SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Diabetes mellitus
guideline
Munchukorn Leelatanon, MD
ชนิดของโรคเบาหวาน
ชนิดของโรคเบาหวาน
ชนิดของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM)
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T2DM)
โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจาเพาะ (other specific types)
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM)
Normal use of glucose
Type 1 DM
Type 2 DM
การประเมินความเสี่ยงต่อ
โรคเบาหวานและการคัดกรอง
โรค
ค้นหาผู้ซึ่งไม่มีอาการ เพื่อการวินิจฉัย และให้การรักษาตั้งแต่
ระยะเริ่มแรก โดยมุ่งหมายป้องกันโรคแทรกซ้อน
ประเมินโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เท่านั้น
เลือกทาในกลุ่มซึ่งมีความเสี่ยงสูงเท่านั้น
Screening test
Diagnosis
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
Diagnosis
 yy
การประเมินทางคลินิกเมื่อ
แรกวินิจฉัยโรคเบาหวาน
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการเจ็บป่วย
อายุที่เริ่มตรวจพบว่าเป็นเบาหวาน
อาการเมื่อแรกตรวจพบว่าเป็นเบาหวาน
อุปนิสัยการรับประทานอาหาร
กิจกรรมเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย
ประวัติการรักษาที่ผ่านมา ยาที่ได้รับ
อาการของโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน เช่น ตามัว ชา ปัสสาวะเป็นฟอง
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกาย
ชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว
วัดความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ
ตรวจร่างกายตามระบบต่างๆ
ตรวจตาและจอประสาทตา
ตรวจเท้า ดูผิวหนัง แผลที่เท้า คลาชีพจรหลังเท้า
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
HbA1C
Lipid profile
LFT
Serum Cr
UA
การส่งต่อพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
การส่งต่อพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
นักโภชนาการ เพื่อคุมอาหาร ลดน้าหนัก
จักษุแพทย์ เมื่อตรวจพบความผิดปกติของจอประสาทตา
อายุรแพทย์โรคไต
อายุรแพทย์โรคหัวใจ
ทันตแพทย์
เป้าหมายการรักษา
เป้าหมายการควบคุมเบาหวานสาหรับผู้ใหญ่
เป้าหมายการควบคุมเบาหวานสาหรับ
ผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะสุดท้าย
HbA1c goals
• Short duration of
diabetes
• T2DM treated with
lifestyle or metformin
• Long life expectancy
• No cardiovascular
disease
<6.5%
• Most non pregnant
adult
• Reduce
microvascular
complications in
T1DM and T2DM
• Reduce mortality in
T1DM
< 7%
• History of severe
hypoglycemia
• Limited life expectancy
• Advanced micro-
vascular or
macrovascular
complications
• Extensive comorbid
conditions
• Long-standing diabetes
< 8%
เป้าหมายการควบคุมปัจจัยเสี่ยงของ
ภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือด
การติดตามและการ
ประเมินผลการรักษาทั่วไป
การติดตามผลการรักษา
ขึ้นกับความรุนแรงของโรคและวิธีการรักษา
ในระยะแรกอาจต้องนัดผู้ป่วยทุก 1-4 สัปดาห์
 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคให้ผู้ป่วยดูแลตนเองได้ดี
 เพื่อปรับขนาดยา
ในระยะคงที่ นัดติดตามทุก 1-3 เดือน โดยประเมิน FBS,
HbA1c ประเมินการคุมอาหาร ประเมินการใช้ยา
การตรวจ Lipid profile ถ้าปกติ ควรตรวจซ้าปีละ 1 ครั้ง
การประเมินผู้ป่วยที่ยังไม่มีโรคแทรกซ้อน
การประเมิน
ตรวจร่างกายอย่างละเอียด ตรวจเท้า ปีละ 1 ครั้ง
ตรวจตา ปีละ 1 ครั้ง
ตรวจฟัน ปีละ 1 ครั้ง
ตรวจปัสสาวะและ albuminuria ปีละ 1 ครั้ง
เลิกบุหรี่
จากัดการดื่มแอลกอฮอล์
ประเมินคุณภาพชีวิตและสุขภาพจิต
การให้ความรู้โรคเบาหวาน และ
สร้างทักษะเพื่อการดูแลตนเอง
วิธีการให้ความรู้โรคเบาหวาน และสร้างทักษะเพื่อ
การดูแลตนเอง
การประเมิน
การ
ตั้งเป้าหมาย
การวางแผนการปฏิบัติ
การประเมินผลและ
การติดตาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
เบาหวานคือ
อะไร
ชนิดของโรค อาการ
ปัจจัยเสี่ยง
การควบคุม
ระดับน้าตาล
ผลของโรคต่อ
ระบบต่างๆ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต
Lifestyle modification
การควบคุมอาหาร
Carbohydrate
บริโภคร้อยละ 50 ของพลังงานรวมในแต่ละวัน โดยให้มีส่วนที่ได้จากผัก
ธัญพืช ผลไม้ นมจืดไขมันต่าด้วย
เลือกบริโภคอาหารที่มี glycemic index ต่า
ปรุงรสด้วยน้าตาลได้บ้างแต่ต้องไม่เกินร้อยละ 5 ของพลังงานรวม (3-6ช้อนชา)
บริโภคอาหารที่มีใยอาหารสูง ให้ได้ 14 กรัมต่ออาหาร 1000 kCal
Fat and
Cholesterol
บริโภคไม่เกินร้อยละ 30-35 ของพลังงานรวมแต่ละวัน
จากัดไขมันอิ่มตัวไม่เกินร้อยละ 7
ลดปริมาณคอเลสเตอรอลให้ต่ากว่า 300 mg/day
จากัดไขมันทรานส์ไม่เกินร้อยละ 1 ของพลังงานรวม
Protein
บริโภคร้อยละ 15-20 ของพลังงานทั้งหมด
บริโภคปลาและเนื้อไก่เป็นหลัก ควรบริโภคปลาอย่างน้อย 2 ครั้ง/สัปดาห์
เลี่ยงเนื้อสัตว์ใหญ่และเนื้อสัตว์แปรรูป
ไม่ใช้โปรตีนในการแก้ไขภาวะน้าตาลต่าเฉียบพลัน
Alcohol
ไม่แนะนาให้ดื่ม
ถ้าดื่ม จากัดไม่เกิน 1 ส่วน/วัน สาหรับผู้หญิง 2 ส่วน/วัน สาหรับผู้ชาย
ควรรับประทานอาหารร่วมด้วยเพื่อป้องกันภาวะน้าตาลต่า
การกินคาร์โบไฮเดรตเป็นกับแกล้มอาจเพิ่มระดับน้าตาลในเลือดได้
Vitamins
ไม่จาเป็นต้องให้เสริมในผู้ที่ไม่ได้ขาดสารอาหารเหล่านั้น
ไม่แนะนาให้ใช้สารต้านอนุมูลอิสระเป็นประจา
การออกกาลังกาย
Exercise
 Preventing cardiovascular
disease
50-70%
max HR
70-85%
max HR
Maximum HR = 220 - age
การให้ยาเพื่อควบคุมระดับ
น้าตาลในเลือดในผู้ใหญ่
ยาลดระดับน้าตาลในเลือด
ยาเม็ด
ยาฉีดอินซูลิน
ยาฉีด GLP-1 Analog
ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด
1. กระตุ้นให้มีการหลั่งอินซุลินจากตับอ่อนเพิ่มขึ้น (Insulin secretagogue)
 Sulfonylurea
 Non-sulfonylurea หรือ glinide
 DPP4 inhibitor หรือ gliptin
2. ลดภาวะดื้ออินซูลิน
Biguanide
Thiazolidinedione หรือ glitazone
3. ยับยั้งเอนไซม์ alpha-glucosidase (Alpha-glucosidase inhibitor)
ลดการดูดซึมกลูโคสจากลาไส้
ยาฉีดอินซูลิน
1. Short acting หรือ regular human insulin, RI
2. Intermediate-acting insulin, NPH
3. Rapid acting insulin analog, RAA
4. Long acting insulin analog, LAA
นอกจากนั้นยังมี premixed insulin เพื่อสะดวกในการใช้ เช่น
Humulin 70/30 มี NPH 70%, RI 30%
ยาฉีด GLP-1 analog
 ออกฤทธิ์โดยกระตุ้นการหลั่งอินซูลินและยับยั้งการหลั่งกลูคากอน
 ลดการบีบตัวของกระเพาะทาให้อิ่มเร็วขึ้น
 ลดความอยากอาหารโดยกดศูนย์ความอยากอาหารที่ไฮโปธาลามัส
 ได้แก่ exenatide, liraglutide
Cardiovascular
risk factor
management
Risk factors for
patients with diabetes
 Dyslipidemia
 Hypertension
 Smoking
 Family history of premature coronary disease
 Presence of albuminuria
ASCVD risk score
Hypertension
 BP goal < 140/90 mmHg
 Lifestyle therapy
 Weight loss
 Reduced sodium diet
 Moderate alcohol intake
 Increased physical activity
 ACE inhibitor or ARB recommended
Lipid management
 Lifestyle modification
 Weight loss
 Reducing intake of saturated fat, trans fat, and cholesterol
 Increasing intake of omega-3 fatty acids, viscous fiber, and plant
stanols or sterols
 Increasing physical activity
 Start when
 TG ≥ 150 mg/dL
 HDL < 40 mg/dL in men
 HDL < 50 mg/dL in women
 IF TG ≥ 500 mg/dL  medication
Antiplatelet agents
 Aspirin therapy , dose 75 to 162 mg/d
 Primary prevention strategy
 Recommend in patients with T1DM and T2DM who are at
increased cardiovascular risk (10- year risk >10%) (C rating)
 Not recommend in low ASCVD risk (10- year risk < 5 %)
 Clinical judgment is necessary for patients with diabetes < 50
years and have several other risk factors (for example, 10-year
ASCVD risk of 5% to 10%)
DM diagnosis and management

More Related Content

What's hot

การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Aiman Sadeeyamu
 

What's hot (20)

ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 

Viewers also liked

9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
CUPress
 
Diabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussain
Diabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussainDiabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussain
Diabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussain
Mohammed Yaser Hussain
 
Diagnosis of Diabetes Mellitus
Diagnosis of Diabetes MellitusDiagnosis of Diabetes Mellitus
Diagnosis of Diabetes Mellitus
tpgmedical
 
Diabetes Mellitus at a Molecular Level
Diabetes Mellitus at a Molecular LevelDiabetes Mellitus at a Molecular Level
Diabetes Mellitus at a Molecular Level
Ahmad Jabar
 

Viewers also liked (13)

แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Endocrine pancreas
Endocrine pancreasEndocrine pancreas
Endocrine pancreas
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
Diabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussain
Diabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussainDiabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussain
Diabetes mellitus type 1 and type 2 by mohammad yaser hussain
 
Diagnosis of Diabetes Mellitus
Diagnosis of Diabetes MellitusDiagnosis of Diabetes Mellitus
Diagnosis of Diabetes Mellitus
 
Diabetes mellitus, Classification and Treatment of Diabetes mellitus
Diabetes mellitus, Classification and Treatment of Diabetes mellitusDiabetes mellitus, Classification and Treatment of Diabetes mellitus
Diabetes mellitus, Classification and Treatment of Diabetes mellitus
 
Diabetes Mellitus at a Molecular Level
Diabetes Mellitus at a Molecular LevelDiabetes Mellitus at a Molecular Level
Diabetes Mellitus at a Molecular Level
 
Teneligliptin the next generation gliptin
Teneligliptin   the next generation gliptinTeneligliptin   the next generation gliptin
Teneligliptin the next generation gliptin
 
Pharmacology of type 1 Diabetes mellitus Insulin
Pharmacology of type 1 Diabetes mellitus InsulinPharmacology of type 1 Diabetes mellitus Insulin
Pharmacology of type 1 Diabetes mellitus Insulin
 
RECENT ADVANCES IN THE TREATMENT OF DIABETES MELLITUS AND ITS COMPLICATIONS
RECENT ADVANCES IN THE TREATMENT OF DIABETES MELLITUS AND ITS COMPLICATIONSRECENT ADVANCES IN THE TREATMENT OF DIABETES MELLITUS AND ITS COMPLICATIONS
RECENT ADVANCES IN THE TREATMENT OF DIABETES MELLITUS AND ITS COMPLICATIONS
 
Laboratory diagnosis of Diabetes mellitus
Laboratory diagnosis of Diabetes mellitus Laboratory diagnosis of Diabetes mellitus
Laboratory diagnosis of Diabetes mellitus
 
Management type 2 dm
Management type 2 dmManagement type 2 dm
Management type 2 dm
 
Diabetes mellitus - (Part-3) -- Laboratory diagnosis and management
Diabetes mellitus - (Part-3) -- Laboratory diagnosis and managementDiabetes mellitus - (Part-3) -- Laboratory diagnosis and management
Diabetes mellitus - (Part-3) -- Laboratory diagnosis and management
 

Similar to DM diagnosis and management

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
Utai Sukviwatsirikul
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
vora kun
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
weerawatkatsiri
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
vora kun
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
weerawatkatsiri
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
Beigecolor
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
Beigecolor
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
Beigecolor
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
Beigecolor
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to DM diagnosis and management (20)

ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
Diabetic control - Thai
Diabetic control - ThaiDiabetic control - Thai
Diabetic control - Thai
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension update 2015
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Ncep atp iii
Ncep atp iiiNcep atp iii
Ncep atp iii
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
 
อาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมนอาจารย์ สุมน
อาจารย์ สุมน
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 

DM diagnosis and management

Editor's Notes

  1. Screening เบาหวานที่ GA 24-28 wk 1st step 75 OGTT 2nd step กิน 50 g nonfast ต่อด้วย 100 g OGTT DM ขณะตั้งครรภ์ ต้อง screen เพื่อหา persistent diabetes at 6-12 wk หลังคลอด และ screen ทุก 3 ปี
  2. กิน carbohydrate ย่อยโดยน้ำย่อยจากลำไส้เล็ก เข้ากระแสเลือด พอเลือดที่มีกลูโคสไปถึง pancreas ก็ไปกระตุ้น beta cells ให้หลั่งอินซูลินออกมา อินซูลินเข้ากระแสเลือด แล้วไปจับกับcell (มี​ receptor) ต่างๆทั่วร่างกาย ทำให้ glucose เข้า cell ไปให้พลังงานได้
  3. Antibody ไป attack beta cell ทำลาย beta cell ทำให้สร้าง insulin ไม่ได้ ไม่มีตัวน้ำ glucose เข้า cell ใช้พลังงานไม่ได้ ทำให้เกิด hyperglycemia สุดท้ายต้องใช้พลังงานจาก protein & fat มาใช้ พบว่าผอม ส่วนใหญ่พบในคนอายุน้อยกว่า 30 ปี ไม่อ้วน ปัสสาวะมาก กระหายน้ำมาก อ่อนเพลีย น้ำหนักลด 5% of diagnosed DM ทั้งหมด และมี autoimmune markers
  4. Insulin resistant ทำให้เกิด abnormal receptor ทำให้ insulin จับกับ receptorไม่ได้ ทำให้นำกลูโคสมาใช้ไม่ได้ ทำให้ betacell ผลิต insulin เพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่สามารถนำไปใช้ได้ แต่สุดท้ายหยุดผลิต insulin เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุดในคนไทย ประมาณร้อยละ 95 ของผู้ป่วยทั้งหมด เป็นผลจากการดื้อต่ออินซูลิน ร่วมกับการบกพร่องในการผลิตอินซูลินที่เหมาะสม มักพบในคนอายุ 30 ปีขึ้นไป รูปร่างท้วม หรืออ้วน อาจไม่มีอาการผิดปกติ หรืออาจมีอาการของโรคได้ แต่มักไม่รุนแรงและค่อยเป็นค่อยไป มักมีประวัติโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในพ่อแม่ หรือพี่น้อง โดยที่ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดนี้พบมากเมื่อมีอายุสูงขึ้น มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น การขาดการออกกำลังกายและพบมากขึ้นในหญิงที่มีประวัติการเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
  5. Type 1 DM 5% of diagnosed diabetes cases defined by the presence of 1 or more autoimmune markers.
  6. carotid bruit ผิ น ง เท้ ฟัน เ งื ก แล ตร จค้น ภ รื โรคแทรกซ้ นเรื้ ร งที่ จเกิดขึ้นที่จ ปร ทต (diabetic retinopathy) ไต (diabetic nephropathy) เ ้นปร ท (diabetic neuropathy) แล โรคร บบ ใจแล ล ดเลื ด ถ้ เป็นผู้ป่ ยเบ นชนิดท่ี 1 ใ ้ตร จค้น โรคแทรกซ้ นเรื้ ร งข้ งต้น ล งก ร ินิจฉ ย 5 ปี
  7. คนส่วนใหญ่ keep <7 % การคุมได้ดีสามารถลด microvascular complication ใน DM type1&2 ได้ และลด mortality ใน DM type1 ได้ ควบคุมเข้มงวดมาก < 6.5% ใช้ในคนที่เพิ่งเป็นเบาหวานไม่นาน, DM type 2 ที่รักษาด้วย lifestyle modification หรือ แค่ metformin อย่างเดียว หรือ long life expectancy or no cardiovascular disease
  8. 2. ผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลต่ำ ในเลือดบ่อย หรือ รุนแรง ผู้ป่วยที่มีโรคแทรกซ้อนรุนแรง หรือ มี โรคร่วมหลายโรค เป้าหมายระดับ HbA1c ไม่ควรต่ำกว่า 7.0% มีชีวิตอยู่ได้ไม่นาน เช่น มะเร็ง อยู่ได้ไม่นานเกิน 1 ปี ความสำคัญของการรักษาโรคเบาหวานลดลง แต่มุ่งเน้นให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้น และไม่เกิดอาการจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ให ้ได้รับการดูแลที่บ้านและช่วยให ้มีคุณภาพชีว ิตที่ดีจนวาระส ุดท้าย
  9. <6.5 พบ hypoglycemia บ่อย และไม่ช่วยลด microvascular กับ mortality เพิ่ม Hypoglycemia < 40 mg%
  10. * ถ้ามีโรคหลอดเลือดหัวใจหรือมีปัจจัยเส ี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจหลายอย่างร่วมด้วย ควรควบคุมให ้ LDL-C ต่ำ กว ่า 70 มก./ดล. ** ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิต SBP ไม่ควรต่ำกว่า110 มม.ปรอท DBP ไม่ควรต่ำกว่า 70 มม.ปรอท *** อัตราส่วนรอบเอวต่อส่วนสูงไม่เกิน 0.5
  11. ผู้ไม่ดื่มแ ลก ล์ไม่แน น� ใ ้ดื่มแ ลก ล์ กจ� เป็น เช่น ร่ มง น ง รรค์ค รดื่ม ในปริม ณจ� ก ดคื ไม่เกิน 1 ่ น � ร บผู้ ญิง รื 2 ่ น � ร บผู้ช ย (1 ่ น เท่ ก บ ิ กี้ 45 มล. รื ไ น์ 120 มล. รื เบียร์ชนิด ่ น 330 มล.)
  12. 1.ประเมิน พฤติกรรมสุขภาพปัจจุบัน ทำให้ทราบว่าควรให้ความรู้เรื่องใดก่อน ผู้ป่วยมีทักษะการดูแลตนเองอย่างไร อุปสรรคต่อการเรียนรู้ เช่น ฐานะการเงิน วัฒนธรรม (กินอะไร น้ำหวาน ขนมหวาน ผลไม้ ข้าว) 2. การตั้งเป้าหมาย ร่วมกัน เพื่อใ้หได้รับแรงจูงใจ และเพิ่มพูนความสำเร็จของการเรียนรู้ และสร้างทักษะเพื่อการดูแลตนเอง (เขียนใน opd card ว่า จะลดน้ำหนักเหลือเท่าไหร่ จะเลิกกินน้ำหวาน) 3. การวางแผน ให้ความรู้ สร้างทักษะ เลือกวิธีการให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคล (การกินอาหารมื้อเช้าเยอะสุด การกินยา เช่น บางคนทำงานเป็นกะ) 4. การปฏิบัติ สอนภาคปฏิบัติในการสร้างทักษะในการดูแลตนเอง เช่น เรื่องอาหาร การออกกำลังการ การตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง การแก้ไขภาวะน้ำตาลต่ำ หรือสูงในเลือด การปรับอาหารหรือยา 5. การประเมินผล และติดตาม F/U ผู้ป่วย ประเมิน ค่าน้ำตาลสะสมเฉลี่ย การปรับพฤติกรรม
  13. Glycemic index การจัดลำดับอาหารคาร์โบไฮเดรต ม่ผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดมากน้อยเพียงใดหลังกินอาหารชนิดนั้น 1-2 hr GI สูง จะดูดซึมเร็วกว่า ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าอาหารที่มี GI ต่ำ อาหารที่มี GI ต่ำ จะถูกย่อยช้า ทำให้กลูโคสปล่อยเข้าไปในกระแสเลือดช้าๆ ค่าสูงสุดคือ 100
  14. ปลา กินเพื่อให้ได้ omega 3
  15. Moderate: can talk but cannot sing , เดินเร็ว ว่ายน้ำเร็ว ปั่นจักรยานอยู่กับที่แบบไม่ฝืด ตัดหญ้า เต้นแอโรบิกเบาๆ Viforous: can’t say more than few words at a time ออกกำลังกายต่อเนื่องในโรงยิม ปั่นจักรยานอยู่กับที่แบบฝืด ปั่นจักรยานแข่งขัน The activity can be in 1 session or several sessions lasting 10 minutes or more.
  16. insulin secretagogue กระตุ้นให้มีการหลั่งอินซุลินจากตับอ่อนเพิ่มขึ้น Glinide: repaglinide SU : First generation drugs include acetohexamide, carbutamide, chlorpropamide, glycyclamide (tolhexamide), metahexamide, tolazamide and tolbutamide. Second generation drugs include glibenclamide (glyburide), glibornuride, gliclazide, glipizide Third generation drugs include glimepiride, TZD ห้ามให้ในคนที่มีประวัติเป็นโรค heart failure : glitazone DPP 4 inhibitor : glinide : sitagliptin, vildagliptin SGLT 2 inhibitor : empagliflozin, canagliflozin, dapagliflozin, ipragliflozin
  17. Human insulin โครงสร้างเหมือนอินซูลินที่คนสร้างขึ้น Insuin analog ดัดแปลง human insulin ให้ออกฤทธิ์ตามต้องการ
  18. Glargine = lantus Detemir = levemir Aspart = novolog Lispro = humalog
  19. SU : First generation drugs include acetohexamide, carbutamide, chlorpropamide, glycyclamide (tolhexamide), metahexamide, tolazamide and tolbutamide. Second generation drugs include glibenclamide (glyburide), glibornuride, gliclazide, glipizide Third generation drugs include glimepiride, TZD ห้ามให้ในคนที่มีประวัติเป็นโรค heart failure : glitazone DPP 4 inhibitor : glinide : sitagliptin, vildagliptin SGLT 2 inhibitor : empagliflozin, canagliflozin, dapagliflozin, ipragliflozin
  20. Atherosclerotic cardiovascular disease acute coronary syndrome, a history of myocardial infarction, stable or unstable angina, coronary or other arterial revascularization, stroke, transient ischemic attack, or peripheral arterial disease (PAD)
  21. BP น้อยกว่านี้ ไม่ได้ช่วย improve cardiovascular outcome , DBP < 70 associate กับ mortality ด้วย
  22. ไม่แนะนำให้ใช้ statin ร่วมกับ fibrate แต่มีกรณีนึงที่ใข้ได้คื อ statin + fenofibrate ใช้ใน​TG > 204 amd HDL < 34