัฐ
อิสลาม. ทานรอซูล ในฐานะผูนําประเทศไดปฏิบัติเปนแบบอยางในเรื่องการบริหารโดยใชระบบชู
รอ. ดังเชนทานมักจะปรีกษาทานอบูบักร และอุมัร(ร.ฮ.) และบรรดาศอฮาบะฮทานอื่นๆ แลวแต
กรณี.
ขอบเขตของการชูรอขอบเขตของการชูรอขอบเขตของการชูรอขอบเขตของการชูรอ
การใชระบบชูรอ หรือการปรึกษาหารือนั้น นบีไดทําเปนแบบอยางหลายดาน กลาวไดวาระบบชู
รอที่เปนรากฐานอันสําคัญของรัฐอิสลามคือ นับตั้งแตการเลือกตั้งผูนํา ผานสภาชูรอที่เลือกตั้ง
โดยประชาชน ไปจนถึงการศึกสงคราม หรือการบริหารองคกรหนึ่งๆ หรือวินิจฉัยปญหาศาสนา
หรือการศึกษา เศรษฐกิจ และอื่นๆ เปนตน กลาวไดวาระบบชูรอครอบคลุมชีวิตมุสลิมทุกๆดาน
รูปแบบการชูรอ
ชูรอไมไดมีรูปแบบตายตัว แตสามารถปรับใชในหลายๆกิจการแลวแตความเหมาะสม อาจ
สรุปได หลักๆ ดังตอไปนี้
1.การปรึกษา โดยอาศัยที่ปรึกษา หนี่งหรือสองคน ดังเชนการปรึกษาของทานนบีกับทานอบูบักร
และอุมัร(ร.ฮ.).
2.การตั้งสภาที่ปรีกษา(มัจลิสชูรอ) ดังเชนนบีไดเลือกผูนําจากเผาตางๆเปนสมาชิกสภาชูรอของ
รัฐ เพื่อลงมติและเสนอความคิดเห็นในกิจการตางๆของรัฐ.
ระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกรระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกรระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกรระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกร
การเลือกตั้งผูนํารัฐในอิสลามมีสองรูปแบบหลักๆ คือ
1.การเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
2.การเลือกตั้งโดยระบบชูรอ คือ ประชาชนเลือกตัวแทนเพื่อประกอบเปนสภาชูรอ และสมาชิก
เหลานั้นเปนผูลงมติออกเสียงในการเลือกผูนํา
การตั้งสภาชูรอ
1.สมาชิกสภาชูรอนั้นตองเปนผูที่ยึดมั่นในหลักศาสนา อีกทั้งเปนผูรูในเรื่องศาสนา นี่คือบุคคล
ประเภทแรกที่ตองมีในสภาชูรอ
2.ไมจํากัดเพศ เพราะการออกความคิดเห็นนั้นคํานึงถึงหลักการและความถูกตอง
3.คํานึงถึงประเภทขององคกร เชน สหกรณ ตองมีผูรูดานเศรฐกิจการเงิน หรือชมรม ตองมีผูรู
ดานบริหาร การจัดการ การบริการ เปนตน
เพราะเหตุใดตองมีบุคคลสองประเภทขางตน ?
1.เพราะผูรูทางศาสนานั้นคอยใหคําชี้แนะ ไมใหการลงมติขัดแยงกับหลักการศาสนา
2.ผูรูทางศาสนาคอยตรวจสอบมติ และตักเตือนสมาชิกสภาชูรอ
3.สวนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เพื่อการบริหารองคกรที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดตอ
สมาชิกองคกร
หลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอหลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอหลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอหลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอ
การลงมติชูรอในสภาชูรอนั้น ควรคํานึงถึงเรื่องที่ถูกนํามาเขาสภาชูรอ เพื่อวินิจฉัยลงมติเปน
หลัก
1.ในกรณีเปนการวินิจฉัยขอขัดแยงในทางศาสนา ตองอาศัยผูรู(อุลามา)ในการตัดสินและเปน
แหลงอางอิง และผูรูนั้นเปนผูที่ยึดมั่นในอัลกุรอานและอัซซุนนะฮ
2.ถาเปนการลงมติในเรื่องศาสตร ความรูเฉพาะดาน หรือเทคนิคการบริหาร อาทิเชน การลงมติ
ในเรื่องทิศทางการเงินขององคกร ตองอาศัยขอมูลและขอเท็จจริง และตองลงมติหลังจากไดผาน
การชูรออันประกอบดวยผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
3.ถาเปนการบริหารงานทั่วไป หรือการเลือกผูนํานั้นตองคํานึงถึงความเห็นชอบของสมาชิกสภา
ทั้งหมด หรือเสียงขางมาก เพราะทานนบีไดถือเอามติขางมากของบรรดาศอฮาบะฮในหลายๆ
กรณีดวยกัน
ผูนํา(อามีรหรืออามีเราะฮ)สามารถขัดมติของสภาชูรอไดหรือไม?
อุลามาในประเด็นนี้มีความเห็นขัดแยงกัน เปนสองทรรศนะ
1.ทรรศนะแรกคือ ผูนําไมควรขัดมติสภาชูรอ แตไมถือวามตินั้นวาญิบตองปฏิบัติ
2.ทรรศนะที่สองคือ มติที่วาเด็ดขาด(วาญิบ) ผูนําตองปฏิบัติตาม
ที่ถูกตองคือ ทรรศนะที่สอง เพราะอิสลามสนับสนุนใหมีการชูรอเพื่อใหมติหางไกลจากการใช
อารมณ และมติเสียงขางมากจากสมาชิกสภาชูรอที่คัดเลือกอยางเหมาะสมนั้นจะหางไกล จาก
การหลองลวงของชัยฏอน และเพื่อปองกันการใชอํานาจเผด็จการของผูนํา และมุสลิมควรยึดถือ
แบบอยางของทานนบีมุฮัมมัด(ซ.ล.) ....
ใบงานที 1
หน่วยการเรียนรู้ที 1 เรือง การชูรอ ชัน( อป )ปีที 4/2
การชูรอในอิสลาม
คําสังที 1 : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนีให้ถูกต้อง
1. การชูรอในอิสลาม คืออะไร ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
.............................................................................
คําสังที 2 : ให้นักเรียนบอกและอธิบายหลักฐานของการชูรอ
จากอัลกุรอาน
________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
____________________.
จากอัลฮะดีษ
________________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
_______________________________________________________________________
____________________.
แบบสังเกตพฤติกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมแบบสังเกตพฤติกรรม ((((ครั้งที่ครั้งที่ครั้งที่ครั้งที่........................))))
ชั้นชั้นชั้นชั้น((((อปอปอปอป)))) ปที่ปที่ปที่ปที่ 4444////2222 วันที่วันที่วันที่วันที่ ...../.........../...................../.........../...................../.........../...................../.........../................
เกณฑ์การประเมินของพฤติกรรม 1 = ปรับปรุง 2 = พอใช้ 3 = ดี
แบบประเมินชิ้นงานที่แบบประเมินชิ้นงานที่แบบประเมินชิ้นงานที่แบบประเมินชิ้นงานที่........................................................
ชั้นชั้นชั้นชั้น((((อปอปอปอป))))ปที่ปที่ปที่ปที่ 4/24/24/24/2 เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง............................................................................................................................................................................................................................ วันที่วันที่วันที่วันที่
...../....../.........../....../.........../....../.........../....../..................
ที ชือ - สกุล
พฤติกรรมทีจะประเมิน
รวม
คะแนน
สรุป
ความ
สนใจ
ความ
ร่วมมือ
การ
แสดงออก
การ
รับผิดชอบ ผ่าน ไม่
ผ่าน1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
ที ชือ – สกุล
เกณฑ์การประเมิน
รวม 10
คะแนน
สรุป
ความ
สมบูรณ์
ชัดเจน
2
ความ
ถูกต้อง
2
สะอาด
เรียบร้อย
สวยงาม
2
สาระ
ตรง
ประเด็น
2
ความคิด
สร้างสรรค์
2
ผ่าน
ไม่
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
เกณฑ์การประเมิน ได้ 7 คะแนนขึนไปถือว่าผ่าน
แบบประเมินการอ่านและท่องจําที..............
ชัน(อป)ปีที 4/2
เรือง............................................................................. วันที.........................................
ที
ชือ - สกุล
เกณฑ์การประเมิน รวม
10
คะแนน
สรุป
การอ่าน การท่องจํา
ผ่าน ไม่
ผ่าน
ครังที ครังที
1 2 1 2
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
เกณฑ์การประเมิน ได้ 7 คะแนนขึนไปถือว่าผ่าน
สือ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน อัลอัคลาก อป.1 2. บัตรภาพ
3. ใบความรู้ 4. ใบงาน
8.2 แหล่งการเรียนรู้
แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที 5
1. ห้องสมุด
2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่ 1111
สาระที่สาระที่สาระที่สาระที่ 2222 (((( อัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลาก )))) ชชชชวงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่ 4444 ปที่ปที่ปที่ปที่ 1
เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐานความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐานความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐานความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐาน เวลาเวลาเวลาเวลา 4444 คาบคาบคาบคาบ ⁄ ชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมง
.......................................................................................................
1.1.1.1.มาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรู
สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว
สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข
สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการดําเนินชีวิต
2.2.2.2. สาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญ
ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ
พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับการ
นําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫اﻟﺷورى‬ ‫ﻣﺟﻠس‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ
3.... ผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวัง
3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการประชุม
3.2 เห็นความสําคัญของการประชุม
3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวัน
4.4.4.4. จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู
4.1 บอกและอธิบายความหมายของการประชุมได
4.2 บอกและอธิบายความสําคัญของการประชุมได
4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวันได
5.5.5.5. สาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรู
5.1 การประชุม(ชูรอ)
- ความหมายและความสําคัญของการประชุม
- ความเปนมา หุกุมและหลักฐาน
6.6.6.6.กิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียน
6.1 ครูกลาวสะลาม
6.2 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล- ฟาตีฮะห และอานดุอาอฺ พรอมกัน
ขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียน
6.3 ครูเลาประวัติศาสตรอิสลามเกี่ยวกับการประชุมใหนักเรียนฟง
6.4 ทดสอบความรูของนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม
6.5 ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม
ขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอน
6.6 ครูแจกใบความรูใหนักเรียนทุกคนอาน
6.7 สุมนักเรียน2-3คนเพื่ออานใบความรูใหเพื่อนๆรวมหองฟง
6.8 อธิบายความหมายของการประชุมในอิสลามใหนักเรียนเขาใจ
6.9 สุมนักเรียน2-3คนเพื่อบอกความหมายของประชุมใหเพื่อนๆรวมหองฟง
6.10 แจกใบงานใหนักเรียนทุกคนตอบคําถามเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม
ขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุป
6.11 รวมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม
6.12 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล-อัศรฺ และดุอาอฺกีฟารัต
7.7.7.7. สื่อการเรียนรูสื่อการเรียนรูสื่อการเรียนรูสื่อการเรียนรู
7.1 ใบความรู เรืองการประชุมในอิสลาม
7.2 ใบงาน
8.8.8.8. การวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมิน
8.1 สังเกตจากการรวมกิจกรรม(การตอบคําถาม)
8.2 การอานและทองจํา
8.3 ตรวจใบงาน
เครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผล
8.4 แบบสังเกตพฤติกรรม
8.5 แบบประเมินการอานและทองจํา
8.6 แบบประเมินชิ้นงาน
9.9.9.9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรู
คาบที วัน/เดือน/ปี
ผลการจัดกิจกรรมการจัดการ
เรียนรู้
ปัญหาทีประสบใน
การจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
10.10.10.10.ขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนะะะะ
ลงชือ ...........................................................ผู้สอน
( นายมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟีย์)
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................... .
แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่ 2222
สาระที่สาระที่สาระที่สาระที่ 2222 (((( อัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลาก )))) ชชชชวงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่ 4444 ปที่ปที่ปที่ปที่ 1
เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง คุณสมบัติสมาชิกและเปาหมคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมายของการประชุมายของการประชุมายของการประชุมายของการประชุม เวลาเวลาเวลาเวลา 2222 คาบคาบคาบคาบ ⁄
ชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมง
.......................................................................................................
ลงชือ ...........................................................ผู้ตรวจ
( นายมาฮามะ บาราเต๊ะ )
ตําแหน่ง รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา
1.1.1.1.มาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรู
สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว
สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข
สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการดําเนินชีวิต
2.2.2.2. สาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญ
ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ
พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับการ
นําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫اﻟﺷورى‬ ‫ﻣﺟﻠس‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ
3.... ผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวัง
3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการประชุม
3.2 เห็นความสําคัญของการประชุม
3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวัน
4.4.4.4. จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู
4.1 บอกและอธิบายความหมายของการประชุมได
4.2 บอกและอธิบายความสําคัญของการประชุมได
4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวันได
5.5.5.5. สาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรู
5.1 การประชุม(ชูรอ)
- คุณสมบัติสมาชิกการประชุม
- เปาหมายของการประชุม
6.6.6.6.กิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรู
ขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียน
6.1 ครูกลาวสะลาม
6.2 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล- ฟาตีฮะห และอานดุอาอฺ พรอมกัน
ขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียน
6.3 ครูเลาประวัติศาสตรอิสลามเกี่ยวกับคุณสมบัติสมาชิกการประชุมใหนักเรียนฟง
6.4 ทดสอบความรูของนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม
6.5 ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม
ขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอน
6.6 ครูแจกใบความรูใหนักเรียนทุกคนอาน
6.7 สุมนักเรียน2-3คนเพื่ออานใบความรูใหเพื่อนๆรวมหองฟง
6.8 อธิบายคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมายการประชุมในอิสลามใหนักเรียนเขาใจ
6.9 สุมนักเรียน2-3คนเพื่อบอกคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมายของประชุมใหเพื่อนๆรวม
หองฟง
6.10 แจกใบงานใหนักเรียนทุกคนตอบคําถามเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม
ขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุป
6.11 รวมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม
6.12 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล-อัศรฺ และดุอาอฺกีฟารัต
7.7.7.7. สื่อกาสื่อกาสื่อกาสื่อการเรียนรูรเรียนรูรเรียนรูรเรียนรู
7.1 ใบความรู เรืองการประชุมในอิสลาม
7.2 ใบงาน
8.8.8.8. การวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมิน
8.1 สังเกตจากการรวมกิจกรรม(การตอบคําถาม)
8.2 การอานและทองจํา
8.3 ตรวจใบงาน
เครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผล
8.4 แบบสังเกตพฤติกรรม
8.5 แบบประเมินการอานและทองจํา
8.6 แบบประเมินชิ้นงาน
9.9.9.9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรู
คาบที วัน/เดือน/ปี
ผลการจัดกิจกรรมการจัดการ
เรียนรู้
ปัญหาทีประสบใน
การจัดการเรียนรู้
แนวทางแก้ไข
10.10.10.10.ขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนะะะะ
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
...........................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................... .
ลงชือ ...........................................................ผู้ตรวจ
( นายมาฮามะ บาราเต๊ะ )
ตําแหน่ง รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา
ลงชือ ...........................................................ผู้สอน
( นายมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟีย์)
6
อัลอัคลาก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมและจริยธรรม
ชันอิสลามศึกษาปีที 4 เวลาเรียน 4 ชัวโมง
มาตรฐานการเรียนรู้
สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว
สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข
สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการพัฒนาดําเนินชีวิต
สาระสําคัญ
การใหความชวยเหลือกันระหวางผูศรัทธานั้น จะตองดูใหครบทุกๆดาน ทุกๆเรื่อง ไมวาจะ
เปนเรื่องในทางโลกอาคิเราะห หรือการดําเนินชีวิตในดุนยา เปรียบไดกับอาคาร ทุกชิ้นสวนของมัน
จะตองยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน จึงจะทําใหอาคารนั้นแข็งแรงมั่นคง
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง/ตัวชีวัด
3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการชวยเหลือ
3.2 เห็นความสําคัญ หลักฐานและปจจัยเกื้อหนุนของการชวยเหลือ
3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการชวยเหลือในชีวิตประจําวัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 บอกและอธิบายความหมายของการชวยเหลือได
4.2 บอกและอธิบายความสําคัญ หลักฐานและปจจัยเกื้อหนุนของการชวยเหลือได
4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการชวยเหลือในชีวิตประจําวันได
สาระการเรียนรู้
5.1 การชวยเหลือ
- ความหมายและความสําคัญของการชวยเหลือ
- หลักฐาน
- ปจจัยเกื้อหนุน
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการจัดการเรียนรู ดังนี้
ขั้นนําขั้นนําขั้นนําขั้นนํา
1. อุสตาษสนทนาซักถามนักเรียนวา การชวยเหลือพี่นองมนุษยชาติมีอะไรบาง และเพราะเหตุ
ใดจําเปนตองมีการชวยเหลือ ใหนักเรียนผลัดกันตอบตามความคิดเห็นของตน
2. อุสตาษเฉลยกลไกสําคัญในการชวยเหลือพี่นองในอิสลามใหนักเรียนฟง แลวอธิบายวา การ
ชวยเหลือมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของมนุษยเพราะเปนการเสียสละและแสดงความรักภายใต
หลักอิสลาม
3. อุสตาษสุมถามนักเรียน 4-5 คนวา ชุมชนใครบางที่เคยชวยเหลือพี่นองบาง ใหนักเรียน
ผลัดกันเลาใหเพื่อนๆ ฟง
ขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอน
1. อุสตาษใหนักเรียนเปดหนังสือ (หนา 37-39) แลวใหอาสาสมัคร 2-3 คน อานใหเพื่อนๆ
ฟง
2. อุสตาษและนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของการ
ชวยเหลือพี่นองและสรุปผลการเรียนรูลงในสมุด
3. อุสตาษตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับการชวยเหลือพี่นองใหนักเรียนชวยกันตอบ (แนวคําถาม)
เชน
1) นักเรียนเคยเห็นการชวยเหลือพี่นองอะไรบาง
2) การชวยเหลือพี่นองมีความสําคัญอยางไร
3) การชวยเหลือพี่นองมีรูปแบบใดบาง
4) ถานักเรียนมีทรัพยสินมากๆ นักเรียนจะชวยเหลือผูอื่นหรือไมเพราะเหตุใด
5) นักเรียนคิดวาการชวยเหลือพี่นองเกิดผลเสียอยางไรบาง
4. อุสตาษใหนักเรียนสมมุติการลงคะแนนการชวยเหลือพี่นองยางใดอยางหนึ่ง แลวสรุป
ขั้นตอนการชวยเหลือพี่นองเปนขอๆ ลงในสมุด เพื่อสงอุสตาษตรวจ
5. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 2 และสรุปเพื่อสงอุสตาษตรวจ
ขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุป
1. อุสตาษและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความรูที่ไดจากการเรียนเรื่องการชวยเหลือพี่
นองจากนั้นอุสตาษเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเพิ่มเติมในสวนที่นักเรียนยังมีขอสงสัย โดยอุสตาษคอย
อธิบายใหนักเรียนเขาใจ
2. นักเรียนนําความรูไปใชในการทําใบงานที่ 2 เพื่อสงอุสตาษตรวจและเก็บเปนผลงาน
3. อุสตาษใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องการชวยเหลือพี่นองจากแหลงเรียนรู
อื่นๆ เชน หนังสือ อินเทอรเน็ตและหองสมุด
4. เมื่อเรียนจบ อุสตาษแจกแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อทําเสร็จ แลวสงอุสตาษ เพื่อใชเปน
คะแนนการประเมินผล
การวัดและการประเมินผล
ประเด็นทีประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครืองมือวัดและประเมินผล
- ความรู้ความเข้าใจเรือง
•••• การช่วยเหลือ ดังนี
นิยาม
หลักฐาน
หุกุม
ความสําคัญ
วิธีการ
- สังเกตจากการร่วมอภิปรายใน
ร ะ ห ว่ า ง
เรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- สังเกตการณ์บันทึกผลการเรียนรู้
- ตรวจแบบบันทึกชินงาน
- แบบประเมินการร่วมอภิปราย
- แบบทดสอบที 2
- แบบบันทึกผลการเรียนรู้
- แบบบันทึกชินงานนักเรียน
- ทักษะ / กระบวนการ - สังเกตทักษะ/กระบวนการใน
การทํางาน โดยดูในด้านต่อไปนี
• การสืบค้นข้อมูล
• การปฏิบัติกิจกรรม
• การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
• การนําความรู้ไปใช้
- กิจกรรมฝึกปฏิบัติ
- กิจกรรมประเมิน
- แบบประเมินด้านทักษะ/
กระบวนการ
- กิจกรรมเสนอแนะ
- ทักษะการทํางานกลุ่ม - สังเกตการทํางานกลุ่มในขณะร่วม
กิจกรรมในชันเรียน
- แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม
- ทักษะการคิดวิเคราะห์ - สังเกตการให้เหตุผลทีเหมาะสม
สนับสนุนความคิดในการตอบ
คําถาม
- สังเกตการให้เหตุผลของคําตอบ
ในกิจกรรมประเมิน
- การตังประเด็นคําถามของครู
ทีกระตุ้นความคิด
- กิจกรรมประเมิน
- แบบประเมินทักษะการคิด
วิเคราะห์
- คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม - สังเกตจากพฤติกรรมการเรียนและ
การร่วมกิจกรรมในชันเรียน
- แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน
2
อิสลามสนับสนุนการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างตัวเรากับเพือนมนุษย์ การติดต่อสัมพันธ์นันต้องเริมด้วย
ความบริสุทธิใจเพือให้อัลลอฮ์ ทรงตอบรับและให้ความจําเริญแก่งานนี ดังนันเราจึงสามารถคบหากับเพือน
มนุษย์ได้ด้วยความบริสุทธิใจและสนิทใจ ดังจากโองการจากอัลกุอานทีมีความว่า
“ในวันกิยามะฮ์นัน บรรดาผู้ทีเคยเป็นเพือนกัน ต่างก็จะกลายเป็นศัตรูกัน นอกจากบรรดาผู้ทีมีความยํา
เกรงต่ออัลลอฮ์เท่านัน”
ซูเราะฮ์ อัซ ซุครุฟ: 67
อิสลามสนับสนุนการอยู่อย่างสันโดษ เพือทีเราจะได้ใช้ความคิดตรึกตรองสิงต่างๆในโลกนีหรือเพือหาความ
สงบทางกายและจิตใจ แต่อิสลามก็ไม่ได้ห้ามการติดต่อหรือคบค้าสมาคมกับเพือนมนุษย์ แต่ในทางตรงกันข้าม
กลับได้ชือว่าเป็นมุสลิมทีมีความดี ดังฮะดีสทีมีความว่า
“มุอฺมินทีคบค้าสมาคมกับเพือนมนุษย์ และมีความอดทนต่อการทําร้ายของพวกเขานัน
ย่อมดีกว่ามุอฺมินทีมิได้คบค้าสมาคมกับเพือนมนุษย์ และไม่มีความอดทนต่อการทําร้ายของพวก
เขา”
บันทึกโดย อัตติรมีซีย์
อิสลามเน้นอยู่เสมอถึงการแสดงสัญลักษณ์แห่งความยิงใหญ่โดยสนับสนุนการรวมตัวของมุสลิม และอยู่
ร่วมกันอย่างมีความสุข ยิงจํานวนมุสลิมมีมากขึนเท่าใดก็ยิงเพิมความจําเริญจากอัลลอฮ์ มากเพียงนัน ดังฮะ
ดีสทีท่านเราะซูล กล่าวไว้มีความว่า
“การละหมาดของคนคนหนึงร่วมกับอีกคนหนึงนัน ดียิงกว่าการละหมาดของคนๆนันคนเดียว
และการทีเขาละหมาดร่วมกับคนสองคนนันย่อมดีกว่าการละหมาดกับคนคนเดียว
และถ้ายิงมีคนเพิมมากขึนเท่าใด นันก็คือความโปรดปรานของอัลลอฮ์ อัซซะวะญัลมากเท่านัน”
บันทึกโดย อัตติรมีซีย์
ถ้ามุสลิมอยู่อย่างโดดเดียว โดยตีตัวออกห่างจากผู้คนมากเท่าใดก็จะยิงพลาดโอกาสทีจะต่อสู้ในงานทีเป็น
ความดี หรือมีโอกาสน้อยทีจะยืนหยัดต่อสู้เพืออิสลาม และเขาก็จะกลายเป็นผู้ทีไม่ให้ความช่วยเหลือเพือนของเขา
ในยามคับขัน แต่โดยธรรมชาติของมนุษย์แล้วมักชอบสมาคม บางคนถึงกับวิงเข้าไปหา และสนทนากับผู้คนด้วย
ใบหน้าทียิมแย้มแจ่มใส
แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ทังสองลักษณะนีอิสลามได้ชีแนวทางไว้ให้โดยคํากล่าวทีว่า
“จงคบค้าสมาคมกับเพือน แต่อย่าให้กระทบกระเทือนกับศาสนา”
และคํากล่าวทีว่า “มุอฺมินคือผู้ทีอ่อนน้อม เป็นมิตรสนิทสนมกัน”
การอยู่อย่างสันโดษ และการอยู่โดยร่วมสังคมกับผู้อืน นับเป็นสองลักษณะทีมุสลิมควรรู้จักเลือกว่า เวลาใด
ควรจะอยู่ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เพือทีจะให้สองลักษณะนี มีประโยชน์แก่ตัวของเขาเอง และแก่สังคมรอบ
ข้างด้วย
ในการคบค้ากับเพือนฝูง ขอให้มีรากฐานสําคัญคือความบริสุทธิใจ และให้ทุกอย่างก้าวไปในหนทางของอี
มาน และนันคือความหมายทีว่า “รักกันเพืออัลลอฮ์ ไม่รักกันกันเพืออัลลอฮ์” และนีคือความรักในแบบอิสลามที
แท้จริง เมือความปราถนาของมุสลิมในการคบเพือนเพืออัลลอฮ์ นัน เขาก็จะได้รับผลตอบแทนอย่างมหาศาล
ดังฮะดีสกุดซีย์ ท่านเราะซูล กล่าวว่า อัลลอฮ์ ตรัสไว้มีความว่า
“บรรดาผู้ทีรักกันอันเนืองจากความยิงใหญ่และเดชานุภาพของข้านัน
เขาจะอยู่ภายใต้ร่มเงาแห่งอะรัชของข้า ในวันทีไม่มีร่มเงาใดๆนอกจากร่มเงาของข้าเท่านัน”
บันทึกโดย อะหฺมัด
มุสลิมนันจะต้องรักกันเพืออัลลอฮ์ และเช่นกันการไม่รักกันนันก็เพืออัลลอฮ์ เพือทีเขาจะได้ลิมรส
ความหวานชืนแห่งการศรัทธา ดังฮะดีสรายงานโดย ท่านอนัส อิบนิ มาลิก เราะฏิยัลลอฮุอันฮุ แจ้งว่า ท่าน
เราะซูล กล่าวว่า
“มีอยู่สามอย่าง ถ้าผู้ใดมีลักษณะทังสามอย่างดังต่อไปนีอยู่ในตัวของเขาแล้ว เขาก็จะต้องพบและลิมรส
กับความหวานชืนของการศรัทธา กล่าวคือ
1. ให้อัลลอฮ์และเราะซูลของพระองค์เป็นทีรักยิงแก่เขายิงกว่าสิงอืนใด
2. ให้รักเพือนมนุษย์เพราะอัลลอฮ์ และเกลียดกันเพืออัลลอฮ์
3. ให้เกลียดชังทีจะกลับไปสู่การกุฟรฺ ประดุจดังเกลียดชังทีจะถูกโยนเข้าสู่ไฟนรก”
บันทึกโดย มุสลิม อัตติรมีซีย์ และอันนะซาอีย์
เมือคนสองคนรักกันเพือทีจะเป็นเพือนกันในหนทางของอัลลอฮ์ ดังจะเห็นได้จากฮะดีสกุดซีย์ มีรายงาน
จากท่านเราะซูล แจ้งว่า อัลลอฮ์ ตรัสว่า
“ความรักของข้านันจะปรากฏแก่บรรดาผู้ทีรักกันเพือข้า และผู้ทีเยียมเยือนกันเพือข้า และผู้ทีให้กันเพือ
ข้า และผู้ทีเป็นมิตรกันเพือข้า”
บันทึกโดย อะหฺมัด และอัฏฏ็อบรอนีย์
เพือนทีดีนันย่อมจะนําพาเพือนของเขาสู่ชัยชนะทังในโลกนีและโลกหน้า ส่วนเพือนทีไม่ดีนัน กีมากน้อยแล้ว
ทีสร้างความเจ็บปวดให้แก่เพือนของเขา เพราะทังสองนันได้ตกอยู่ภายใต้การชักนําของชัยฏอน ดัง
ทีอัลลอฮ์ ได้ตรัสไว้มีความว่า
“ในวันทีผู้อธรรมต่อตนเองจะกัดมือของเขา (วันกิยามะฮ์) แล้วกล่าวว่า หวังว่าฉันจะได้อยู่ในหนทางของ
ท่านเราะซูลเหลือเกิน
โอ้ความวิบัติเอ๋ย หวังว่าฉันจะไม่เอาคนๆนันมาเป็นเพือนอีก เพราะเขาทําให้ฉันหันเหออกจากอัลกุ
รอาน ภายหลังจากทีอัลกุรอานได้มีมายังฉันแล้ว
และแท้จริงมันนันเป็นผู้หลอกลวง”
ซูเราะฮ์ อัลฟุรกอน: 27-29
ท่านเราะซูล ได้เตือนเกียวกับการเลือกคบเพือน โดยทีเราเลือกทีจะนําตัวเข้าไปอยู่ในกลุ่มบุคคลเหล่านัน
ดังทีท่านเราะซูล กล่าวว่า
“อุปมาเพือนทีดี อุปมัยดังคนทีมีของหอม(ชะมดเชียง) แม้ว่าจะไม่มีสิงใดจากของหอมนันมาถูกท่านเลย
แต่กลินของมันก็จะมาถูกท่านด้วย
และอุปมัยเพือนทีเลว อุปมัยดังช่างหลอมเหล็ก แม้ว่าสิงสกปรกจากเตาฟืนจะไม่ถูกท่าน แต่เถ้าถ่านของ
มันก็จะถูกท่าน”
รายงานโดย อบูดาวู๊ด
ในกลุ่มเพือนทีเราเข้าไปอยู่นัน ถ้าเป็นคนไม่ดีแล้วก็จะเป็นอันตรายแก่เรา ส่วนเพือนทีดีทีฉลาดปราดเปรือง
เขาก็จะยกฐานะของเพือนให้อยู่ในระดับสูงด้วยเช่นกันเพือนทีดีนันจะต้องตังมันอยู่บนหลักการศรัทธา และ
ปฏิบัติงานตามทีเขาศรัทธาคือเป็นมุสลิมทีดีทังดุนยาและอาคิเราะฮ์ เขามีความดีอยู่ในตัวทุกด้าน ไม่ว่าทางกาย
หรือวาจาทีเปล่งออกมา หรือความนึกคิดก็จะเต็มไปด้วยความยุติธรรม ดังคํากล่าวทีว่า
“ใครทีทําธุรกิจร่วมกับเพือนมนุษย์ โดยทีเขาไม่ขมเหง เมือพูดกับเขาก็ไม่โกหกเขา
เมือสัญญากับเขาก็ไม่ผิดสัญญา นับว่าเขาผู้นันเป็นผู้ทีมีเกียรติอย่างสมบูรณ์ มีความเป็นธรรมอย่างบริสุทธิ”
ท่านนบี ยังได้สอนแก่เราว่า ถ้ารักเพือนคนใดก็ให้บอกแก่เขาว่าเรารักเขา ทังนีเพือทีจะเป็นการเชือม
ความสัมพันธ์ให้กระชับยิงขึน ดังฮะดีสของท่านบี ซึงมีความว่า
“เมือคนหนึงคนใดในพวกเจ้ารักพีน้องของเขา ก็จงบอกให้เขารู้ว่ารักเขา”
บันทึกโดย อะหฺมัด
ท่านนบี ยังได้เสริมอีกว่า ถ้าเราจะคบเพือนคนใดก็ให้ถามชือ สกุล และควรจะรู้ว่าเขามาจากไหน เป็นใคร
กัน
“เมือคนหนึงคนใดเป็นมิตรกัน ก็จงถามถึงชือของเขา และชือบิดาของเขา ว่าเป็นใคร เพราะจะทําให้
กระชับความสัมพันธ์กันมากขึน”
บันทึกโดย อัตติรมีซีย์
ท่านนบี ได้ส่งเสริมให้เราผูกมัดจิตใจของเพือน เพือให้ความรักนันยาวนานโดยการให้ของขวัญ ซึง
ของขวัญนันไม่จําเป็นต้องมีค่าเป็นวัตถุ หรือใหญ่โต เพียงแต่ให้รู้ว่ามีค่าแห่งนําใจระหว่างเพือนก็เพียงพอแล้ว ดัง
ถ้อยคําของท่านเราะซูล ทีว่า
“จงให้ของขวัญกันเถิด เพราะการให้ของขวัญกันนัน จะเป็นการขจัดความขุ่นข้องหมองใจกัน”
บันทึกโดย อัตติรมีซีย์
อิสลามสนับสนุนการคบค้าสมาคมกัน ดังนัน คําว่า “เพือน” จึงมีความสําคัญต่อมนุษย์ แต่ก่อนทีเราจะคบ
เพือนคนใดก็ขอให้เราพิจารณา ตรึกตรองให้ดี แล้วเราก็จะมีความสุขอยู่ในหมู่เพือนฝูงเหล่านัน คือเขาและเราต่างก็
เป็นผู้ศรัทธาซึงกันและกัน เมือจะทําอะไรก็จะคิดอยู่เสมอว่าสิงนีอยู่ในหนทางของศาสนาหรือไม่ เมือบุคคลกลุ่มใด
มีความคิดเช่นนีแล้ว อินชาอัลลอฮ์ พระองค์อัลลอฮ์คงจะโปรดให้เขาปลอดภัยจากมารร้ายต่างๆ และให้เขาเป็นมุอฺ
มินทีศรัทธาอย่างแท้จริง
ใบงานที 2
หน่วยการเรียนรู้ที 6 เรือง การช่วยเหลือเพือนมนุษย์ ชัน( อป )
ปีที 4/2
การช่วยเหลือในอิสลาม
คําสังที : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนีให้ถูกต้อง
1.ให้นักเรียนสรุปการช่วยเหลือในอิสลาม?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
..............................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
..............................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
..............................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
..............................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555

More Related Content

What's hot

การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์kwanboonpaitoon
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊Pathitta Satethakit
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 

What's hot (20)

การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
เงื่อน
เงื่อนเงื่อน
เงื่อน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
หลักสูตรอิสลามศึกษา 2551
หลักสูตรอิสลามศึกษา 2551หลักสูตรอิสลามศึกษา 2551
หลักสูตรอิสลามศึกษา 2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Viewers also liked

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบKumobarick Achiroki
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
Pat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับ
Pat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับPat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับ
Pat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับTheyok Tanya
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4sompriaw aums
 
ข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทยข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทยSuwicha Tapiaseub
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยkrutitirut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

Viewers also liked (19)

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
Pat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับ
Pat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับPat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับ
Pat7.5 ความถนัดทางภาษาอาหรับ
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
 
ข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทยข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทย
ข้อสอบ O-net 50 วิชา ภาษาไทย
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555 (20)

7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
C
CC
C
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
Psychology
PsychologyPsychology
Psychology
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 

More from Muhammadrusdee Almaarify

ความร เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร  เก__ยวก_บรอมฎอนความร  เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร เก__ยวก_บรอมฎอนMuhammadrusdee Almaarify
 
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอนความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอนMuhammadrusdee Almaarify
 
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอดMuhammadrusdee Almaarify
 
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอนMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضانأخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضانMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساءأخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساءMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوتأخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوتMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة الأخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة الMuhammadrusdee Almaarify
 
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويحأخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويحMuhammadrusdee Almaarify
 

More from Muhammadrusdee Almaarify (20)

دعاء بدوح
دعاء بدوح دعاء بدوح
دعاء بدوح
 
ความร เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร  เก__ยวก_บรอมฎอนความร  เก__ยวก_บรอมฎอน
ความร เก__ยวก_บรอมฎอน
 
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอนความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
ความประเสริฐของ 10 คืนสุดท้ายเดือนเราะมะฎอน
 
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
30 หะดีษเฎาะอีฟและเมาฎุอฺเกี่ยวกับรอมดอนและการถือศีลอด
 
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
1 วันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน
 
รอมฎอน แผ่นพับ
รอมฎอน   แผ่นพับรอมฎอน   แผ่นพับ
รอมฎอน แผ่นพับ
 
تذكرة الصيام
تذكرة الصيامتذكرة الصيام
تذكرة الصيام
 
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضانأخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
أخطاؤنا في رمضان... 7ـ أخطاء عامة في شهر رمضان
 
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساءأخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
أخطاؤنا في رمضان... 5ـ الأخطاء الخاصة بالنساء
 
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوتأخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
أخطاؤنا في رمضان... 4ـ الأخطاء الخاصة بصلاة الوتر، ودعاء القنوت
 
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة الأخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
أخطاؤنا في رمضان... 3ـ الأخطاء التي يقع فيها الأئمة عند صلاة ال
 
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويحأخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
أخطاؤنا في رمضان... 2ـ الأخطاء الخاصة بصلاة التراويح
 
24 ساعة
24 ساعة24 ساعة
24 ساعة
 
في ظلال رمضان
في ظلال رمضانفي ظلال رمضان
في ظلال رمضان
 
في رمضان
في رمضانفي رمضان
في رمضان
 
فتح
فتحفتح
فتح
 
صفقات وفرص رمضانية
صفقات وفرص رمضانيةصفقات وفرص رمضانية
صفقات وفرص رمضانية
 
جدول الصيام
جدول الصيامجدول الصيام
جدول الصيام
 
هدية
هديةهدية
هدية
 
หนังสือตัจวีด 1
หนังสือตัจวีด 1หนังสือตัจวีด 1
หนังสือตัจวีด 1
 

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาอัลอัคลาก ปี 4 เทอม 2 ปีการศึกษา 2555

  • 1. วิชา : อัลอัคลาก ชั้น : ระดับอิสลามศึกษาตอนปลายชั้นปที่ 4 ภาคเรียน / ปการศึกษา : 2 / 2555 อาจารยผูสอน : ออ..มูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟยย โรงเรียนสามารถดีวิทยา อําเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
  • 2. บันทึกขอความ ที วสว. 017 / 2555 วันที พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 เรือง ขออนุมัติการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรียน ผู้อํานวยการโรงเรียนสามารถดีวิทยา ด้วยฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา ได้มีนโยบายเกียวกับการ จัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพจึงได้กําหนดให้ครูผู้สอนมีการจัดทําแผนการ จัดการเรียนรู้ทีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ บัดนี ข้าพเจ้าได้จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ประจํา ภาคเรียนที 2/2555 เรียบร้อย ดังรายละเอียดทีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู้ ในการนีจึงขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ลงชือ………………………………ผู้ขอใช้แผน (นายมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟีย์) ครูผู้สอน ลงชือ………………………………ผู้ตรวจสอบ (นายมาหะมะ บาราเตะ) รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา ลงชือ………………………………ผู้อนุมัติใช้แผน (นายอําพล พลาสิน) ผู้อํานวยการโรงเรียนสามารถดีวิทยา
  • 3. คําอธิบายรายวิชา รายวิชา อัลอัคลาก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมและจริยธรรม ชันอิสลามศึกษาปีที 4 ภาคเรียนที 2 รหัสวิชา สจ 41162 เวลา 20 ชัวโมง จํานวน 0.5 หน่วยกิต ศึกษา ค้นคว้า สังเกต รายงานและอภิปรายหลักฐานจากอัลกุรอานและอัลฮะดีษถึง ความสําคัญของจริยธรรมอิสลามในเรือง การมีมารยาทในการสามัคคีการห้ามคิดร้ายต่อผู้อืน การ ห้ามนินทา และห้ามแตกแยก เพือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความเชือมัน พึงพอใจ ชืนชมในการปฏิบัติตามมารยาท ต่างๆในการดําเนินชีวิตเพือการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
  • 4. โครงสร้างรายวิชา อัลอัคลาก (ภาคเรียนที 2) ชันอิสลามศึกษาปีที 4 ลําดับ ที ชือหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา (ชัวโมง) 5 การประชุมระบบชู รอในอิสลาม สจ 2.1 , 2.2 ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอ เรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบ ความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับ การนําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫ﻣﺟﻠس‬ ‫اﻟﺷورى‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ 6 6 การช่วยเหลือสิงที ดีและการตักวา สจ 2.1 , 2.2 การใหความชวยเหลือกันระหวางผูศรัทธานั้น จะตองดูใหครบทุกๆดาน ทุกๆเรื่อง ไมวาจะเปน เรื่องในทางโลกอาคิเราะห หรือการดําเนินชีวิตใน ดุนยา เปรียบไดกับอาคาร ทุกชิ้นสวนของมัน จะตองยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน จึงจะทําใหอาคาร นั้นแข็งแรงมั่นคง 4 7 คุณค่าของเวลา สจ 2.1 , 2.2 เวลาเปนสิ่งมีคา ชาวตะวันตกถือวาเวลา คือทองคํา แตอิสลามสอนวาเวลามีคายิ่งกวานั้น เพราะเวลาคือชวงชีวิตที่พระเจามอบใหมนุษยแต ละคนในโลกนี้เพื่อเตรียมตัวไวสําหรับอนาคตใน โลกหนา ในอดีต นักวิชาการมุสลิมเขาใจถึงคุณคา ของเวลาดีกวาชาวตะวันตกเสียอีกและการรูจัก คุณคาของเวลานี้เองคือเหตุผลที่ทําใหทําใหบรรพ ชนมุสลิมในอดีตประสบความสําเร็จในการฟนฟู ศาสนา 5 8 การนินทาผู้อืน สจ 2.1 , 2.2 การนินทาวาราย ถือวาเปนการกระทําที่ไมดีอยาง มาก และเปนการแสดงออกถึงความไรจรรยา มารยาท ผูที่มีจิตใจออนแอและมีจิตใจที่ไรอีหมาน จะไมสามารถหลีกเหลี่ยงจากการกระทําอันนี้ได และมันยังเปนบาปใหญที่มุสลิมจะตองละทิ้ง การ นินทาเปรียบเสมือนการคาที่ประสบกับการ ขาดทุน โดยที่ผลของการนินทาจะมากัดกรอน ความดีของเขาใหหมดไป ความผิดบาปจะเขามา แทนที่ความดี 5
  • 5. ตารางโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา อัลอัคลาก ชันอิสลามศึกษาปีที 4 ภาคเรียนที 2 เวลา 20 ชัวโมง หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด การเรียนรู้ วิธีสอน / กระบวนการจัด การเรียนรู้ ทักษะการคิด เวลา (ชัวโมง) หน่วยการเรียนรู้ที5 การประชุมระบบชูรอใน อิสลาม 1. ความหมายการชู รอ ความสําคัญ ประวัติความเป็นมา หุกุมและหลักฐาน 1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 2. วิธีสอนแบบกระบวนการ สร้างความตระหนัก 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4 2. คุณสมบัติที ปรึกษาและเป้ าหมาย - วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 2 หน่วยการเรียนรู้ที6 การช่วยเหลือสิงทีดีและ การตักวา 3. ความหมายและ ความสําคัญของการ ช่วยเหลือ 1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 2. วิธีสอนแบบกระบวนการ สร้างความตระหนัก 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิด สร้างสรรค์ 2 4. หลักฐานและ ปัจจัยเกือหนุน 1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 2. วิธีสอนแบบกระบวนการ สืบค้น - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2 หน่วยการเรียนรู้ที7 คุณค่าของเวลา 5. ความหมาย หลักฐานและ ประโยชน์ของเวลา - วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3 6. วิธีการบริหารเวลา - วิธีสอนแบบกระบวนการ สร้างความตระหนัก 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 2 หน่วยการเรียนรู้ที8 การนินทาผู้อืน 7. ความหมาย หุกุม หลักฐานและสาเหตุ ของการนิทา 1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 2. วิธีสอนแบบกระบวนการ สร้างความตระหนัก 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะการคิด สร้างสรรค์ 3 8. วิธีการป้ องกันและ รักษา 1. วิธีสอนแบบกระบวนการกลุ่ม 2. วิธีสอนแบบกระบวนการ สืบค้น - ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2
  • 6. 5 อัลอัคลาก กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมและจริยธรรม ชันอิสลามศึกษาปีที 4 เวลาเรียน 6 ชัวโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการพัฒนาดําเนินชีวิต สาระสําคัญ ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับการ นําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫اﻟﺷورى‬ ‫ﻣﺟﻠس‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง/ตัวชีวัด 3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการประชุม 3.2 เห็นความสําคัญของการประชุม 3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 บอกและอธิบายความหมายของการประชุมได 4.2 บอกและอธิบายความสําคัญของการประชุมได 4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวันได สาระการเรียนรู้ 5.1 การประชุม(ชูรอ) - ความหมายและความสําคัญของการประชุม
  • 7. - ประวัติความเปนมา - หุกุมและหลักฐาน - คุณสมบัติสมาชิกการประชุม - เปาหมายการประชุม กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู(การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลัก “CIPPA”) ดังนี้ ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 1111 การทบทวนความรูเดิมการทบทวนความรูเดิมการทบทวนความรูเดิมการทบทวนความรูเดิม อุสตาษฺทบทวนความรูเดิมโดยซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการชูรอ จากนั้นอุสตาษฺเขียนหัวขอบน กระดานดํา และใหนักเรียนถกเกี่ยวกับการชูรอ ดังกลาว ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 2222 การแสวงหาความรูใหมการแสวงหาความรูใหมการแสวงหาความรูใหมการแสวงหาความรูใหม อุสตาษฺอธิบายเกี่ยวกับความหมายการชูรอ โดยอุสตาษฺแจกใบความรูที่ 1 ใหนักเรียนศึกษา จากนั้นอุสตาษฺอธิบายเกี่ยวกับ 1. วิธีการชูรอ 2. ความสําคัญของการชูรอ ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 3333 การศึกษาทําความเขาใจขอมูลการศึกษาทําความเขาใจขอมูลการศึกษาทําความเขาใจขอมูลการศึกษาทําความเขาใจขอมูล////ความรูใหมความรูใหมความรูใหมความรูใหม อุสตาษฺใหนักเรียนแบงกลุม จากนั้นแจกใบงานที่ 1 ใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของการชู รอในอิสลาม ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 4444 การแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุมการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุมการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุมการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุม เมื่อนักเรียนทํางานเสร็จแลวใหนักเรียนทําความเขาใจ แลกเปลี่ยน หรือตรวจความถูกตอง ภายในกลุม ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 5555 การสรุปการสรุปการสรุปการสรุป อุสตาษฺใหนักเรียนชวยกันสรุปขอมูลที่ไดศึกษาการชูรอและรัฐศาสตรอิสลามในยุคปจจุบัน ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 6666 การแสดงผลงานการแสดงผลงานการแสดงผลงานการแสดงผลงาน อุสตาษฺใหนักเรียน 6 คน ออกมานําเสนอขอมูลโดยสรุปจากที่ไดศึกษาบนกระดาน จากนั้นให นักเรียนทุกคนชวยกันตรวจสอบ ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ขั้นที่ 7777 การประยุกตใชความรูการประยุกตใชความรูการประยุกตใชความรูการประยุกตใชความรู อุสตาษฺแจกแบบฝกหัดใหนักเรียนทําเปนการบานและทดสอบเก็บคะแนน การวัดและการประเมินผล วิธีกวิธีกวิธีกวิธีการประเมินารประเมินารประเมินารประเมิน 1. สังเกตจากการรวมกิจกรรม(การตอบคําถาม) 2. การอานและทองจํา 3. ตรวจใบงาน
  • 9. 1 ความหมายความหมายความหมายความหมายของคําวาชูรอ ทางหลักภาษาอาหรับ คือ ปรึกษาหารือ ขอคําเสนอแนะ ขอความ คิดเห็น ความหมายความหมายความหมายความหมายทางหลักนิติศาสตรอิสลาม อัชชูรอ คือ การประชุมในกิจการหนึ่งๆ เพื่อหารือกัน ระหวางผูเขารวมประชุม ประสงคที่จะบรรลุสูความเห็นที่ดีและเหมาะสมในกิจการนั้นๆ . มัจลิส อัชชู รอ คือ สภาที่ประชุม หลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลามหลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลามหลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลามหลักฐานบงชี้ถึงระบบอัชชูรอในอิสลาม หลักฐานจากอัลกุรอาน ْ‫م‬ُ‫ھ‬ْ‫ر‬ِ‫او‬َ‫ش‬َ‫و‬‫ي‬ِ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫م‬َ‫األ‬‫ا‬َ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ف‬َ‫ت‬ْ‫م‬َ‫ز‬َ‫ع‬ْ‫ل‬‫ﱠ‬‫ك‬َ‫و‬َ‫ت‬َ‫ف‬‫ى‬َ‫ل‬َ‫ع‬ِ ّ‫ﷲ‬‫ﱠ‬‫ن‬ِ‫إ‬َ ّ‫ﷲ‬‫بﱡ‬ِ‫ح‬ُ‫ي‬َ‫ين‬ِ‫ل‬‫ﱢ‬‫ك‬َ‫و‬َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ال‬{ และจงปรึกษาหารือกับพวกเขาในกิจการทั้งหลาย ครั้นเมื่อเจาไดตัดสินใจแลว ก็จงมอบหมาย แดอัลลอฮเถิดแทจริงอัลลอฮทรงรักใครผูมอบหมายทั้งหลาย (อาลิ อิมรอน 159) َ‫ين‬ِ‫ذ‬‫ﱠ‬‫ال‬َ‫و‬‫ُوا‬‫ب‬‫ا‬َ‫ج‬َ‫ت‬ْ‫س‬‫ا‬ْ‫م‬ِ‫ھ‬‫ﱢ‬‫ب‬َ‫ر‬ِ‫ل‬‫وا‬ُ‫م‬‫ا‬َ‫ق‬َ‫أ‬َ‫و‬َ‫ة‬ َ‫ﱠال‬‫ص‬‫ال‬ْ‫م‬ُ‫ھ‬ُ‫ر‬ْ‫م‬َ‫أ‬َ‫و‬‫ى‬َ‫ر‬‫و‬ُ‫ش‬ْ‫م‬ُ‫ھ‬َ‫ن‬ْ‫ي‬َ‫ب‬‫ا‬‫ﱠ‬‫م‬ِ‫م‬َ‫و‬ْ‫م‬ُ‫ھ‬‫ا‬َ‫ن‬ْ‫ق‬َ‫ز‬َ‫ر‬َ‫ون‬ُ‫ق‬ِ‫ف‬‫ُن‬‫ي‬ และบรรดาผูตอบรับตอพระเจาของพวกเขาและดํารงละหมาด และกิจการของพวกเขามีการ ปรึกษาหารือระหวางพวกเขาและเขาบริจาคสิ่งที่เราได ใหเครื่องปจจัยยังชีพแกพวกเขา (อัชชูรอ 38) หลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัดหลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัดหลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัดหลักฐานจากสุนนะฮนบีมุหัมมัด 1.รายงานโดยทานอบูฮุรอยเราะฮ (ร.ฮ.) กลาววา (ฉันไมเคยเห็นผูใดที่ปรึกษาหารือในกิจการ ตางๆกับสหายของเคามากกวาทาน รอซูล อีกแลว) บันทีกโดยอัตติรมิซี(4/213). 2.ทานรอซูล ไดปรีกษาหารือ(ชูรอ) กับบรรดาศอฮาบะฮในสงครามบะดัร เกี่ยวกับยุทธศาสตร การรบ. (ซีเราะฮอิบนุฮิชาม 2/272)
  • 10. 3.ทานรอซูล ไดปรีกษาบรรดาศอฮาบะฮในการออกสงครามอุฮุดวาสมควรออกไปหรือไม (ฟตฮุลบารีย 17/103-104) 4.ทานหะซัน อัลบัศรียกลาววา ทานรอซูล ไดปรีกษาหารือไมเวนแมกระทั่งสตรี และหลอนก็ไดให คําแนะนํา ทานรอซูลไดปฏิบัติตามคําแนะนําของหลอน (ศอเฮี้ยะ อัลบุคอรี เรื่องสงครามหุดัยบี ยะฮ) ระบบชูรอเปนระบบสําคัญและมีมาตั้งแตการกอตั้งรัฐอิสลามแหงแรกในมะดีนะฮ โดยทานน บีมุฮัมมัด นับแตทานไดฮิจเราะฮสูนครมะดีนะฮ นับแตนั้นไดถือกําเนิดระบบชูรอ และรัฐ อิสลาม. ทานรอซูล ในฐานะผูนําประเทศไดปฏิบัติเปนแบบอยางในเรื่องการบริหารโดยใชระบบชู รอ. ดังเชนทานมักจะปรีกษาทานอบูบักร และอุมัร(ร.ฮ.) และบรรดาศอฮาบะฮทานอื่นๆ แลวแต กรณี. ขอบเขตของการชูรอขอบเขตของการชูรอขอบเขตของการชูรอขอบเขตของการชูรอ การใชระบบชูรอ หรือการปรึกษาหารือนั้น นบีไดทําเปนแบบอยางหลายดาน กลาวไดวาระบบชู รอที่เปนรากฐานอันสําคัญของรัฐอิสลามคือ นับตั้งแตการเลือกตั้งผูนํา ผานสภาชูรอที่เลือกตั้ง โดยประชาชน ไปจนถึงการศึกสงคราม หรือการบริหารองคกรหนึ่งๆ หรือวินิจฉัยปญหาศาสนา หรือการศึกษา เศรษฐกิจ และอื่นๆ เปนตน กลาวไดวาระบบชูรอครอบคลุมชีวิตมุสลิมทุกๆดาน รูปแบบการชูรอ ชูรอไมไดมีรูปแบบตายตัว แตสามารถปรับใชในหลายๆกิจการแลวแตความเหมาะสม อาจ สรุปได หลักๆ ดังตอไปนี้ 1.การปรึกษา โดยอาศัยที่ปรึกษา หนี่งหรือสองคน ดังเชนการปรึกษาของทานนบีกับทานอบูบักร และอุมัร(ร.ฮ.). 2.การตั้งสภาที่ปรีกษา(มัจลิสชูรอ) ดังเชนนบีไดเลือกผูนําจากเผาตางๆเปนสมาชิกสภาชูรอของ รัฐ เพื่อลงมติและเสนอความคิดเห็นในกิจการตางๆของรัฐ. ระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกรระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกรระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกรระบบชูรอในการเลือกผูนํารัฐหรือองคกร การเลือกตั้งผูนํารัฐในอิสลามมีสองรูปแบบหลักๆ คือ 1.การเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน 2.การเลือกตั้งโดยระบบชูรอ คือ ประชาชนเลือกตัวแทนเพื่อประกอบเปนสภาชูรอ และสมาชิก เหลานั้นเปนผูลงมติออกเสียงในการเลือกผูนํา การตั้งสภาชูรอ 1.สมาชิกสภาชูรอนั้นตองเปนผูที่ยึดมั่นในหลักศาสนา อีกทั้งเปนผูรูในเรื่องศาสนา นี่คือบุคคล ประเภทแรกที่ตองมีในสภาชูรอ 2.ไมจํากัดเพศ เพราะการออกความคิดเห็นนั้นคํานึงถึงหลักการและความถูกตอง 3.คํานึงถึงประเภทขององคกร เชน สหกรณ ตองมีผูรูดานเศรฐกิจการเงิน หรือชมรม ตองมีผูรู ดานบริหาร การจัดการ การบริการ เปนตน
  • 11. เพราะเหตุใดตองมีบุคคลสองประเภทขางตน ? 1.เพราะผูรูทางศาสนานั้นคอยใหคําชี้แนะ ไมใหการลงมติขัดแยงกับหลักการศาสนา 2.ผูรูทางศาสนาคอยตรวจสอบมติ และตักเตือนสมาชิกสภาชูรอ 3.สวนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เพื่อการบริหารองคกรที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดตอ สมาชิกองคกร หลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอหลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอหลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอหลักเกณฑการตัดสินในการลงมติชูรอ การลงมติชูรอในสภาชูรอนั้น ควรคํานึงถึงเรื่องที่ถูกนํามาเขาสภาชูรอ เพื่อวินิจฉัยลงมติเปน หลัก 1.ในกรณีเปนการวินิจฉัยขอขัดแยงในทางศาสนา ตองอาศัยผูรู(อุลามา)ในการตัดสินและเปน แหลงอางอิง และผูรูนั้นเปนผูที่ยึดมั่นในอัลกุรอานและอัซซุนนะฮ 2.ถาเปนการลงมติในเรื่องศาสตร ความรูเฉพาะดาน หรือเทคนิคการบริหาร อาทิเชน การลงมติ ในเรื่องทิศทางการเงินขององคกร ตองอาศัยขอมูลและขอเท็จจริง และตองลงมติหลังจากไดผาน การชูรออันประกอบดวยผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน 3.ถาเปนการบริหารงานทั่วไป หรือการเลือกผูนํานั้นตองคํานึงถึงความเห็นชอบของสมาชิกสภา ทั้งหมด หรือเสียงขางมาก เพราะทานนบีไดถือเอามติขางมากของบรรดาศอฮาบะฮในหลายๆ กรณีดวยกัน ผูนํา(อามีรหรืออามีเราะฮ)สามารถขัดมติของสภาชูรอไดหรือไม? อุลามาในประเด็นนี้มีความเห็นขัดแยงกัน เปนสองทรรศนะ 1.ทรรศนะแรกคือ ผูนําไมควรขัดมติสภาชูรอ แตไมถือวามตินั้นวาญิบตองปฏิบัติ 2.ทรรศนะที่สองคือ มติที่วาเด็ดขาด(วาญิบ) ผูนําตองปฏิบัติตาม ที่ถูกตองคือ ทรรศนะที่สอง เพราะอิสลามสนับสนุนใหมีการชูรอเพื่อใหมติหางไกลจากการใช อารมณ และมติเสียงขางมากจากสมาชิกสภาชูรอที่คัดเลือกอยางเหมาะสมนั้นจะหางไกล จาก การหลองลวงของชัยฏอน และเพื่อปองกันการใชอํานาจเผด็จการของผูนํา และมุสลิมควรยึดถือ แบบอยางของทานนบีมุฮัมมัด(ซ.ล.) .... ใบงานที 1
  • 12. หน่วยการเรียนรู้ที 1 เรือง การชูรอ ชัน( อป )ปีที 4/2 การชูรอในอิสลาม คําสังที 1 : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนีให้ถูกต้อง 1. การชูรอในอิสลาม คืออะไร ? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ............................................................................. คําสังที 2 : ให้นักเรียนบอกและอธิบายหลักฐานของการชูรอ จากอัลกุรอาน ________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ ____________________. จากอัลฮะดีษ ________________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ ____________________. แบบสังเกตพฤติกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมแบบสังเกตพฤติกรรม ((((ครั้งที่ครั้งที่ครั้งที่ครั้งที่........................)))) ชั้นชั้นชั้นชั้น((((อปอปอปอป)))) ปที่ปที่ปที่ปที่ 4444////2222 วันที่วันที่วันที่วันที่ ...../.........../...................../.........../...................../.........../...................../.........../................
  • 13. เกณฑ์การประเมินของพฤติกรรม 1 = ปรับปรุง 2 = พอใช้ 3 = ดี แบบประเมินชิ้นงานที่แบบประเมินชิ้นงานที่แบบประเมินชิ้นงานที่แบบประเมินชิ้นงานที่........................................................ ชั้นชั้นชั้นชั้น((((อปอปอปอป))))ปที่ปที่ปที่ปที่ 4/24/24/24/2 เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง............................................................................................................................................................................................................................ วันที่วันที่วันที่วันที่ ...../....../.........../....../.........../....../.........../....../.................. ที ชือ - สกุล พฤติกรรมทีจะประเมิน รวม คะแนน สรุป ความ สนใจ ความ ร่วมมือ การ แสดงออก การ รับผิดชอบ ผ่าน ไม่ ผ่าน1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35
  • 14. ที ชือ – สกุล เกณฑ์การประเมิน รวม 10 คะแนน สรุป ความ สมบูรณ์ ชัดเจน 2 ความ ถูกต้อง 2 สะอาด เรียบร้อย สวยงาม 2 สาระ ตรง ประเด็น 2 ความคิด สร้างสรรค์ 2 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 เกณฑ์การประเมิน ได้ 7 คะแนนขึนไปถือว่าผ่าน แบบประเมินการอ่านและท่องจําที.............. ชัน(อป)ปีที 4/2 เรือง............................................................................. วันที.........................................
  • 15. ที ชือ - สกุล เกณฑ์การประเมิน รวม 10 คะแนน สรุป การอ่าน การท่องจํา ผ่าน ไม่ ผ่าน ครังที ครังที 1 2 1 2 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 เกณฑ์การประเมิน ได้ 7 คะแนนขึนไปถือว่าผ่าน สือ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สือการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน อัลอัคลาก อป.1 2. บัตรภาพ 3. ใบความรู้ 4. ใบงาน 8.2 แหล่งการเรียนรู้
  • 16. แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที 5 1. ห้องสมุด 2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่ 1111 สาระที่สาระที่สาระที่สาระที่ 2222 (((( อัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลาก )))) ชชชชวงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่ 4444 ปที่ปที่ปที่ปที่ 1 เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง ความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐานความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐานความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐานความหมายของการชูรอ ความสําคัญ ความเปนมา หุกุมและหลักฐาน เวลาเวลาเวลาเวลา 4444 คาบคาบคาบคาบ ⁄ ชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมง ....................................................................................................... 1.1.1.1.มาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรู สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการดําเนินชีวิต 2.2.2.2. สาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญ
  • 18. ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับการ นําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫اﻟﺷورى‬ ‫ﻣﺟﻠس‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ 3.... ผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวัง 3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการประชุม 3.2 เห็นความสําคัญของการประชุม 3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวัน 4.4.4.4. จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู 4.1 บอกและอธิบายความหมายของการประชุมได 4.2 บอกและอธิบายความสําคัญของการประชุมได 4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวันได 5.5.5.5. สาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรู 5.1 การประชุม(ชูรอ) - ความหมายและความสําคัญของการประชุม - ความเปนมา หุกุมและหลักฐาน 6.6.6.6.กิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรู ขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียน 6.1 ครูกลาวสะลาม 6.2 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล- ฟาตีฮะห และอานดุอาอฺ พรอมกัน ขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียน 6.3 ครูเลาประวัติศาสตรอิสลามเกี่ยวกับการประชุมใหนักเรียนฟง 6.4 ทดสอบความรูของนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม 6.5 ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม ขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอน 6.6 ครูแจกใบความรูใหนักเรียนทุกคนอาน 6.7 สุมนักเรียน2-3คนเพื่ออานใบความรูใหเพื่อนๆรวมหองฟง 6.8 อธิบายความหมายของการประชุมในอิสลามใหนักเรียนเขาใจ 6.9 สุมนักเรียน2-3คนเพื่อบอกความหมายของประชุมใหเพื่อนๆรวมหองฟง 6.10 แจกใบงานใหนักเรียนทุกคนตอบคําถามเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม ขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุป 6.11 รวมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม 6.12 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล-อัศรฺ และดุอาอฺกีฟารัต 7.7.7.7. สื่อการเรียนรูสื่อการเรียนรูสื่อการเรียนรูสื่อการเรียนรู 7.1 ใบความรู เรืองการประชุมในอิสลาม 7.2 ใบงาน 8.8.8.8. การวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรู
  • 19. วิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมิน 8.1 สังเกตจากการรวมกิจกรรม(การตอบคําถาม) 8.2 การอานและทองจํา 8.3 ตรวจใบงาน เครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผล 8.4 แบบสังเกตพฤติกรรม 8.5 แบบประเมินการอานและทองจํา 8.6 แบบประเมินชิ้นงาน 9.9.9.9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรู คาบที วัน/เดือน/ปี ผลการจัดกิจกรรมการจัดการ เรียนรู้ ปัญหาทีประสบใน การจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข 10.10.10.10.ขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนะะะะ ลงชือ ...........................................................ผู้สอน ( นายมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟีย์)
  • 20. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... . แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่แผนการจัดการเรียนรูที่ 2222 สาระที่สาระที่สาระที่สาระที่ 2222 (((( อัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลากอัลอัคลาก )))) ชชชชวงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่วงชั้นที่ 4444 ปที่ปที่ปที่ปที่ 1 เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง คุณสมบัติสมาชิกและเปาหมคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมายของการประชุมายของการประชุมายของการประชุมายของการประชุม เวลาเวลาเวลาเวลา 2222 คาบคาบคาบคาบ ⁄ ชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมงชั่วโมง ....................................................................................................... ลงชือ ...........................................................ผู้ตรวจ ( นายมาฮามะ บาราเต๊ะ ) ตําแหน่ง รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา
  • 21. 1.1.1.1.มาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรูมาตรฐานการเรียนรู สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการดําเนินชีวิต 2.2.2.2. สาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญสาระสําคัญ ชูรอ คือ การเสนอความคิดเห็นที่แตกตางกันตอเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยที่มีการตรวจสอบ พิจารณาโดยนักคิด ผูเชี่ยวชาญ จนกระทั่งคนพบความจริง หรือทัศนะที่สูงสุดและถูกตองสําหรับการ นําไปประยุกตใชในกิจการนั้น ‫اﻟﺷورى‬ ‫ﻣﺟﻠس‬ คือ สภาชูรอ /สํานักชูรอ 3.... ผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวังผลการเรียนรูที่คาดหวัง 3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการประชุม 3.2 เห็นความสําคัญของการประชุม 3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวัน 4.4.4.4. จุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรูจุดประสงคการเรียนรู 4.1 บอกและอธิบายความหมายของการประชุมได 4.2 บอกและอธิบายความสําคัญของการประชุมได 4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการประชุมในชีวิตประจําวันได 5.5.5.5. สาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรูสาระการเรียนรู 5.1 การประชุม(ชูรอ) - คุณสมบัติสมาชิกการประชุม - เปาหมายของการประชุม 6.6.6.6.กิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมการเรียนรู ขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียนขั้นเริ่มเรียน 6.1 ครูกลาวสะลาม 6.2 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล- ฟาตีฮะห และอานดุอาอฺ พรอมกัน ขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียนขั้นนําเขาสูบทเรียน 6.3 ครูเลาประวัติศาสตรอิสลามเกี่ยวกับคุณสมบัติสมาชิกการประชุมใหนักเรียนฟง 6.4 ทดสอบความรูของนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม 6.5 ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการประชุมในอิสลาม ขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอน 6.6 ครูแจกใบความรูใหนักเรียนทุกคนอาน 6.7 สุมนักเรียน2-3คนเพื่ออานใบความรูใหเพื่อนๆรวมหองฟง 6.8 อธิบายคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมายการประชุมในอิสลามใหนักเรียนเขาใจ 6.9 สุมนักเรียน2-3คนเพื่อบอกคุณสมบัติสมาชิกและเปาหมายของประชุมใหเพื่อนๆรวม หองฟง 6.10 แจกใบงานใหนักเรียนทุกคนตอบคําถามเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม ขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุป 6.11 รวมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับมารยาทในการประชุม
  • 22. 6.12 รวมกันอานซูเราะฮฺ อัล-อัศรฺ และดุอาอฺกีฟารัต 7.7.7.7. สื่อกาสื่อกาสื่อกาสื่อการเรียนรูรเรียนรูรเรียนรูรเรียนรู 7.1 ใบความรู เรืองการประชุมในอิสลาม 7.2 ใบงาน 8.8.8.8. การวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรูการวัดและประเมินผลการเรียนรู วิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมินวิธีการประเมิน 8.1 สังเกตจากการรวมกิจกรรม(การตอบคําถาม) 8.2 การอานและทองจํา 8.3 ตรวจใบงาน เครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผลเครื่องมือประเมินผล 8.4 แบบสังเกตพฤติกรรม 8.5 แบบประเมินการอานและทองจํา 8.6 แบบประเมินชิ้นงาน 9.9.9.9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรูบันทึกหลังการจัดการเรียนรู คาบที วัน/เดือน/ปี ผลการจัดกิจกรรมการจัดการ เรียนรู้ ปัญหาทีประสบใน การจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข
  • 23. 10.10.10.10.ขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนขอเสนอแนะะะะ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ........................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... . ลงชือ ...........................................................ผู้ตรวจ ( นายมาฮามะ บาราเต๊ะ ) ตําแหน่ง รองหัวหน้าฝ่ายวิชาการอิสลามศึกษา ลงชือ ...........................................................ผู้สอน ( นายมูหัมหมัดรุสดี อัลมะอาริฟีย์)
  • 24. 6 อัลอัคลาก กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมและจริยธรรม ชันอิสลามศึกษาปีที 4 เวลาเรียน 4 ชัวโมง มาตรฐานการเรียนรู้ สจ 2.1 เขาใจ จริยธรรมอิสลามและนําไปใชในการพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชนตอครอบครัว สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันไดอยางสันติสุข สจ 2.2 ยึดมั่นและปฏิบัติตามจริยธรรมในการพัฒนาดําเนินชีวิต สาระสําคัญ การใหความชวยเหลือกันระหวางผูศรัทธานั้น จะตองดูใหครบทุกๆดาน ทุกๆเรื่อง ไมวาจะ เปนเรื่องในทางโลกอาคิเราะห หรือการดําเนินชีวิตในดุนยา เปรียบไดกับอาคาร ทุกชิ้นสวนของมัน จะตองยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน จึงจะทําใหอาคารนั้นแข็งแรงมั่นคง ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง/ตัวชีวัด 3.1 รูและเขาใจเกี่ยวกับความสําคัญของการชวยเหลือ 3.2 เห็นความสําคัญ หลักฐานและปจจัยเกื้อหนุนของการชวยเหลือ 3.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการชวยเหลือในชีวิตประจําวัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 บอกและอธิบายความหมายของการชวยเหลือได 4.2 บอกและอธิบายความสําคัญ หลักฐานและปจจัยเกื้อหนุนของการชวยเหลือได 4.3 บอกและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการชวยเหลือในชีวิตประจําวันได สาระการเรียนรู้ 5.1 การชวยเหลือ - ความหมายและความสําคัญของการชวยเหลือ - หลักฐาน
  • 25. - ปจจัยเกื้อหนุน กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู ดังนี้ ขั้นนําขั้นนําขั้นนําขั้นนํา 1. อุสตาษสนทนาซักถามนักเรียนวา การชวยเหลือพี่นองมนุษยชาติมีอะไรบาง และเพราะเหตุ ใดจําเปนตองมีการชวยเหลือ ใหนักเรียนผลัดกันตอบตามความคิดเห็นของตน 2. อุสตาษเฉลยกลไกสําคัญในการชวยเหลือพี่นองในอิสลามใหนักเรียนฟง แลวอธิบายวา การ ชวยเหลือมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของมนุษยเพราะเปนการเสียสละและแสดงความรักภายใต หลักอิสลาม 3. อุสตาษสุมถามนักเรียน 4-5 คนวา ชุมชนใครบางที่เคยชวยเหลือพี่นองบาง ใหนักเรียน ผลัดกันเลาใหเพื่อนๆ ฟง ขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอนขั้นสอน 1. อุสตาษใหนักเรียนเปดหนังสือ (หนา 37-39) แลวใหอาสาสมัคร 2-3 คน อานใหเพื่อนๆ ฟง 2. อุสตาษและนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญของการ ชวยเหลือพี่นองและสรุปผลการเรียนรูลงในสมุด 3. อุสตาษตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับการชวยเหลือพี่นองใหนักเรียนชวยกันตอบ (แนวคําถาม) เชน 1) นักเรียนเคยเห็นการชวยเหลือพี่นองอะไรบาง 2) การชวยเหลือพี่นองมีความสําคัญอยางไร 3) การชวยเหลือพี่นองมีรูปแบบใดบาง 4) ถานักเรียนมีทรัพยสินมากๆ นักเรียนจะชวยเหลือผูอื่นหรือไมเพราะเหตุใด 5) นักเรียนคิดวาการชวยเหลือพี่นองเกิดผลเสียอยางไรบาง 4. อุสตาษใหนักเรียนสมมุติการลงคะแนนการชวยเหลือพี่นองยางใดอยางหนึ่ง แลวสรุป ขั้นตอนการชวยเหลือพี่นองเปนขอๆ ลงในสมุด เพื่อสงอุสตาษตรวจ 5. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 2 และสรุปเพื่อสงอุสตาษตรวจ ขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุปขั้นสรุป 1. อุสตาษและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความรูที่ไดจากการเรียนเรื่องการชวยเหลือพี่ นองจากนั้นอุสตาษเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเพิ่มเติมในสวนที่นักเรียนยังมีขอสงสัย โดยอุสตาษคอย อธิบายใหนักเรียนเขาใจ 2. นักเรียนนําความรูไปใชในการทําใบงานที่ 2 เพื่อสงอุสตาษตรวจและเก็บเปนผลงาน 3. อุสตาษใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องการชวยเหลือพี่นองจากแหลงเรียนรู อื่นๆ เชน หนังสือ อินเทอรเน็ตและหองสมุด
  • 26. 4. เมื่อเรียนจบ อุสตาษแจกแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อทําเสร็จ แลวสงอุสตาษ เพื่อใชเปน คะแนนการประเมินผล การวัดและการประเมินผล ประเด็นทีประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครืองมือวัดและประเมินผล - ความรู้ความเข้าใจเรือง •••• การช่วยเหลือ ดังนี นิยาม หลักฐาน หุกุม ความสําคัญ วิธีการ - สังเกตจากการร่วมอภิปรายใน ร ะ ห ว่ า ง เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - สังเกตการณ์บันทึกผลการเรียนรู้ - ตรวจแบบบันทึกชินงาน - แบบประเมินการร่วมอภิปราย - แบบทดสอบที 2 - แบบบันทึกผลการเรียนรู้ - แบบบันทึกชินงานนักเรียน - ทักษะ / กระบวนการ - สังเกตทักษะ/กระบวนการใน การทํางาน โดยดูในด้านต่อไปนี • การสืบค้นข้อมูล • การปฏิบัติกิจกรรม • การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง • การนําความรู้ไปใช้ - กิจกรรมฝึกปฏิบัติ - กิจกรรมประเมิน - แบบประเมินด้านทักษะ/ กระบวนการ - กิจกรรมเสนอแนะ - ทักษะการทํางานกลุ่ม - สังเกตการทํางานกลุ่มในขณะร่วม กิจกรรมในชันเรียน - แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - สังเกตการให้เหตุผลทีเหมาะสม สนับสนุนความคิดในการตอบ คําถาม - สังเกตการให้เหตุผลของคําตอบ ในกิจกรรมประเมิน - การตังประเด็นคําถามของครู ทีกระตุ้นความคิด - กิจกรรมประเมิน - แบบประเมินทักษะการคิด วิเคราะห์ - คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม - สังเกตจากพฤติกรรมการเรียนและ การร่วมกิจกรรมในชันเรียน - แบบประเมินพฤติกรรมการเรียน 2
  • 27. อิสลามสนับสนุนการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างตัวเรากับเพือนมนุษย์ การติดต่อสัมพันธ์นันต้องเริมด้วย ความบริสุทธิใจเพือให้อัลลอฮ์ ทรงตอบรับและให้ความจําเริญแก่งานนี ดังนันเราจึงสามารถคบหากับเพือน มนุษย์ได้ด้วยความบริสุทธิใจและสนิทใจ ดังจากโองการจากอัลกุอานทีมีความว่า “ในวันกิยามะฮ์นัน บรรดาผู้ทีเคยเป็นเพือนกัน ต่างก็จะกลายเป็นศัตรูกัน นอกจากบรรดาผู้ทีมีความยํา เกรงต่ออัลลอฮ์เท่านัน” ซูเราะฮ์ อัซ ซุครุฟ: 67 อิสลามสนับสนุนการอยู่อย่างสันโดษ เพือทีเราจะได้ใช้ความคิดตรึกตรองสิงต่างๆในโลกนีหรือเพือหาความ สงบทางกายและจิตใจ แต่อิสลามก็ไม่ได้ห้ามการติดต่อหรือคบค้าสมาคมกับเพือนมนุษย์ แต่ในทางตรงกันข้าม กลับได้ชือว่าเป็นมุสลิมทีมีความดี ดังฮะดีสทีมีความว่า “มุอฺมินทีคบค้าสมาคมกับเพือนมนุษย์ และมีความอดทนต่อการทําร้ายของพวกเขานัน ย่อมดีกว่ามุอฺมินทีมิได้คบค้าสมาคมกับเพือนมนุษย์ และไม่มีความอดทนต่อการทําร้ายของพวก เขา” บันทึกโดย อัตติรมีซีย์ อิสลามเน้นอยู่เสมอถึงการแสดงสัญลักษณ์แห่งความยิงใหญ่โดยสนับสนุนการรวมตัวของมุสลิม และอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข ยิงจํานวนมุสลิมมีมากขึนเท่าใดก็ยิงเพิมความจําเริญจากอัลลอฮ์ มากเพียงนัน ดังฮะ ดีสทีท่านเราะซูล กล่าวไว้มีความว่า “การละหมาดของคนคนหนึงร่วมกับอีกคนหนึงนัน ดียิงกว่าการละหมาดของคนๆนันคนเดียว
  • 28. และการทีเขาละหมาดร่วมกับคนสองคนนันย่อมดีกว่าการละหมาดกับคนคนเดียว และถ้ายิงมีคนเพิมมากขึนเท่าใด นันก็คือความโปรดปรานของอัลลอฮ์ อัซซะวะญัลมากเท่านัน” บันทึกโดย อัตติรมีซีย์ ถ้ามุสลิมอยู่อย่างโดดเดียว โดยตีตัวออกห่างจากผู้คนมากเท่าใดก็จะยิงพลาดโอกาสทีจะต่อสู้ในงานทีเป็น ความดี หรือมีโอกาสน้อยทีจะยืนหยัดต่อสู้เพืออิสลาม และเขาก็จะกลายเป็นผู้ทีไม่ให้ความช่วยเหลือเพือนของเขา ในยามคับขัน แต่โดยธรรมชาติของมนุษย์แล้วมักชอบสมาคม บางคนถึงกับวิงเข้าไปหา และสนทนากับผู้คนด้วย ใบหน้าทียิมแย้มแจ่มใส แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ทังสองลักษณะนีอิสลามได้ชีแนวทางไว้ให้โดยคํากล่าวทีว่า “จงคบค้าสมาคมกับเพือน แต่อย่าให้กระทบกระเทือนกับศาสนา” และคํากล่าวทีว่า “มุอฺมินคือผู้ทีอ่อนน้อม เป็นมิตรสนิทสนมกัน” การอยู่อย่างสันโดษ และการอยู่โดยร่วมสังคมกับผู้อืน นับเป็นสองลักษณะทีมุสลิมควรรู้จักเลือกว่า เวลาใด ควรจะอยู่ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เพือทีจะให้สองลักษณะนี มีประโยชน์แก่ตัวของเขาเอง และแก่สังคมรอบ ข้างด้วย ในการคบค้ากับเพือนฝูง ขอให้มีรากฐานสําคัญคือความบริสุทธิใจ และให้ทุกอย่างก้าวไปในหนทางของอี มาน และนันคือความหมายทีว่า “รักกันเพืออัลลอฮ์ ไม่รักกันกันเพืออัลลอฮ์” และนีคือความรักในแบบอิสลามที แท้จริง เมือความปราถนาของมุสลิมในการคบเพือนเพืออัลลอฮ์ นัน เขาก็จะได้รับผลตอบแทนอย่างมหาศาล ดังฮะดีสกุดซีย์ ท่านเราะซูล กล่าวว่า อัลลอฮ์ ตรัสไว้มีความว่า “บรรดาผู้ทีรักกันอันเนืองจากความยิงใหญ่และเดชานุภาพของข้านัน เขาจะอยู่ภายใต้ร่มเงาแห่งอะรัชของข้า ในวันทีไม่มีร่มเงาใดๆนอกจากร่มเงาของข้าเท่านัน” บันทึกโดย อะหฺมัด มุสลิมนันจะต้องรักกันเพืออัลลอฮ์ และเช่นกันการไม่รักกันนันก็เพืออัลลอฮ์ เพือทีเขาจะได้ลิมรส ความหวานชืนแห่งการศรัทธา ดังฮะดีสรายงานโดย ท่านอนัส อิบนิ มาลิก เราะฏิยัลลอฮุอันฮุ แจ้งว่า ท่าน เราะซูล กล่าวว่า “มีอยู่สามอย่าง ถ้าผู้ใดมีลักษณะทังสามอย่างดังต่อไปนีอยู่ในตัวของเขาแล้ว เขาก็จะต้องพบและลิมรส กับความหวานชืนของการศรัทธา กล่าวคือ 1. ให้อัลลอฮ์และเราะซูลของพระองค์เป็นทีรักยิงแก่เขายิงกว่าสิงอืนใด
  • 29. 2. ให้รักเพือนมนุษย์เพราะอัลลอฮ์ และเกลียดกันเพืออัลลอฮ์ 3. ให้เกลียดชังทีจะกลับไปสู่การกุฟรฺ ประดุจดังเกลียดชังทีจะถูกโยนเข้าสู่ไฟนรก” บันทึกโดย มุสลิม อัตติรมีซีย์ และอันนะซาอีย์ เมือคนสองคนรักกันเพือทีจะเป็นเพือนกันในหนทางของอัลลอฮ์ ดังจะเห็นได้จากฮะดีสกุดซีย์ มีรายงาน จากท่านเราะซูล แจ้งว่า อัลลอฮ์ ตรัสว่า “ความรักของข้านันจะปรากฏแก่บรรดาผู้ทีรักกันเพือข้า และผู้ทีเยียมเยือนกันเพือข้า และผู้ทีให้กันเพือ ข้า และผู้ทีเป็นมิตรกันเพือข้า” บันทึกโดย อะหฺมัด และอัฏฏ็อบรอนีย์ เพือนทีดีนันย่อมจะนําพาเพือนของเขาสู่ชัยชนะทังในโลกนีและโลกหน้า ส่วนเพือนทีไม่ดีนัน กีมากน้อยแล้ว ทีสร้างความเจ็บปวดให้แก่เพือนของเขา เพราะทังสองนันได้ตกอยู่ภายใต้การชักนําของชัยฏอน ดัง ทีอัลลอฮ์ ได้ตรัสไว้มีความว่า “ในวันทีผู้อธรรมต่อตนเองจะกัดมือของเขา (วันกิยามะฮ์) แล้วกล่าวว่า หวังว่าฉันจะได้อยู่ในหนทางของ ท่านเราะซูลเหลือเกิน โอ้ความวิบัติเอ๋ย หวังว่าฉันจะไม่เอาคนๆนันมาเป็นเพือนอีก เพราะเขาทําให้ฉันหันเหออกจากอัลกุ รอาน ภายหลังจากทีอัลกุรอานได้มีมายังฉันแล้ว และแท้จริงมันนันเป็นผู้หลอกลวง” ซูเราะฮ์ อัลฟุรกอน: 27-29 ท่านเราะซูล ได้เตือนเกียวกับการเลือกคบเพือน โดยทีเราเลือกทีจะนําตัวเข้าไปอยู่ในกลุ่มบุคคลเหล่านัน ดังทีท่านเราะซูล กล่าวว่า “อุปมาเพือนทีดี อุปมัยดังคนทีมีของหอม(ชะมดเชียง) แม้ว่าจะไม่มีสิงใดจากของหอมนันมาถูกท่านเลย แต่กลินของมันก็จะมาถูกท่านด้วย และอุปมัยเพือนทีเลว อุปมัยดังช่างหลอมเหล็ก แม้ว่าสิงสกปรกจากเตาฟืนจะไม่ถูกท่าน แต่เถ้าถ่านของ มันก็จะถูกท่าน” รายงานโดย อบูดาวู๊ด
  • 30. ในกลุ่มเพือนทีเราเข้าไปอยู่นัน ถ้าเป็นคนไม่ดีแล้วก็จะเป็นอันตรายแก่เรา ส่วนเพือนทีดีทีฉลาดปราดเปรือง เขาก็จะยกฐานะของเพือนให้อยู่ในระดับสูงด้วยเช่นกันเพือนทีดีนันจะต้องตังมันอยู่บนหลักการศรัทธา และ ปฏิบัติงานตามทีเขาศรัทธาคือเป็นมุสลิมทีดีทังดุนยาและอาคิเราะฮ์ เขามีความดีอยู่ในตัวทุกด้าน ไม่ว่าทางกาย หรือวาจาทีเปล่งออกมา หรือความนึกคิดก็จะเต็มไปด้วยความยุติธรรม ดังคํากล่าวทีว่า “ใครทีทําธุรกิจร่วมกับเพือนมนุษย์ โดยทีเขาไม่ขมเหง เมือพูดกับเขาก็ไม่โกหกเขา เมือสัญญากับเขาก็ไม่ผิดสัญญา นับว่าเขาผู้นันเป็นผู้ทีมีเกียรติอย่างสมบูรณ์ มีความเป็นธรรมอย่างบริสุทธิ” ท่านนบี ยังได้สอนแก่เราว่า ถ้ารักเพือนคนใดก็ให้บอกแก่เขาว่าเรารักเขา ทังนีเพือทีจะเป็นการเชือม ความสัมพันธ์ให้กระชับยิงขึน ดังฮะดีสของท่านบี ซึงมีความว่า “เมือคนหนึงคนใดในพวกเจ้ารักพีน้องของเขา ก็จงบอกให้เขารู้ว่ารักเขา” บันทึกโดย อะหฺมัด ท่านนบี ยังได้เสริมอีกว่า ถ้าเราจะคบเพือนคนใดก็ให้ถามชือ สกุล และควรจะรู้ว่าเขามาจากไหน เป็นใคร กัน “เมือคนหนึงคนใดเป็นมิตรกัน ก็จงถามถึงชือของเขา และชือบิดาของเขา ว่าเป็นใคร เพราะจะทําให้ กระชับความสัมพันธ์กันมากขึน” บันทึกโดย อัตติรมีซีย์ ท่านนบี ได้ส่งเสริมให้เราผูกมัดจิตใจของเพือน เพือให้ความรักนันยาวนานโดยการให้ของขวัญ ซึง ของขวัญนันไม่จําเป็นต้องมีค่าเป็นวัตถุ หรือใหญ่โต เพียงแต่ให้รู้ว่ามีค่าแห่งนําใจระหว่างเพือนก็เพียงพอแล้ว ดัง ถ้อยคําของท่านเราะซูล ทีว่า “จงให้ของขวัญกันเถิด เพราะการให้ของขวัญกันนัน จะเป็นการขจัดความขุ่นข้องหมองใจกัน” บันทึกโดย อัตติรมีซีย์ อิสลามสนับสนุนการคบค้าสมาคมกัน ดังนัน คําว่า “เพือน” จึงมีความสําคัญต่อมนุษย์ แต่ก่อนทีเราจะคบ เพือนคนใดก็ขอให้เราพิจารณา ตรึกตรองให้ดี แล้วเราก็จะมีความสุขอยู่ในหมู่เพือนฝูงเหล่านัน คือเขาและเราต่างก็ เป็นผู้ศรัทธาซึงกันและกัน เมือจะทําอะไรก็จะคิดอยู่เสมอว่าสิงนีอยู่ในหนทางของศาสนาหรือไม่ เมือบุคคลกลุ่มใด มีความคิดเช่นนีแล้ว อินชาอัลลอฮ์ พระองค์อัลลอฮ์คงจะโปรดให้เขาปลอดภัยจากมารร้ายต่างๆ และให้เขาเป็นมุอฺ มินทีศรัทธาอย่างแท้จริง
  • 31. ใบงานที 2 หน่วยการเรียนรู้ที 6 เรือง การช่วยเหลือเพือนมนุษย์ ชัน( อป ) ปีที 4/2 การช่วยเหลือในอิสลาม คําสังที : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนีให้ถูกต้อง 1.ให้นักเรียนสรุปการช่วยเหลือในอิสลาม? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ .............................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ .............................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ .............................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ .............................. ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................