SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
อาหารทางหลอดเลือดดำ
Parenteral Nutrition
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
Food & Nutrition Department
Khonkaen Hospital
1
Parenteral Nutrition
อาหารทางหลอดเลือดดำ
PPN TPN
คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น2
Total Parenteral Nutrition ;
เป็นการให้สารอาหาร
ผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่
Peripheral Parenteral
Nutrition : การให้สารอาหารผ่าน
ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ความหมายของอาหารทางหลอดเลือดดำ
• เป็นส่วนประกอบที่อยู่ในรูปของแร่ธาตุ หรือสารอาหารก่อนย่อย มาจาก
• คาร์โบไฮเดรท : น้ำตาลเดกโตส (dextrose)
• โปรตีน : กรดอะมิโน (amino acids)
• ไขมัน : ไขมันอิมัลชัน (lipid emulsion)
• วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น3
ความหมายของอาหารทางหลอดเลือดดำ
• เป็นการให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำ
• Central Parenteral Nutrition หรือ Total Parenteral Nutrition (TPN);
การให้สารอาหารผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่
• Peripheral Parenteral Nutrition (PPN): การให้สารอาหารผ่านทางหลอด
เลือดดำส่วนปลาย (600-900 mOsm/L)
A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2nd edition, 2005, p. 97
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น4
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น5
การเลือกวิธีการให้อาหารสำหรับผู้ป่วย
• ระบบไหลเวียนโลหิตคงที่ และระบบทางเดินอาหารปกติ แนะนำให้ใช้อาหาร
ผ่านทางปากแก่ผู้ป่วย
• ผู้ป่วยที่ได้รับอาหารผ่านทางปากมักมีการติดเชื้อน้อยกว่าการให้อาหารผ่านทาง
หลอดเลือดดำ
• อาหารให้ทางปากมีราคาถูกกว่าอาหารทางหลอดเลือดดำ
ADA Evidence Analysis Library, accessed 8/07
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น6
ข้อบ่งชี้ในการใช้อาหารทางหลอดเลือดดำ
• ระบบทางเดินอาหารไม่ทำงาน (non functioning GI tract) เช่น severe
malabsorption, short bowel syndrome
• ต้องการให้ระบบทางเดินอาหารได้พัก (bowel rest) เช่น Severe Pancreatitis
• ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการอย่างรุนแรง (Severe malnutrition)หรืออยู่ในภาวะ
hypercatabolic state และไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้มากกว่า 5 วัน
วรมินทร์ เหรียญสุวรรณ และสรนิต ศิลธรรม, (2010).Parenteral Nutrition: Formulations, Complications and Management. Introduction to Clinical Nutrition, 2010(1).67-87
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น7
ข้อบ่งชี้ในการใช้อาหารทางหลอดเลือดดำ
• ผู้ป่วยไม่สามารถได้รับสารอาหารเพียงพอเมื่อใช้วิธีผ่านทางปาก
• ผู้ป่วยที่ตับอ่อนอักเสบอย่างรุนแรง (Severe acute pancreatitis)
• ผู้ป่วยที่ตัดต่อลำไส้ (Severe short bowel syndrome)
• ผู้ป่วยเส้นเลือดที่เลี้ยงลำไส้ขาดเลือด (Mesenteric ischemia)
• ผู้ป่วยที่ลำไส้ไม่บีบตัว (Paralytic ileus)
• ผู้ป่วยที่ลำไส้เล็กอุดตัน (Small bowel obstruction)
• ผู้ป่วยที่ระบบทางเดินอาหารทะลุ (GI fistula)
Adapted from Mirtallo in ASPEN,The Science and Practice of Nutrition Support:A Case-Based Core Curriculum. 2001.
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น8
ข้อห้ามในการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
• ผู้ป่วยต้องการกินทางปาก
• ผู้ป่วยที่มีระบบทางเดินอาหารปกติ
• ผู้ป่วยมีความเสี่ยงจากอาหารทางหลอดเลือดดำมากกว่าประโยชน์
• ผู้ป่วยที่คาดว่าให้สารอาหารไปแล้วไม่ได้รับการตอบสนองที่ดี
หรือผู้ป่วยระยะสุดท้าย
• ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารทางปากมีการตอบสนองที่ดีอย่างช้า
ภายใน 14 วัน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น9
การให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำใหญ่
Total Parenteral Nutrition (TPN)
• ส่งสารอาหารผ่านทางหลอดเลือด femoral lines, internal jugular lines และ
subclavian vein
• Peripherally inserted central catheters (PICC) ถูกสอดสายให้อาหารผ่านทาง
cephalic และ basilic veins
• จะให้สารอาหารผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่ ในกรณีถ้าให้ผ่านทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
เกิดการอักเสบในระหว่างการรักษาเนื่องจากค่า pH, osmolarity และปริมาณสารอาหาร
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น10
Venous Sites for Access to the
SuperiorVena Cava
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น11
Peripherally inserted central catheters (PICC)
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น12
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
• คาดว่าทำการรักษาในระยะเวลาสั้น (10-14 วัน)
• ความต้องการพลังงานและโปรตีนอยู่ในระดับปานกลาง
• กำหนดค่า osmolarity อยู่ในระหว่าง <600-900 mOsm/L
• ไม่จำกัดสารน้ำ
A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2005; p. 94
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น13
อาหารทางหลอดเลือดดำ
Parenteral Nutrition
สารอาหารหลัก(Macronutrients) &
สารอาหารรอง (Micronutrients)
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น14
คาร์โบไฮเดรท
Carbohydrate
ไขมัน
Fat
โปรตีน
Protein
สารอาหารหลัก
Macronutrients
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น15
คาร์โบไฮเดรท
• แหล่งสารอาหาร : Monohydrous dextrose , Dextrose
• คุณสมบัติ : เป็นแหล่งพลังงาน และเป็นแหล่งที่ไม่มีไนโตรเจน (N2)
• 3.4 Kcal/g
• Hyperosmolar Coma : ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก
ปริมาณที่แนะนำ: 2 – 5 mg/kg/min
50-65% of total calories
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น16
คาร์โบไฮเดรท
ผลข้างเคียงที่ให้คาร์โบไฮเดรทมากเกินไป :
• Increased minute ventilation: เพิ่มการหายใจ
• Increased production: เพิ่มปริมาณ CO2
• Increased RQ: มีอัตราส่วนการแลกเปลี่ยน O2 มากขึ้น
• Increased O2 consumption: มีความต้องการใช้ O2 มากขึ้น
• Lipogenesis and liver problems: มีไขมันสะสมที่ตับ และตับมีปัญหา
• Hyperglycemia: น้ำตาลในเลือดสูง
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น17
กรดอะมิโน
• แหล่งสารอาหาร: Crystalline amino acids - standard or specialty
• คุณสมบัติ: 4.0 Kcal/g
กรดอะมิโนจำเป็น EAA(Essential amino acids) 40–50%
กรดอะมิโนไม่จำเป็น NEAA (Non Essential amino acids)
50-60% Glutamine / Cysteine
ปริมาณที่แนะนำ: 0.8-2.0 g/kg/day
15-20% of total calories
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น18
กรดอะมิโน
ผลข้างเคียงที่ให้กรดอะมิโนมากเกินไป
• ไตทำงานหนักขึ้น
• Azotemia : ภาวะมีไนโตรเจนในเลือด
มากเกินไป
• Metabolic acidosis : ภาวะเลือด
เป็นกรด
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น19
Macronutrients: กรดอะมิโน
• สารละลายเฉพาะกรดอะมิโน
กรดอะมิโนสายกิ่ง (Branched chain amino acids : BCAA)
กรดอะมิโนจำเป็น (Essential amino acids : EAA)
• มีราคาสูงกว่าสารอาหารมาตรฐาน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น20
ไขมัน
• แหล่งสารอาหาร: น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันถั่วเหลือง ไข่
• คุณสมบัติ: - เป็นไตรกลีเซอไรด์สายยาว (Long chain triglycerides)
- เป็นสารละลายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นที่น้อยกว่าเซลล์
และเท่ากับเซลล์ (Isotonic or hypotonic)
- เป็นสารอิมัลชัน10 Kcals/g
- ป้องกันการขาดกรดไขมันที่จำเป็น
• ปริมาณที่แนะนำ: 0.5 – 1.5 g/kg/day (not >2 g/kg)
12 – 24 hour infusion rate งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น21
ไขมัน
ปริมาณความต้องการไขมัน
• ให้กรดไขมันจำเป็น (Essential amino acids) 4% - 10% kcals หรือ linoleic
acid 2% - 4% kcals
• โดยทั่วไปให้ 500 mL มีไขมัน 10% 2 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือให้ 500 mL มีไขมัน
20% 1ครั้งต่อสัปดาห์ เพื่อป้องกัน EFAD(Essential amino acids Deficiency)
ระดับปกติ 25% to 35% of total kcals
ระดับสูงสุด 60% of kcal หรือ 2 g fat/kg
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น22
ไขมัน
ผลข้างเคียงที่ให้ไขมันมากเกินไป:
• Egg allergy : แพ้ไข่
• Hypertriglyceridemia : ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
• ภูมิต้านทานลดลง (cell-mediated immunity)
จำกัด<1 g/kg/day ในผู้ป่วยวิกฤติที่มีภูมิคุ้มกันไม่ดี
• LFTs(Liver function tests ) ตับไม่ปกติ
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น23
27
*Assumes normal organ function Reprinted with permission from ASPEN safePractices.JPEN.1998;22:49:66
ความต้องการโปรตีนและพลังงานในผู้ใหญ่*
โปรตีน
ปกติ 0.8 – 1.0 g/kg
Catabolic patients 1.2 – 2 g/kg
พลังงาน
พลังงานทั้งหมด 25-30 kcal/kg
ปริมาตรสารน้ำที่ควรจะได้รับ 20-40 mL/kg
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น24
25
ตัวอย่าง ผู้ป่วยชายมีน้ำหนักมาตรฐาน 50 kg
1. กำหนดให้พลังงาน 25 kcal/kg และปริมาตรสารน้ำ 20 ml/kg
2. กำหนดให้พลังงาน 30 kcal/kg และปริมาตรสารน้ำ 40 ml/kg
พลังงาน = 50 x 25 = 1250 kcal/d
ปริมาตรสารน้ำ = 50 x 20 = 1000 ml
ความเข้มข้น (kcal/ml) = 1250 : 1000 = 1.25 :1
1000 1000
พลังงาน 50 x 30 = 1500 kcal/d
ปริมาตรสารน้ำ = 50 x 40 = 2000 ml
ความเข้มข้น (kcal/ml) 1500 : 2000 = 0.75 :1
2000 2000
1.
2.
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น26
อิเล็คโทรไลต์
Electrolytes
แร่ธาตุ
Trace Elements
วิตามิน
Vitamins
สารอาหารรอง
Micronutrients
วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์
• วิตามินและแร่ธาตุแนะนำให้ปริมาณต่ำกว่า DRIs (Dietary Reference Intakes)
เนื่องจากไม่ต้องผ่านกระบวนการย่อยและดูดซึม
• รูปแบบของเกลือแร่จะมีผลต่อความสมดุลของกรดเบส
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น27
Dietary Reference Intake(DRI) คือ ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้
รับประจำวัน เป็นคำอ้างอิงโดยมาจากการคาดคะเนของปริมาณสารอาหารต่างๆ
ที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนปกติเพื่อให้มีสุขภาพดี โดยได้รับสารอาหารเพียง
พอไม่มากและไม่น้อยเกินไป
การให้วิตามินรวมในผู้ใหญ่
ความต้องการวิตามินจากองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (FDA
requirements) ที่ถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2000 แทนที่ NAG-AMA guidelines
• ให้เพิ่ม วิตามินB1, วิตามินB6, วิตามิน C, folic acid, และให้เพิ่มวิตามิน K
• สูตร MVI Adult (Mayne Pharma) and Infuvite (MVI-13)จากบริษัท
Boxter จะมีวิตามิน K ผสมอยู่
• สูตร MVI-12 (Mayne Pharma) จะไม่มีวิตามิน K ผสมอยู่
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น28
Food and Drug Administration (FDA) หมายถึง องค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา
แนวทางการให้วิตามินในอาหารทางหลอดเลือดดำ
วิตามิน FDA Guidelines*
A IU 3300 IU
D IU 200 IU
E IU 10 IU
K mcg 150 mcg
C mg 200
Folate mcg 600
Niacin mg 40
วิตามิน FDA Guidelines*
B2 mg 3.6
B1 mg 6
B6 mg 6
B12 mg 5.0
Biotin mcg 60
B5 dexpanthenol mg 15
*Federal Register 66(77):April 20, 2000
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น29
ความต้องการแร่ธาตุในผู้ใหญ่
แร่ธาตุ ปริมาณ
โครเมี่ยม (Chromium) 10-15 mcg
ทองแดง (Copper) 0.3-0.5 mg
แมงกานีส (Manganese) 60-100 mcg
สังกะสี (Zinc) 2.5-5.0 mg
ASPEN: Safe practices for parenteral nutrition formulations. JPEN 22(2) 49, 1998
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น30
ความต้องการอิเล็คโทรไลต์ในผู้ใหญ่
อิเล็คโทรไลต์ PN Equiv RDA ปริมาณมาตรฐาน
Calcium 10 mEq 10-15 mEq
Magnesium 10 mEq 8-20 mEq
Phosphate 30 mmol 20-40 mmol
Sodium N/A 1-2 mEq/kg + replacement
Potassium N/A 1-2 mEq/kg
Acetate N/A As needed for acid-base
Chloride N/A As needed for acid-base
ASPEN: Safe practices for parenteral nutrition formulations. JPEN 22(2) 49, 1998
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น31
Equiv : Equivalent
ความต้องการอิเล็คโทรไลต์ในผู้ป่วยเด็ก
อิเล็คโทรไลต์ ทารก/เด็ก วัยรุ่น
Sodium 2-6 mEq/kg ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
Chloride 2-5 mEq/kg ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
Potassium 2-3 mEq/kg ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
Calcium 1-2.5 mEq/kg 10-20 mEq
Phosphorus 0.5-1 mmol/kg 10-40 mmol
Magnesium 0.3-0.5 mEq/kg 10-30 mEq
National Advisory Group. Safe practices for parenteral nutrition formulations JPEN 1998;22:49-66
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น32
สารที่สามารถเพิ่มเข้าไปใน
สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
• Sodium iodide
• Selenium
• Zinc chloride
• Levocarnitine
• Insulin
♦Metoclopramide
♦Ranitidine
♦Heparin
♦Octreotide
♦Phytonadione
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น33
The A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2nd edition, 2005, p. 97; Barber et al. In ASPEN, The Science and Practice of Nutrition Support: A Case-Based Core Curriculum. 2001.
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น34
การให้สะลายในสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
♦คาร์โบไฮเดรท
–สามารถให้ความเข้มข้น 5% to 70%
♦กรดอะมิโน
–สามารถให้สารละลายได้ 20%
–8.5% and 10% ใช้ในการผสมด้วยมือ (manual)
♦ไขมัน
–10% = 1.1 kcal/ml
–20% = 2 kcal/ml
–30% = 3 kcal/ml (used only in mixing TNA*, not for direct venous delivery)
–*the total nutrient admixtures :TNA
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น35
ความต้องการอื่นๆ
♦ สารน้ำ 20 - 40 ml/kg (1.5 to 3 L/day)
– น้ำสเตอไรล์ (Sterile water) จะถูกเพิ่มเข้าไปในอาหารทาง หลอดเลือดำ
ตามความต้องการสารน้ำในผู้ป่วยแต่ละราย
♦ อิเล็คโทรไลต์
– สามารถใช้ในรูป acetate หรือ chloride เพื่อจัดการภาวะ metabolic
acidosis หรือ alkalosis
♦ วิตามิน : ใช้เป็นวิตามินรวม (multivitamin formulations)
♦ แร่ธาตุ
การเตรียมสารอาหาร
• Multi-Bottles System
1. Two Bottles System (Dextrose, Amino acids, Mineral และ
Vitamins ผสมในขวดเดียวกัน แต่ให้ Fat emulsionแยกอีกขวด)
2. Three Bottles System (กลูโคส 1 ขวด, โปรตีน 1 ขวด
และไขมันอิมัลชัน อีก1ขวด)
• TPN Admixture, 3 in 1 system หรือ All in one system
(กลูโคส โปรตีน ไขมันอิมัลชัน วิตามิน และเกลือแร่เข้าด้วยกัน )
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น36
Two-in-One PN
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น37
PN Compounding Machines:Automix
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น38
PN Compounding Machines: Micromix
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น39
การเริ่มต้นให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
• ระบบไหลเวียนโลหิตผู้ป่วยต้องเป็นปกติ
• ถ้าให้สารอาหารทาง central vein ไม่ได้ จึงพิจารณาให้ทาง peripheral vein
• เริ่มต้นโดยให้สารอาหารทีละน้อย
(1 ลิตรในหนึ่งวัน ; 2 ลิตรในสองวัน)
ASPEN Nutrition Support Practice Manual 2005; p. 98-99
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น40
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
• Hyperosmolar solutions จะทำให้หลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ
• สามารถให้สารอาหารที่มีค่า osmolarity 800 - 900 mOsm/kg (MHS ใช้ 1150
mOsm/kg w/ lipid in the solution)
• จำกัดเดกโตรส 5-10% และกรดอะมิโน 3% ของความเข้มข้นที่ผู้ป่วยต้องได้รับทั้งหมด
• อาจต้องจำกัดอิเล็คโทรไลต์ด้วย
• ใช้ไขมันเพื่อป้องกันเส้นเลือดแตกให้มีความยืดยุ่น และเพื่อเพิ่มพลังงาน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น41
การกำหนดการเริ่มต้นให้สารอาหาร
• สามารถให้โปรตีนสูงถึง 60-70 grams/literในวันแรก เนื่องจากมีผลข้างเคียงทาง
เมตาบอลิซึมเพียงเล็กน้อย
• สามารถให้คาร์โบไฮเดรท 150-200 g/day หรือ 15-20% ของความเข้มข้น เดกโตรสที่
ผู้ป่วยต้องได้รับในวันแรก
• ในผู้ป่วยเด็กหรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับได้ อาจเริ่มให้ 100-150 g เดกโตรส หรือ
10-15% ของความเข้มข้น glucose
• โดยปกติพลังงานและโปรตีนในผู้ใหญ่จะได้ครบถ้วนตามความต้องการภายใน 2 - 3 วัน
• ในผู้ป่วยทารกแรกเกิดและผู้ป่วยเด็กพลังงานและโปรตีนเพียงพออาจใช้เวลา 3-5 วัน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น42
ส่วนประกอบสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Central Peripheral
---Solutions--- Solutions
แหล่งสารอาหาร ไขมัน - เดกโตรส
น้ำตาลเดกโตรส 14.5% 35.0% <10.0%
กรดอะมิโน 5.5% 5.0% <4.25%
ไขมัน 5.0% 250 ml/ 3.0 - 8.0%
20% fat q
M,Tha% Final Concentration Courtesy of Marian, MJ.
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น43
การเพิ่มพลังงานตามREE stress factors (WHO)
ไข้ เพิ่มได้ 13% :1℃
การเต้นของหัวใจล้มเหลว 15-25%
Traumatic Injury 20-30%
Severe respiratory distress or
broncho-pulmonary dysplasia
25-30%
ติดเชื้ออย่างรุนแรง 45-50
Olson, D. Pediatric Parenteral Nutrition. In Sharpening your skills as a nutrition support dietitian. DNS, 2003.
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น44
REE: resting energy expenditure คือการใช้พลังงานขณะพัก
ตารางการให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำ
• การให้สารอาหารอย่างต่อเนื่อง
ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่องใน 24 ชม. ทาง central หรือ
peripheral venous
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น45
การเปลี่ยนจากการให้อาหารทาง
หลอดเลือดดำเป็นการให้อาหารทางปาก
• ในผู้ใหญ่ที่สามารถรับประทานอาหารได้เพียงพอที่จะรักษาระดับน้ำตาลในเลือดได้
ไม่จำเป็นต้องให้ PN
• ลดลง 50% ทุก 1 - 2 ชม. หรือ เปลี่ยนเป็น10% dextrose IV เพื่อป้องกัน
hypoglycemia
• ติดตามปริมาณน้ำตาลในเลือดทุก 30-60 นาที หลังลดปริมาณลง
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น46
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น47
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น48
Thank you

More Related Content

What's hot

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 

Similar to 1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ

หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophyllineClinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophyllineNat Nafz
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคKamol Khositrangsikun
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
Loadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่น
Loadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่นLoadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่น
Loadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่นนวพร คำแสนวงษ์
 

Similar to 1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (11)

หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
Clinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophyllineClinical Pharmacokinetic of thenophylline
Clinical Pharmacokinetic of thenophylline
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาคService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.สกานต์ บุนนาค
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
Loadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่น
Loadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่นLoadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่น
Loadแนวข้อสอบ โภชนาการ โรงพยาบาลขอนแก่น
 

More from Nickson Butsriwong

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้Nickson Butsriwong
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยNickson Butsriwong
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59Nickson Butsriwong
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59Nickson Butsriwong
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนNickson Butsriwong
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารกNickson Butsriwong
 

More from Nickson Butsriwong (8)

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 

1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ

  • 1. อาหารทางหลอดเลือดดำ Parenteral Nutrition งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น Food & Nutrition Department Khonkaen Hospital 1 Parenteral Nutrition อาหารทางหลอดเลือดดำ PPN TPN คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์ งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น2 Total Parenteral Nutrition ; เป็นการให้สารอาหาร ผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่ Peripheral Parenteral Nutrition : การให้สารอาหารผ่าน ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย ความหมายของอาหารทางหลอดเลือดดำ • เป็นส่วนประกอบที่อยู่ในรูปของแร่ธาตุ หรือสารอาหารก่อนย่อย มาจาก • คาร์โบไฮเดรท : น้ำตาลเดกโตส (dextrose) • โปรตีน : กรดอะมิโน (amino acids) • ไขมัน : ไขมันอิมัลชัน (lipid emulsion) • วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์ งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น3
  • 2. ความหมายของอาหารทางหลอดเลือดดำ • เป็นการให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำ • Central Parenteral Nutrition หรือ Total Parenteral Nutrition (TPN); การให้สารอาหารผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่ • Peripheral Parenteral Nutrition (PPN): การให้สารอาหารผ่านทางหลอด เลือดดำส่วนปลาย (600-900 mOsm/L) A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2nd edition, 2005, p. 97 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น4 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น5 การเลือกวิธีการให้อาหารสำหรับผู้ป่วย • ระบบไหลเวียนโลหิตคงที่ และระบบทางเดินอาหารปกติ แนะนำให้ใช้อาหาร ผ่านทางปากแก่ผู้ป่วย • ผู้ป่วยที่ได้รับอาหารผ่านทางปากมักมีการติดเชื้อน้อยกว่าการให้อาหารผ่านทาง หลอดเลือดดำ • อาหารให้ทางปากมีราคาถูกกว่าอาหารทางหลอดเลือดดำ ADA Evidence Analysis Library, accessed 8/07 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น6
  • 3. ข้อบ่งชี้ในการใช้อาหารทางหลอดเลือดดำ • ระบบทางเดินอาหารไม่ทำงาน (non functioning GI tract) เช่น severe malabsorption, short bowel syndrome • ต้องการให้ระบบทางเดินอาหารได้พัก (bowel rest) เช่น Severe Pancreatitis • ผู้ป่วยมีภาวะทุพโภชนาการอย่างรุนแรง (Severe malnutrition)หรืออยู่ในภาวะ hypercatabolic state และไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้มากกว่า 5 วัน วรมินทร์ เหรียญสุวรรณ และสรนิต ศิลธรรม, (2010).Parenteral Nutrition: Formulations, Complications and Management. Introduction to Clinical Nutrition, 2010(1).67-87 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น7 ข้อบ่งชี้ในการใช้อาหารทางหลอดเลือดดำ • ผู้ป่วยไม่สามารถได้รับสารอาหารเพียงพอเมื่อใช้วิธีผ่านทางปาก • ผู้ป่วยที่ตับอ่อนอักเสบอย่างรุนแรง (Severe acute pancreatitis) • ผู้ป่วยที่ตัดต่อลำไส้ (Severe short bowel syndrome) • ผู้ป่วยเส้นเลือดที่เลี้ยงลำไส้ขาดเลือด (Mesenteric ischemia) • ผู้ป่วยที่ลำไส้ไม่บีบตัว (Paralytic ileus) • ผู้ป่วยที่ลำไส้เล็กอุดตัน (Small bowel obstruction) • ผู้ป่วยที่ระบบทางเดินอาหารทะลุ (GI fistula) Adapted from Mirtallo in ASPEN,The Science and Practice of Nutrition Support:A Case-Based Core Curriculum. 2001. งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น8 ข้อห้ามในการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ • ผู้ป่วยต้องการกินทางปาก • ผู้ป่วยที่มีระบบทางเดินอาหารปกติ • ผู้ป่วยมีความเสี่ยงจากอาหารทางหลอดเลือดดำมากกว่าประโยชน์ • ผู้ป่วยที่คาดว่าให้สารอาหารไปแล้วไม่ได้รับการตอบสนองที่ดี หรือผู้ป่วยระยะสุดท้าย • ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารทางปากมีการตอบสนองที่ดีอย่างช้า ภายใน 14 วัน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น9
  • 4. การให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดำใหญ่ Total Parenteral Nutrition (TPN) • ส่งสารอาหารผ่านทางหลอดเลือด femoral lines, internal jugular lines และ subclavian vein • Peripherally inserted central catheters (PICC) ถูกสอดสายให้อาหารผ่านทาง cephalic และ basilic veins • จะให้สารอาหารผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่ ในกรณีถ้าให้ผ่านทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย เกิดการอักเสบในระหว่างการรักษาเนื่องจากค่า pH, osmolarity และปริมาณสารอาหาร งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น10 Venous Sites for Access to the SuperiorVena Cava งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น11 Peripherally inserted central catheters (PICC) งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น12
  • 5. การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย • คาดว่าทำการรักษาในระยะเวลาสั้น (10-14 วัน) • ความต้องการพลังงานและโปรตีนอยู่ในระดับปานกลาง • กำหนดค่า osmolarity อยู่ในระหว่าง <600-900 mOsm/L • ไม่จำกัดสารน้ำ A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2005; p. 94 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น13 อาหารทางหลอดเลือดดำ Parenteral Nutrition สารอาหารหลัก(Macronutrients) & สารอาหารรอง (Micronutrients) งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น14 คาร์โบไฮเดรท Carbohydrate ไขมัน Fat โปรตีน Protein สารอาหารหลัก Macronutrients งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น15
  • 6. คาร์โบไฮเดรท • แหล่งสารอาหาร : Monohydrous dextrose , Dextrose • คุณสมบัติ : เป็นแหล่งพลังงาน และเป็นแหล่งที่ไม่มีไนโตรเจน (N2) • 3.4 Kcal/g • Hyperosmolar Coma : ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก ปริมาณที่แนะนำ: 2 – 5 mg/kg/min 50-65% of total calories งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น16 คาร์โบไฮเดรท ผลข้างเคียงที่ให้คาร์โบไฮเดรทมากเกินไป : • Increased minute ventilation: เพิ่มการหายใจ • Increased production: เพิ่มปริมาณ CO2 • Increased RQ: มีอัตราส่วนการแลกเปลี่ยน O2 มากขึ้น • Increased O2 consumption: มีความต้องการใช้ O2 มากขึ้น • Lipogenesis and liver problems: มีไขมันสะสมที่ตับ และตับมีปัญหา • Hyperglycemia: น้ำตาลในเลือดสูง งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น17 กรดอะมิโน • แหล่งสารอาหาร: Crystalline amino acids - standard or specialty • คุณสมบัติ: 4.0 Kcal/g กรดอะมิโนจำเป็น EAA(Essential amino acids) 40–50% กรดอะมิโนไม่จำเป็น NEAA (Non Essential amino acids) 50-60% Glutamine / Cysteine ปริมาณที่แนะนำ: 0.8-2.0 g/kg/day 15-20% of total calories งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น18
  • 7. กรดอะมิโน ผลข้างเคียงที่ให้กรดอะมิโนมากเกินไป • ไตทำงานหนักขึ้น • Azotemia : ภาวะมีไนโตรเจนในเลือด มากเกินไป • Metabolic acidosis : ภาวะเลือด เป็นกรด งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น19 Macronutrients: กรดอะมิโน • สารละลายเฉพาะกรดอะมิโน กรดอะมิโนสายกิ่ง (Branched chain amino acids : BCAA) กรดอะมิโนจำเป็น (Essential amino acids : EAA) • มีราคาสูงกว่าสารอาหารมาตรฐาน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น20 ไขมัน • แหล่งสารอาหาร: น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันถั่วเหลือง ไข่ • คุณสมบัติ: - เป็นไตรกลีเซอไรด์สายยาว (Long chain triglycerides) - เป็นสารละลายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นที่น้อยกว่าเซลล์ และเท่ากับเซลล์ (Isotonic or hypotonic) - เป็นสารอิมัลชัน10 Kcals/g - ป้องกันการขาดกรดไขมันที่จำเป็น • ปริมาณที่แนะนำ: 0.5 – 1.5 g/kg/day (not >2 g/kg) 12 – 24 hour infusion rate งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น21
  • 8. ไขมัน ปริมาณความต้องการไขมัน • ให้กรดไขมันจำเป็น (Essential amino acids) 4% - 10% kcals หรือ linoleic acid 2% - 4% kcals • โดยทั่วไปให้ 500 mL มีไขมัน 10% 2 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือให้ 500 mL มีไขมัน 20% 1ครั้งต่อสัปดาห์ เพื่อป้องกัน EFAD(Essential amino acids Deficiency) ระดับปกติ 25% to 35% of total kcals ระดับสูงสุด 60% of kcal หรือ 2 g fat/kg งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น22 ไขมัน ผลข้างเคียงที่ให้ไขมันมากเกินไป: • Egg allergy : แพ้ไข่ • Hypertriglyceridemia : ภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง • ภูมิต้านทานลดลง (cell-mediated immunity) จำกัด<1 g/kg/day ในผู้ป่วยวิกฤติที่มีภูมิคุ้มกันไม่ดี • LFTs(Liver function tests ) ตับไม่ปกติ งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น23 27 *Assumes normal organ function Reprinted with permission from ASPEN safePractices.JPEN.1998;22:49:66 ความต้องการโปรตีนและพลังงานในผู้ใหญ่* โปรตีน ปกติ 0.8 – 1.0 g/kg Catabolic patients 1.2 – 2 g/kg พลังงาน พลังงานทั้งหมด 25-30 kcal/kg ปริมาตรสารน้ำที่ควรจะได้รับ 20-40 mL/kg งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น24
  • 9. 25 ตัวอย่าง ผู้ป่วยชายมีน้ำหนักมาตรฐาน 50 kg 1. กำหนดให้พลังงาน 25 kcal/kg และปริมาตรสารน้ำ 20 ml/kg 2. กำหนดให้พลังงาน 30 kcal/kg และปริมาตรสารน้ำ 40 ml/kg พลังงาน = 50 x 25 = 1250 kcal/d ปริมาตรสารน้ำ = 50 x 20 = 1000 ml ความเข้มข้น (kcal/ml) = 1250 : 1000 = 1.25 :1 1000 1000 พลังงาน 50 x 30 = 1500 kcal/d ปริมาตรสารน้ำ = 50 x 40 = 2000 ml ความเข้มข้น (kcal/ml) 1500 : 2000 = 0.75 :1 2000 2000 1. 2. งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น26 อิเล็คโทรไลต์ Electrolytes แร่ธาตุ Trace Elements วิตามิน Vitamins สารอาหารรอง Micronutrients วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์ • วิตามินและแร่ธาตุแนะนำให้ปริมาณต่ำกว่า DRIs (Dietary Reference Intakes) เนื่องจากไม่ต้องผ่านกระบวนการย่อยและดูดซึม • รูปแบบของเกลือแร่จะมีผลต่อความสมดุลของกรดเบส งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น27 Dietary Reference Intake(DRI) คือ ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้ รับประจำวัน เป็นคำอ้างอิงโดยมาจากการคาดคะเนของปริมาณสารอาหารต่างๆ ที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนปกติเพื่อให้มีสุขภาพดี โดยได้รับสารอาหารเพียง พอไม่มากและไม่น้อยเกินไป
  • 10. การให้วิตามินรวมในผู้ใหญ่ ความต้องการวิตามินจากองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (FDA requirements) ที่ถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2000 แทนที่ NAG-AMA guidelines • ให้เพิ่ม วิตามินB1, วิตามินB6, วิตามิน C, folic acid, และให้เพิ่มวิตามิน K • สูตร MVI Adult (Mayne Pharma) and Infuvite (MVI-13)จากบริษัท Boxter จะมีวิตามิน K ผสมอยู่ • สูตร MVI-12 (Mayne Pharma) จะไม่มีวิตามิน K ผสมอยู่ งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น28 Food and Drug Administration (FDA) หมายถึง องค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา แนวทางการให้วิตามินในอาหารทางหลอดเลือดดำ วิตามิน FDA Guidelines* A IU 3300 IU D IU 200 IU E IU 10 IU K mcg 150 mcg C mg 200 Folate mcg 600 Niacin mg 40 วิตามิน FDA Guidelines* B2 mg 3.6 B1 mg 6 B6 mg 6 B12 mg 5.0 Biotin mcg 60 B5 dexpanthenol mg 15 *Federal Register 66(77):April 20, 2000 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น29 ความต้องการแร่ธาตุในผู้ใหญ่ แร่ธาตุ ปริมาณ โครเมี่ยม (Chromium) 10-15 mcg ทองแดง (Copper) 0.3-0.5 mg แมงกานีส (Manganese) 60-100 mcg สังกะสี (Zinc) 2.5-5.0 mg ASPEN: Safe practices for parenteral nutrition formulations. JPEN 22(2) 49, 1998 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น30
  • 11. ความต้องการอิเล็คโทรไลต์ในผู้ใหญ่ อิเล็คโทรไลต์ PN Equiv RDA ปริมาณมาตรฐาน Calcium 10 mEq 10-15 mEq Magnesium 10 mEq 8-20 mEq Phosphate 30 mmol 20-40 mmol Sodium N/A 1-2 mEq/kg + replacement Potassium N/A 1-2 mEq/kg Acetate N/A As needed for acid-base Chloride N/A As needed for acid-base ASPEN: Safe practices for parenteral nutrition formulations. JPEN 22(2) 49, 1998 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น31 Equiv : Equivalent ความต้องการอิเล็คโทรไลต์ในผู้ป่วยเด็ก อิเล็คโทรไลต์ ทารก/เด็ก วัยรุ่น Sodium 2-6 mEq/kg ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล Chloride 2-5 mEq/kg ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล Potassium 2-3 mEq/kg ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล Calcium 1-2.5 mEq/kg 10-20 mEq Phosphorus 0.5-1 mmol/kg 10-40 mmol Magnesium 0.3-0.5 mEq/kg 10-30 mEq National Advisory Group. Safe practices for parenteral nutrition formulations JPEN 1998;22:49-66 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น32 สารที่สามารถเพิ่มเข้าไปใน สารอาหารทางหลอดเลือดดำ • Sodium iodide • Selenium • Zinc chloride • Levocarnitine • Insulin ♦Metoclopramide ♦Ranitidine ♦Heparin ♦Octreotide ♦Phytonadione งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น33
  • 12. The A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2nd edition, 2005, p. 97; Barber et al. In ASPEN, The Science and Practice of Nutrition Support: A Case-Based Core Curriculum. 2001. งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น34 การให้สะลายในสารอาหารทางหลอดเลือดดำ ♦คาร์โบไฮเดรท –สามารถให้ความเข้มข้น 5% to 70% ♦กรดอะมิโน –สามารถให้สารละลายได้ 20% –8.5% and 10% ใช้ในการผสมด้วยมือ (manual) ♦ไขมัน –10% = 1.1 kcal/ml –20% = 2 kcal/ml –30% = 3 kcal/ml (used only in mixing TNA*, not for direct venous delivery) –*the total nutrient admixtures :TNA งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น35 ความต้องการอื่นๆ ♦ สารน้ำ 20 - 40 ml/kg (1.5 to 3 L/day) – น้ำสเตอไรล์ (Sterile water) จะถูกเพิ่มเข้าไปในอาหารทาง หลอดเลือดำ ตามความต้องการสารน้ำในผู้ป่วยแต่ละราย ♦ อิเล็คโทรไลต์ – สามารถใช้ในรูป acetate หรือ chloride เพื่อจัดการภาวะ metabolic acidosis หรือ alkalosis ♦ วิตามิน : ใช้เป็นวิตามินรวม (multivitamin formulations) ♦ แร่ธาตุ การเตรียมสารอาหาร • Multi-Bottles System 1. Two Bottles System (Dextrose, Amino acids, Mineral และ Vitamins ผสมในขวดเดียวกัน แต่ให้ Fat emulsionแยกอีกขวด) 2. Three Bottles System (กลูโคส 1 ขวด, โปรตีน 1 ขวด และไขมันอิมัลชัน อีก1ขวด) • TPN Admixture, 3 in 1 system หรือ All in one system (กลูโคส โปรตีน ไขมันอิมัลชัน วิตามิน และเกลือแร่เข้าด้วยกัน ) งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น36
  • 13. Two-in-One PN งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น37 PN Compounding Machines:Automix งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น38 PN Compounding Machines: Micromix งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น39
  • 14. การเริ่มต้นให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ • ระบบไหลเวียนโลหิตผู้ป่วยต้องเป็นปกติ • ถ้าให้สารอาหารทาง central vein ไม่ได้ จึงพิจารณาให้ทาง peripheral vein • เริ่มต้นโดยให้สารอาหารทีละน้อย (1 ลิตรในหนึ่งวัน ; 2 ลิตรในสองวัน) ASPEN Nutrition Support Practice Manual 2005; p. 98-99 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น40 การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย • Hyperosmolar solutions จะทำให้หลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ • สามารถให้สารอาหารที่มีค่า osmolarity 800 - 900 mOsm/kg (MHS ใช้ 1150 mOsm/kg w/ lipid in the solution) • จำกัดเดกโตรส 5-10% และกรดอะมิโน 3% ของความเข้มข้นที่ผู้ป่วยต้องได้รับทั้งหมด • อาจต้องจำกัดอิเล็คโทรไลต์ด้วย • ใช้ไขมันเพื่อป้องกันเส้นเลือดแตกให้มีความยืดยุ่น และเพื่อเพิ่มพลังงาน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น41 การกำหนดการเริ่มต้นให้สารอาหาร • สามารถให้โปรตีนสูงถึง 60-70 grams/literในวันแรก เนื่องจากมีผลข้างเคียงทาง เมตาบอลิซึมเพียงเล็กน้อย • สามารถให้คาร์โบไฮเดรท 150-200 g/day หรือ 15-20% ของความเข้มข้น เดกโตรสที่ ผู้ป่วยต้องได้รับในวันแรก • ในผู้ป่วยเด็กหรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับได้ อาจเริ่มให้ 100-150 g เดกโตรส หรือ 10-15% ของความเข้มข้น glucose • โดยปกติพลังงานและโปรตีนในผู้ใหญ่จะได้ครบถ้วนตามความต้องการภายใน 2 - 3 วัน • ในผู้ป่วยทารกแรกเกิดและผู้ป่วยเด็กพลังงานและโปรตีนเพียงพออาจใช้เวลา 3-5 วัน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น42
  • 15. ส่วนประกอบสารอาหารทางหลอดเลือดดำ Central Peripheral ---Solutions--- Solutions แหล่งสารอาหาร ไขมัน - เดกโตรส น้ำตาลเดกโตรส 14.5% 35.0% <10.0% กรดอะมิโน 5.5% 5.0% <4.25% ไขมัน 5.0% 250 ml/ 3.0 - 8.0% 20% fat q M,Tha% Final Concentration Courtesy of Marian, MJ. งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น43 การเพิ่มพลังงานตามREE stress factors (WHO) ไข้ เพิ่มได้ 13% :1℃ การเต้นของหัวใจล้มเหลว 15-25% Traumatic Injury 20-30% Severe respiratory distress or broncho-pulmonary dysplasia 25-30% ติดเชื้ออย่างรุนแรง 45-50 Olson, D. Pediatric Parenteral Nutrition. In Sharpening your skills as a nutrition support dietitian. DNS, 2003. งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น44 REE: resting energy expenditure คือการใช้พลังงานขณะพัก ตารางการให้สารอาหาร ทางหลอดเลือดดำ • การให้สารอาหารอย่างต่อเนื่อง ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่องใน 24 ชม. ทาง central หรือ peripheral venous งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น45
  • 16. การเปลี่ยนจากการให้อาหารทาง หลอดเลือดดำเป็นการให้อาหารทางปาก • ในผู้ใหญ่ที่สามารถรับประทานอาหารได้เพียงพอที่จะรักษาระดับน้ำตาลในเลือดได้ ไม่จำเป็นต้องให้ PN • ลดลง 50% ทุก 1 - 2 ชม. หรือ เปลี่ยนเป็น10% dextrose IV เพื่อป้องกัน hypoglycemia • ติดตามปริมาณน้ำตาลในเลือดทุก 30-60 นาที หลังลดปริมาณลง งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น46 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น47 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น48 Thank you