SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) เน้นกระบวนการ
ทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิด
กลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิด
จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์
มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่
เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหา
ต่างๆ ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้
ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง
ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้
ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง
ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ
 Cognitive Constructivism หมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา
นิยมที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของพีอา เจต์ทฤษฎีนี้ถือว่า
ผู้เขียนเป็นผู้กระทา (active) และ เป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความไม่สมดุลทาง
พุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้า
กับข้อมูลข่าวสาร ใหม่จนกระทั่งเกิดความสมดุลทางพุทธิปัญญา
หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
 Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี
พัฒนาการของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน) ในขณะที่ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองานในสภาวะสังคม (Social Context) ซึ่ง
เป็นตัวแปรที่สาคัญและขาดไม่ได้ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทาให้
ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปรความเข้าใจ เดิมให้ถูกต้อง
หรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง
ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี ๕ ทฤษฏี คือ
ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัว
มนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่า
ทฤษฎีสนาม (Field Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือ แรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่
จุดหมายปลายทางที่ตน ดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียน
เป็นสิ่งจาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน
( Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิด
จากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมาย
ปลายทาง เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียนบรรลุ
จุดมุ่งหมายใดๆ โดยใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็น
เครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นัก
คิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ ๒ ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุน
เนอร์(Bruner) แนว ความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่อง
พัฒนาการทางสติปัญญญาของ บุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์
เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและ การเรียนรู้เกิดจากระบวนการการ
ค้นพบด้วยตนเอง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏี
นี้ คือ คานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนและจัดประสบการณ์
ให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal
Learning) ของออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่
ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มา
ก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอ
ความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบันดูรา (Bandura)
บันดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้
โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่า
ตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของ
ตนเองได้ด้วย บันดูรา จึงสรุปว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตจึงเป็น
กระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา
แนวคิดและทฤษฎี
• ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคานึงอยู่เสมอ
ว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะ
ไม่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม
• การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของ
ทฤษฎีปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุด
เท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความ
ผิดพลาดของครูแม้ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจ
จดจา แต่ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว
การนาทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
เน้นความสาคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจาก
ตัวแบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพื่อน หรือจาก
ภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย ๒
ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิปัญญา และ
ขั้นการกระทา ตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบ
ในชีวิตจริงและตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์
สรุป
จัดทำโดย
นำงสำวกำนต์ชนิด นิยมลำภ
รหัส 5801602107 รุ่น 2 กลุ่ม 4

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหาฐิติรัตน์ สุขสวัสดิ์
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 

What's hot (20)

โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหากำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
กำหนดการสอน วิชา วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (20)

รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 

More from Naracha Nong

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้Naracha Nong
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)Naracha Nong
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีNaracha Nong
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมNaracha Nong
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)Naracha Nong
 

More from Naracha Nong (6)

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
 
ลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดีลักษณะครูที่ดี
ลักษณะครูที่ดี
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
 

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม

  • 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) เน้นกระบวนการ ทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิด กลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิด จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์ มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่ เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของ ข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหา ต่างๆ ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้ ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
  • 2. ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กระทา (active) และสร้างความรู้ ซึ่งจิตวิทยาConstructivists มีความเห็นในเรื่องการเรียนรู้หรือการสร้าง ความรู้แบ่งออกเป็น ๒ ทฤษฎี คือ  Cognitive Constructivism หมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา นิยมที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของพีอา เจต์ทฤษฎีนี้ถือว่า ผู้เขียนเป็นผู้กระทา (active) และ เป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความไม่สมดุลทาง พุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้า กับข้อมูลข่าวสาร ใหม่จนกระทั่งเกิดความสมดุลทางพุทธิปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 3.  Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี พัฒนาการของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมี ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น (ผู้ใหญ่หรือเพื่อน) ในขณะที่ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองานในสภาวะสังคม (Social Context) ซึ่ง เป็นตัวแปรที่สาคัญและขาดไม่ได้ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทาให้ ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปรความเข้าใจ เดิมให้ถูกต้อง หรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 4. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้าง ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สาคัญๆ มี ๕ ทฤษฏี คือ ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัว มนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่า ทฤษฎีสนาม (Field Theory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือ แรงขับที่จะกระทาให้ไปสู่ จุดหมายปลายทางที่ตน ดึงดูดความสนใจและสนองความต้องการของผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 5. ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน ( Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิด จากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมาย ปลายทาง เน้นการสร้างแรงขับและหรือแรงจูงใจให้ผู้เรียนบรรลุ จุดมุ่งหมายใดๆ โดยใช้เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็น เครื่องชี้ทางควบคู่ไปด้วย ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 6. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นัก คิดคนสาคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ ๒ ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุน เนอร์(Bruner) แนว ความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่อง พัฒนาการทางสติปัญญญาของ บุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์ เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและ การเรียนรู้เกิดจากระบวนการการ ค้นพบด้วยตนเอง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏี นี้ คือ คานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนและจัดประสบการณ์ ให้ผู้เรียนอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 7. ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มา ก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอ ความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม(ต่อ)
  • 9. บันดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้ โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่า ตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของ ตนเองได้ด้วย บันดูรา จึงสรุปว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตจึงเป็น กระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา แนวคิดและทฤษฎี
  • 10. • ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคานึงอยู่เสมอ ว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะ ไม่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม • การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอนของ ทฤษฎีปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุด เท่านั้น จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความ ผิดพลาดของครูแม้ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจ จดจา แต่ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว การนาทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
  • 11. เน้นความสาคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจาก ตัวแบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพื่อน หรือจาก ภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย ๒ ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิปัญญา และ ขั้นการกระทา ตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบ ในชีวิตจริงและตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์ สรุป