SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
Gastrointestinal Disease Jack Rx21
1
Peptic ulcer disease
 ทบทวน
กรดหลั่งจาก Parietal cell โดยถูกกระตุ้นจาก ligan 3 ชนิดคือ Histamine , Ach , Gastrin ซึ่ง
กรดที่หลั่งออกมาถูกผลักดันออกทาง H+
/K+
ATPase pump สาหรับการติดเชื้อ H.pylori ซึ่งมี
เอนไซม์ urease จึงสามารถเปลี่ยน urea หรือ protein ที่รับประทานเข้าไปเป็น Bicarbonate + NH3
+ CO2 เกิดเป็น antacid coating อยู่รอบตัวจึงสามารถอยู่ได้แม้สภาวะเป็นกรด เมื่อติดเชื้อ H.pylori
ร่างกายจะสร้าง cytokine เพื่อเรียดเอาเม็ดเลือดขาวมากาจัดสิ่งแปลกปลอม แต่ทว่าเชื้อและเม็ดเลือด
ขาวอยู่กันคนละด้านโดยมีผนังของกระเพาะอาหารเป็นกาแพงกั้น ส่งผลให้เม็ดเลือดขาวพยายามแทรก
ตัวเพื่อที่จะมากาจัดเชื้อภายนอกส่งผลให้เกิดการอักเสบ  peptic ulcer
 นิยาม
Peptic ulcer เป็นภาวะที่มีการทาลายเนื้อเยื่อบุผิวในทางเดินอาหารโดยเฉพาะกระเพาะอาหาร
และลาใส้เล็กส่วนต้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ Gastric ulcer , Duodenal ulcer
- Gastric ulcer = ทานอาการแล้วปวดทันที
- Duodenal ulcer = ปวดหลังทานอาการ 1-3 hr
 สาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรค
 Acid secretion 
 H.pylori
 Gastrinoma (เนื้องอกที่ G-cell)
 Stress
 NSAIDs , Corticosteroid  PGE2
 Mucosal blood flow  mucus 
 Diagnisis
 Esophagogastroduodenoscopy (Endoscopy)
 Rapid Urease Testing
 Urea breath tests
 Antiulcer Agent
1) Antacid
- Al(OH)3  สะสมในสมอง  เกิด Alzheimer ได้ + constipation
- Mg(OH)2  diarrhea
- ทานหลังอาการ 2 hr จะมีประสิทธิภาพดีที่สุด
Gastrointestinal Disease Jack Rx21
2
2) H2-receptor antagonist
- Cimetidine , Ranitidine , Famotidine , Nizatidine
- Cimetidine and Ranitidine  enz. Inhibitor
- มีประสิทธิภาพดีในการยับยั้งการหลั่งกรดตอนกลางคืน
- Cimetidine  อาจทาให้เกิด gynecomastia , galactorrhea
3) Proton pump inhibitor [PPI]
- Omeprazole , Lansoprazole , Rabeprazole , Pantoprazole , Esomeprazole
- Irreversible inhibit H+
/K+
ATPase
- ทานก่อนอาการ 15-30 minute
- PPI ส่วนใหญ่ทาเป็น enteric coated ซึ่งเป็น pH-sensitive  ซึ่งจะไม่ละลายใน
ภาวะกรดแต่จะละลายเมื่อมี pH เป็นด่าง คือในลาใส้ ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ไม่นิยมทาน
หลังอาหารเพราะอาหารจะสะเทินกรดทาให้ coat ละลายยาจึงถูกทาลายในกระเพาะ
อาหารและดูดซึมลดลง
4) Sucralfate
- Aluminated salt  SE : ท้องผูก
- ออกฤทธิ์จับกับโปรตีนในแผล เคลือบแผล
- ต้องทานตอนท้องว่าง เพราะถ้ากินหลังอาหาร อาหารจะมีโปรตีนยาก็จะออกไปกับ
อาหารแทน
5) Misoprostal (Cytotec)
- Prostaglandin analog  PEG  mucosal blood flow สร้าง
bicarbonate+mucus
- Prevention of NSAIDs -induce ulcer
- Pregnancy (category X)
 Treatment
Duration of treatment
Duration H2-blocker PPI
DU 6 4
GU 8 6
USFDA-Approve regimens for treatment of H.pylori (10-14 day)
Triple therapy
Omeprazole 20mg Clarithromycin 500 mg Amoxicillin 1000mg 1X2
Omeprazole 20mg Clarithromycin 250 mg Metronidazole 400 mg
or Tinidazole 500 mg
1X2
หากแพ้ penicillin เปลี่ยนให้ใช้ tetracycline แทน
Quadruple therapy
Omeprazole Metronidazole Tetracycline Bismuth
Gastrointestinal Disease Jack Rx21
3
Zollinger-Ellison Syndrome
 นิยาม
เป็น gastrinoma (เนื้องอก) ทาให้ G-cell หลั่ง gastrin มากขึ้นส่งผลให้เกิดการหลั่ง
กรดที่ผิดปกติ ทาให้เห็นผู้ป่วยมักจะมาด้วยอาการ peptic ulceration และมี diarrhea
 Diagnosis
 Basal acid output > 15 mEq/h
 Serum gastrin > 1,000 pg/ml
 Treatment
 PPI – oral drug of choice
 IV Octreotide
Irritable Bowel syndrome (IBS)
 นิยาม
เป็น functional disorder มักมีอาการปวดท้องช่วงล่าง ซึ่งเกิดจากการมีความผิดปกติ
เกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ แต่ไม่มีความผิดปกติของโครงสร้างและองค์ประกอบทาง
เคมีใดของทางเดินอาหาร
 ROME III
 อาการดีขึ้นเมื่อถ่ายอุจจาระ
 มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของการถ่าย
 มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอุจจาระ
 Treatment
 Pain/Discomfort (ปวดท้องไม่สบายท้อง)
- Antispasmodics (Hyoscyamine , Mebeverine , Dicyclomine)
- Antidepressant (TCA,SSRIs) มีฤทธิ์ anticholinergic ใช้เป็น
ตัวสุดท้าย
- Opioid-like agent
 Bloating
- Antiflatulents
- Peppermint oil
 Constipation
- Fiber : SE= flatulence(ท้องอืด) ดื่มน้าตามมากๆ
- Osmotic laxative [Mg(OH)2 , Lactulose]
Lactulose เลี่ยงใน IBS-C เพราะจะทาให้ท้องอืด
- Prokinetic
 Diarrhea
- Loperamide ทานก่อนอาหาร
Gastrointestinal Disease Jack Rx21
4
Gastroesophageal Reflux Disease [GERDs]
 นิยาม
เป็นภาวะที่ lower esophageal sphincter (LES) เปิดผิดปกติ
 ปัจจัยที่ทาให้เกิด
 Obesity  pressure in upper abdominal
 Pregnancy
 cigarette smoke  relax LES
 fatty food , chocolate , coffee , spicy food , pizza
 อาการแสดง
 Heart burn ***
 Regurgitation (เรอ)***
 Bitter taste (ขมในคอ)
 Diagnosis
 Symptom : heart burn
 Therapeutic trial : PPI  กินแล้วหาย  GERDs แน่นอน
 X-ray : barium esophagram
 Upper GI endoscopy
 Treatment
- เลี่ยงการทานอาหารก่อนนอน 3 hr
- Antacid
- H2-antagonist
- PPI
- Prokinetic
- Foam barrier (alginate)
Regimens for GERDs
Efficacy regimens
Highes PPI 1x2 + H2RA at bedtime
PPI 1x2
PPI 1X1 + H2RA at bedtime
PPI and Prokinetic
High PPI 1x1
High dose H2RA
H2RA + prokinetic
Lowest H2Ra + prokinetic
Gastrointestinal Disease Jack Rx21
5
Dyspepsia
 นิยาม
เป็น functional disorder มักมีอาการปวดท้อง ไม่สบายท้องส่วนบนช่วงกลางท้อง แต่
ไม่มีอาการของ GERDs อาการไม่สบายท้องทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการกิน แบ่งเป็น 2 ชนิด
Postprandial Distress Syndrome (PDS)
 Diagnosis
 ทานอาหารปกติแต่แน่นท้องมาก
 อิ่มก่อนกาหนด
Epigastric Pain Syndrome (EPS)
 Diagnosis
 ทานอาหารแล้วปวดแสบท้อง
 ไม่เกี่ยวข้องกับทางเดินน้าดีและการถ่ายอุจจาระ
 Treatment
- Acid suppression (first line)
- H2 receptor antagonist
- PPI (2-8 wk)
- Prokinetic
- Antidepressant

More Related Content

Similar to Gastrointestinal disease.doc review

โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนUtai Sukviwatsirikul
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration Tanchanok Pps
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood programTHANAKORN
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsUtai Sukviwatsirikul
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
Rupture appendicitis
Rupture appendicitisRupture appendicitis
Rupture appendicitissoftmail
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 

Similar to Gastrointestinal disease.doc review (20)

Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยนโปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
โปรไบโอทิคส์ โดย อุทัย เก้าเอี้ยน
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
Antidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteineAntidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteine
 
CKD for 2019
CKD for 2019 CKD for 2019
CKD for 2019
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood program
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
Rupture appendicitis
Rupture appendicitisRupture appendicitis
Rupture appendicitis
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Gastrointestinal disease.doc review

  • 1. Gastrointestinal Disease Jack Rx21 1 Peptic ulcer disease  ทบทวน กรดหลั่งจาก Parietal cell โดยถูกกระตุ้นจาก ligan 3 ชนิดคือ Histamine , Ach , Gastrin ซึ่ง กรดที่หลั่งออกมาถูกผลักดันออกทาง H+ /K+ ATPase pump สาหรับการติดเชื้อ H.pylori ซึ่งมี เอนไซม์ urease จึงสามารถเปลี่ยน urea หรือ protein ที่รับประทานเข้าไปเป็น Bicarbonate + NH3 + CO2 เกิดเป็น antacid coating อยู่รอบตัวจึงสามารถอยู่ได้แม้สภาวะเป็นกรด เมื่อติดเชื้อ H.pylori ร่างกายจะสร้าง cytokine เพื่อเรียดเอาเม็ดเลือดขาวมากาจัดสิ่งแปลกปลอม แต่ทว่าเชื้อและเม็ดเลือด ขาวอยู่กันคนละด้านโดยมีผนังของกระเพาะอาหารเป็นกาแพงกั้น ส่งผลให้เม็ดเลือดขาวพยายามแทรก ตัวเพื่อที่จะมากาจัดเชื้อภายนอกส่งผลให้เกิดการอักเสบ  peptic ulcer  นิยาม Peptic ulcer เป็นภาวะที่มีการทาลายเนื้อเยื่อบุผิวในทางเดินอาหารโดยเฉพาะกระเพาะอาหาร และลาใส้เล็กส่วนต้น ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ Gastric ulcer , Duodenal ulcer - Gastric ulcer = ทานอาการแล้วปวดทันที - Duodenal ulcer = ปวดหลังทานอาการ 1-3 hr  สาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรค  Acid secretion   H.pylori  Gastrinoma (เนื้องอกที่ G-cell)  Stress  NSAIDs , Corticosteroid  PGE2  Mucosal blood flow  mucus   Diagnisis  Esophagogastroduodenoscopy (Endoscopy)  Rapid Urease Testing  Urea breath tests  Antiulcer Agent 1) Antacid - Al(OH)3  สะสมในสมอง  เกิด Alzheimer ได้ + constipation - Mg(OH)2  diarrhea - ทานหลังอาการ 2 hr จะมีประสิทธิภาพดีที่สุด
  • 2. Gastrointestinal Disease Jack Rx21 2 2) H2-receptor antagonist - Cimetidine , Ranitidine , Famotidine , Nizatidine - Cimetidine and Ranitidine  enz. Inhibitor - มีประสิทธิภาพดีในการยับยั้งการหลั่งกรดตอนกลางคืน - Cimetidine  อาจทาให้เกิด gynecomastia , galactorrhea 3) Proton pump inhibitor [PPI] - Omeprazole , Lansoprazole , Rabeprazole , Pantoprazole , Esomeprazole - Irreversible inhibit H+ /K+ ATPase - ทานก่อนอาการ 15-30 minute - PPI ส่วนใหญ่ทาเป็น enteric coated ซึ่งเป็น pH-sensitive  ซึ่งจะไม่ละลายใน ภาวะกรดแต่จะละลายเมื่อมี pH เป็นด่าง คือในลาใส้ ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ไม่นิยมทาน หลังอาหารเพราะอาหารจะสะเทินกรดทาให้ coat ละลายยาจึงถูกทาลายในกระเพาะ อาหารและดูดซึมลดลง 4) Sucralfate - Aluminated salt  SE : ท้องผูก - ออกฤทธิ์จับกับโปรตีนในแผล เคลือบแผล - ต้องทานตอนท้องว่าง เพราะถ้ากินหลังอาหาร อาหารจะมีโปรตีนยาก็จะออกไปกับ อาหารแทน 5) Misoprostal (Cytotec) - Prostaglandin analog  PEG  mucosal blood flow สร้าง bicarbonate+mucus - Prevention of NSAIDs -induce ulcer - Pregnancy (category X)  Treatment Duration of treatment Duration H2-blocker PPI DU 6 4 GU 8 6 USFDA-Approve regimens for treatment of H.pylori (10-14 day) Triple therapy Omeprazole 20mg Clarithromycin 500 mg Amoxicillin 1000mg 1X2 Omeprazole 20mg Clarithromycin 250 mg Metronidazole 400 mg or Tinidazole 500 mg 1X2 หากแพ้ penicillin เปลี่ยนให้ใช้ tetracycline แทน Quadruple therapy Omeprazole Metronidazole Tetracycline Bismuth
  • 3. Gastrointestinal Disease Jack Rx21 3 Zollinger-Ellison Syndrome  นิยาม เป็น gastrinoma (เนื้องอก) ทาให้ G-cell หลั่ง gastrin มากขึ้นส่งผลให้เกิดการหลั่ง กรดที่ผิดปกติ ทาให้เห็นผู้ป่วยมักจะมาด้วยอาการ peptic ulceration และมี diarrhea  Diagnosis  Basal acid output > 15 mEq/h  Serum gastrin > 1,000 pg/ml  Treatment  PPI – oral drug of choice  IV Octreotide Irritable Bowel syndrome (IBS)  นิยาม เป็น functional disorder มักมีอาการปวดท้องช่วงล่าง ซึ่งเกิดจากการมีความผิดปกติ เกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ แต่ไม่มีความผิดปกติของโครงสร้างและองค์ประกอบทาง เคมีใดของทางเดินอาหาร  ROME III  อาการดีขึ้นเมื่อถ่ายอุจจาระ  มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของการถ่าย  มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอุจจาระ  Treatment  Pain/Discomfort (ปวดท้องไม่สบายท้อง) - Antispasmodics (Hyoscyamine , Mebeverine , Dicyclomine) - Antidepressant (TCA,SSRIs) มีฤทธิ์ anticholinergic ใช้เป็น ตัวสุดท้าย - Opioid-like agent  Bloating - Antiflatulents - Peppermint oil  Constipation - Fiber : SE= flatulence(ท้องอืด) ดื่มน้าตามมากๆ - Osmotic laxative [Mg(OH)2 , Lactulose] Lactulose เลี่ยงใน IBS-C เพราะจะทาให้ท้องอืด - Prokinetic  Diarrhea - Loperamide ทานก่อนอาหาร
  • 4. Gastrointestinal Disease Jack Rx21 4 Gastroesophageal Reflux Disease [GERDs]  นิยาม เป็นภาวะที่ lower esophageal sphincter (LES) เปิดผิดปกติ  ปัจจัยที่ทาให้เกิด  Obesity  pressure in upper abdominal  Pregnancy  cigarette smoke  relax LES  fatty food , chocolate , coffee , spicy food , pizza  อาการแสดง  Heart burn ***  Regurgitation (เรอ)***  Bitter taste (ขมในคอ)  Diagnosis  Symptom : heart burn  Therapeutic trial : PPI  กินแล้วหาย  GERDs แน่นอน  X-ray : barium esophagram  Upper GI endoscopy  Treatment - เลี่ยงการทานอาหารก่อนนอน 3 hr - Antacid - H2-antagonist - PPI - Prokinetic - Foam barrier (alginate) Regimens for GERDs Efficacy regimens Highes PPI 1x2 + H2RA at bedtime PPI 1x2 PPI 1X1 + H2RA at bedtime PPI and Prokinetic High PPI 1x1 High dose H2RA H2RA + prokinetic Lowest H2Ra + prokinetic
  • 5. Gastrointestinal Disease Jack Rx21 5 Dyspepsia  นิยาม เป็น functional disorder มักมีอาการปวดท้อง ไม่สบายท้องส่วนบนช่วงกลางท้อง แต่ ไม่มีอาการของ GERDs อาการไม่สบายท้องทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการกิน แบ่งเป็น 2 ชนิด Postprandial Distress Syndrome (PDS)  Diagnosis  ทานอาหารปกติแต่แน่นท้องมาก  อิ่มก่อนกาหนด Epigastric Pain Syndrome (EPS)  Diagnosis  ทานอาหารแล้วปวดแสบท้อง  ไม่เกี่ยวข้องกับทางเดินน้าดีและการถ่ายอุจจาระ  Treatment - Acid suppression (first line) - H2 receptor antagonist - PPI (2-8 wk) - Prokinetic - Antidepressant