SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
อาหารที่เหมาะสำหรับ
วัยทารก
1 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
อาหารสำหรับวัยทารก
❖ ความหมายของวัยทารก
❖ พัฒนาการในวัยทารก
❖ ความต้องการพลังงานและสารอาหาร
❖ การจัดอาหารเสริมสำหรับทารก
2 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่นฃ
วัยทารกคือ
❖ วัยทารก จะมีช่วงเวลาตั้งแต่แรกเกิด -1 ปี
❖ วัยทารกเป็นวัยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ต้องอาศัยการช่วยเหลือจากบุคคลอื่น
โดยเฉพาะแม่
❖ มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการ
เปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างชัดเจน
ที่สำคัญคือการพัฒนาโครงสร้างทาง
กล้ามเนื้อ
3 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
พัฒนาการ
  	
	
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับตัวมนุษย์ทั้งในด้าน
ร่างกาย  อารมณ์  สติปัญญาและสังคม  อย่างเป็น
ลำดับขั้น  แตกต่างกันออกไปในแต่ละช่วงอายุ    
เมื่อร่างกายมีการเจริญเติบโตตามสัดส่วนที่ควร
จะเป็น  กระบวนการต่างๆ  โครงสร้างทางร่างกาย
จะทำให้มีความสามารถที่จะกระทำได้  โดย
สามารถแสดงออกระบบต่างๆของร่างกาย  โดย
มีวุฒิภาวะเป็นตัวควบคุม  โดยไม่ต้องเร่ง  เมื่อ
ร่างกายมีพัฒนาการถึงความสามารถทางด้าน
ต่างๆ  ก็จะเป็นได้เอง    
4 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
1
2
3
4
พัฒนาการทารก
ร่างกาย จิตใจอารมณ์ สติปัญหา สังคม
การทรงตัว แสดงความรู้สึก การเรียนรู้ การคิด สร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
การเคลื่อนไหว
ควบคุมการแสดงออกทาง
อารมณ์อย่างเหมาะสม
การรู้เหตุ รู้ผล
ทักการปรับตัวในสังคม
เหมาะกับกาละเทศะ
การสัมผัส รับรู้ สามารถแก้ไขปัญหา
ใช้ตาและมือประสานกันทำ
เพื่อทำกิจกรรรมต่างๆ
การปรับตัว
การพัฒนาด้านภาษา
5 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การเจริญเติบโตของเด็กทารก
❖ น้ำหนักส่วนสูง
❖ น้ำหนักทารกจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 5เดือน จะมีน้ำ
หนักเป็น 2เท่าของน้ำหนักแรกเกิด จนครบ 1ปี
จะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 3 เท่าของน้ำหนักแรกเกิด
❖ ส่วนสูงจะสูงขึ้นเรื่อยๆจนครบ 1ปี จะมีส่วนสูง
เพิ่มขึ้น 1.5 เท่าของความสูงแรกเกิด
แรกเกิดรอบศีรษะยาวประมาณ 35 ซม.
อายุครบ 1 ปี มีฟันประมาณ 12 ซี่
ส่วนสูงประมาณ 50 เซนติเมตร
น้ำหนักประมาณ 3,000 กรัม
6 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การเจริญเติบโตของเด็กทารก
❖ สมอง
❖ ร้อยละ 80 ของจำนวนเซลล์สมองของคนเรา
จะถูกสร้างขึ้นในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของ
การตั้งครรภ์และเจริญเติบโตสูงสุดในช่วง
2 ปีแรก
❖ เด็กแรกเกิด สมองหนักประมาณ 1 ปอนด์
และโตเต็มที่ 3 ปอนด์ ที่อายุ 18-20 ปี
จำนวนเซลล์สมองเด็กแรกเกิดมีประมาณ
แสนล้านเซลล์ไม่มีการสร้างเพิ่ม
1 ปอนด์ เท่ากับ 0.4536 กิโลกรัม
7 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการพลังงานและสารอาหาร
•เจริญเติบโตตามเกณฑ์
•ลดอุบัติการณ์ทุพโภชนาการ
(malnutrition)
•ลดการติดเชื้อ
8
อาหารตามวัยเริ่มตั้งแต่ 6 เดือน ควบคู่กับนม
แม่อย่างต่อเนื่องจนกระทั่ง 2 ปี หรือมากกว่า
ข้อกำหนดของ WHO พ.ศ. 2544 -2546
ทารกควรได้รับนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
5
6
7
8
ปริมาณพลังงานและสารอาหาร
❖ ปริมาณพลังงานจากอาหารของเด็กอายุ 0-5 เดือน คือต้องได้รับจากนมแม่เพียงอย่างเดียว
❖ ปริมาณพลังงานจากอาหารของเด็กอายุ 6-12 เดือน ต้องได้รับจากนมแม่และอาหารอื่นๆวัน
ละ 800 kcal
9
อายุ พลังงานเฉลี่ย โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรท
0-6 เดือน 108 kcal/kg 2.2 g/kg - -
6-12 เดือน 99 kcal/kg 1.6 g/kg 40% 45-65%
Thai Recommended Dietary Allowance (RDA)
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
เป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีความจำเป็นสำหรับการพัฒนาสมอง
สมรรถภาพและพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็ก
การขาดธาตุเหล็ก มีผลเสีย คือในทารกและเด็ก ทำให้มีการ
พัฒนาทางสังคมและจิตใจล่าช้า ขาดสมาธิในการเรียนรู้
ในทุกกลุ่มอายุลดภูมิต้านทานโรค ทำให้เป็นโรคติดเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร
สารอาหารรอง : เหล็ก
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
มีความสำคัญในการพัฒนาการของสมองของ
ทารก ถ้าแม่ขาดไอโอดีนขณะตั้งครรภ์ จะทำให้
ทารกมีความผิดปกติของสมองและระบบประสาท
หูหนวก เป็นใบ้ที่เรียกว่า “เอ๋อ”
หญิงมีครรภ์ หากขาดสารไอโอดีน จะมีโอกาส
แท้งบุตร หรือเสียชีวิตระหว่างคลอด
สารอาหารรอง : ไอโอดีน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
เป็นแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของ
กระดูกและฟันของทารก และจะมีการเจริญ
เติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 4-8 เดือนแรก
สารอาหารรอง : แคลเซียม
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
9
10
11
12
•วิตามินบี 9 มีบทบาทในกระบวนการ
เผาผลาญอาหาร จำเป็นมากสำหรับหญิง
ตั้งครรภ์และทารก ช่วยป้องกันการผิดปกติ
ของประสาทบริเวณสมอง และกระดูกไขสันหลัง
•ภาวะขาดจะทำให้ดูกสันหลังโหว่ทำให้ทารก
พิการทางสมองและตายได้
สารอาหารรอง : โฟเลท
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ส่วนประกอบของนมมารดา
❖ น้ำนมแม่แบ่งเป็น 3 ระยะ
❖ หัวน้ำนม (Colostrums) 2-3วันแรก
❖ นมระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional milk)
วันที่ 4-14
❖ นมปกติหรือนมแท้ (Mature milk)
❖ นมส่วนหน้า (Foremilk)
❖ นมส่วนหลัง (Hind milk)
14 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
หัวน้ำนม (Colostrums)
❖ประกอบด้วยโปรตีน วิตามิน แร่ธาตุต่างๆ อิมมิวโนกลอบ-
บูลิน สารปกป้องทารกจากการติดเชื้อ และสารต้านอนุมูล
อิสระ
❖วันแรกหัวน้ำนมสร้างในปริมาณน้อย ประมาณ 2-20
มิลลิลิตรในแต่ละมื้อ
❖หากให้ลูกดูดนมบ่อยจะทำให้การเปลี่ยนจากหัวน้ำนม
เป็นนมปกติได้เร็ว
❖ช่วยในการเจริญเติบโตของ lactobacillus bifidus ในทาง
เดินอาหาร
❖ช่วยในการขับถ่ายขี้เทา ป้องกันการเกิดภาวะตัวเหลือง
15 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
นมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional milk)
❖ มีส่วนประกอบอยู่ระหว่างหัวน้ำนมกับนมปกติ
❖ องค์ประกอบของน้ำนมค่อยๆ เปลี่ยนไป
❖ อิมมิวโนกลอบบูลิน โปรตีน และวิตามินที่
ละลายในไขมันค่อยๆ ลดลง
❖แลคโตส ไขมัน พลังงานรวม และวิตามินที่
ละลายในน้ำนมเพิ่มขึ้น
16 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
13
14
15
16
นมปกติหรือนมแท้ (Mature milk)
❖ มีสีขาว ประกอบด้วยสารอาหารเหมือนหัวน้ำนม แต่จะ
มีไขมัน และแลคโตส และสารอาหารจะค่อยๆ เพิ่มขึ้น
❖ แบ่งเป็นน้ำนมส่วนหน้า (foremilk) และน้ำนมส่วน
หลัง (hind milk)
❖ น้ำนมที่ออกในระยะแรกเรียก นมส่วนหน้า
(foremilk) มีลักษณะใส ประกอบด้วยแลคโตส
และโปรตีนสูง
❖นมส่วนหลัง (hind milk) มีไขมันมากกว่านมส่วน
หน้าจึงมีลักษณะข้นกว่า
หน้า
17 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
โปรตีน : นมมารดา
❖เวย์ มีลักษณะใส ย่อยง่าย มี แอลฟ่าแลคตัลบูมิน แลคโต
เฟอรินเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นแหล่งขอ กรดอมิโน
จำเป็นโดยเฉพาะทริปโตแฟน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการนอนหลับ
❖เคซีนเมื่อเข้าสู่กระเพาะอาหารจะเปลี่ยนเป็นเคิร์ด นมจึงนุ่ม
ย่อยง่าย ผ่านกระเพาะเร็ว
❖ในหัวน้ำนมมี เวย์:เคซีน 90:10 ในหัวน้ำนม และลดลงเป็น
60:40 เมื่อเป็นนมปกติ
18
นมแม่มีโปรตีนประมาณ 0.9% ประกอบด้วย เวย์ เคซีน แลคโตเฟอริน
อิมมิวโนกลอบบูลิน ไลโซไซม์ และไกลโคโปรตีน
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
โปรตีน : นมมารดา
❖แลคโตเฟอริน เป็นโปรตีนที่จับกับเหล็ก จึงยับยั้งการ
เจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ต้องพึ่งพาเหล็ก ปกป้อง
ทารกจากการติดเชื้อ
❖อิมมิวโนกลอบบูลิน โดยเฉพาะ secretory IgA
มีหน้าที่ปกป้องทารกจากการติดเชื้อ ป้องกันแบคทีเรีย
และไวรัส แทรกเข้าสู่เยื่อบุผิว (mucosa) ของทารก
จะมีในหัวน้ำนม 2-3 วันแรกสูงมาก
❖ไลโซไซม์ เป็นส่วนประกอบของเวย์ ทำหน้าที่ฆ่า
แบคทีเรีย และช่วยทำให้แบคทีเรียชนิดดีในลำไส้
เจริญเติบโต
19 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
โปรตีน : นมมารดา
❖ Non-protein nitrogen (NPN) มีอยู่ในนมแม่
ประมาณ 18-30% แต่ในนมวัวมีเพียง 5%
ไนโตรเจนเหล่านี้ประกอบกันขึ้นเป็นฮอร์โมน
สารช่วยการเจริญเติบโต และสารเร่งการทำงาน
20 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
17
18
19
20
ไขมัน : นมมารดา
❖ เป็นองค์ประกอบที่มีมากที่สุดในนมแม่รองจากน้ำ
❖ เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ ให้พลังงานครึ่งหนึ่ง
ของพลังงานทั้งหมดที่ทารกต้องการ
❖ได้จาก 3 แหล่งคือ อาหารที่แม่รับประทาน ไขมันที่
สะสมระหว่างตั้งครรภ์ และกลูโคสในกระแสเลือด
21 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ไขมัน : นมมารดา
❖ ไขมันในนมแม่ประกอบด้วย กรดไขมันคาร์บอน
สายยาวที่ไม่อิ่มตัว (long chain polyunsaturated
fatty acids = lcpufas) ซึ่งมีความสำคัญกับ
พัฒนาการของสมองและเซลห่อหุ้มใยประสาท
❖ DHA (Docosahexaenoic acid) ที่พบในเนื้อสมอง
ชั้นนอก และที่จอประสาทตา มีผลต่อพัฒนาการของ
สายตาและระบบประสาท รวมทั้งพัฒนาการทาง
ภาษาและเชาว์ปัญญา พบในทารกที่กินนมแม่
มากกว่าทารกที่กินนมผสม
22 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
คาร์โบไฮเดรท : นมมารดา
❖ คาร์โบไฮเดรตที่สำคัญในนมแม่คือแลคโตส
มีประมาณ 6.8 กรัม/ดล.ในนมแม่ แต่ในนมวัวมี
เพียง 4.9 กรัม/ดล.
❖ แลคโตสช่วยในการดูดซึมแคลเซียม และช่วยใน
การพัฒนาระบบประสาทส่วนกลาง
23 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
วิตามิน : นมมารดา
❖ วิตามินในนมแม่ประกอบด้วย วิตามินเอ ดี อี เค
บีรวม บี 1 บี2 บี 6 บี12 ไนอะซิน วิตามินซี โฟลิค
ซึ่งมีความสำคัญต่อกระบวนการทำงานของ
ร่างกายในหลายด้าน
❖ มีชีวปริมาณออกฤทธิ์ (bioavailability) สูงกว่า
นมผสม จึงดูดซึมได้ดีกว่า
24 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
21
22
23
24
แร่ธาตุ : นมมารดา
❖ เกลือแร่ที่มีในน้ำนมแม่ได้แก่
โซเดียม โปแตสเซียม แคลเซียม
แมกนีเซียม คลอไรด์ ซิเตรต
ฟอสฟอรัส ซัลเฟต และอื่นๆ
25 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
เหล็ก : นมมารดา
❖ ทารกต้องการเหล็กวันละ 8-10 มก/วัน
❖ นมแม่มีเหล็ก 100 ไมโครกรัม/ดล. ทารกดูดซึม
เหล็กจากนมแม่ได้ 49% ขณะที่ดูดซึมจากนมวัวได้
เพียง 10%
❖ ทารกที่ได้รับนมแม่มีระดับ ferritin สูงจึงเป็น
ข้อบ่งชี้ได้ว่าได้รับเหล็กเพียงพอ
26 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ข้อห้ามในการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
❖ ทารกเป็นโรคทางเมตาบอลิค เช่น
Galactosemia, Phenylketonuria
❖ มารดาเป็นโรคติดเชื้อในระยะติดต่อ เช่น วัณโรค
โรคสุกใส HIV
❖ มารดาใช้สารเสพติดหรือยาบางชนิดที่ผ่าน
น้ำนม เช่น กัญชา โคเคน เฮโรอีน
Amphetamine ยาที่ออกฤทธิ์ทางจิตประสาท
ยาเคมีบำบัด สารกัมมันตภาพรังสี
27 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
การจัดอาหารเสริมทารก
28 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
25
26
27
28
ทำไมไม่ให้อาหารอื่นก่อน 6 เดือนแรก
พัฒนาการย่อยและดูดซึมอาหาร
การย่อยแลคโตส
น้ำย่อย saliva amylase เพียงร้อยละ 10 ของปริมาณที่มีในผู้ใหญ่
ตับอ่อนยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์มีการหลั่งน้ำย่อยไขมัน lipase น้อย
พัฒนาการการขับถ่ายของเสีย
ไตยังทำงานยังไม่สมบูรณ์มีอัตราการกรองของเสียต่ำ
และไตทารกแรกเกิดไม่สามารถทนต่อภาวะแร่ธาตุสูงในเลือดได้
พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อและระบบประสาท
ฝึกการเคี้ยว ดูดน้ำและอาหาร ชี้นิ้ว นั่งได้ หยิบของใส่ปากได้
29 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
พลังงานและสารอาหารจาก
นมแม่ ไม่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย
ทารก 6 เดือนขึ้นไป
เริ่มให้อาหารตามวัย
• สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของลิ้นใช้กวาดอาหารเคลื่อน
ไปรอบๆภายในปากและเคี้ยวอาหารได้
• มีพัฒนาการการหยิบสิ่งของใส่ปาก
• เริ่มมีความสนใจเมื่อเห็นผู้อื่นกินอาหาร
• ระบบการย่อยและดูดซึมอาหารพัฒนาดีขึ้น
• ระบบขับถ่ายของเสียพัฒนาดีขึ้น
• ระบบกล้ามเนื้อและระบบประสาทพัฒนาดีขึ้น
30 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
31
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
อาหารสำหรับเด็กวัย 6 เดือน
ข้าวบด 3 ช้อน
ไข่แดงครึ่งฟองสลับกับตับบด
ครึ่งช้อน หรือเนื้อปลาบด 2 ช้อน
ผักบดครึ่งช้อน
ผลไม้สุก 1- 2 ชิ้น
32
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
29
30
31
32
อาหารสำหรับเด็กวัย 7 เดือน
ข้าวบด 4 ช้อน
ไข่ 1ฟอง สลับกับเนื้อปลาบด
2 ช้อน หรือเนื้อหมู 2 ช้อน
ผักบด1ช้อนครึ่ง
ผลไม้สุก 2-3 ชิ้น
33
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
อาหารสำหรับเด็กวัย 8-9 เดือน
ข้าวบด 5 ช้อน
ไข่ 1ฟอง สลับกับเนื้อปลาบด
2 ช้อน หรือเนื้อหมู 2 ช้อน
ผักบด1ช้อนครึ่ง
ผลไม้สุก 3-4 ชิ้น
34
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
อาหารสำหรับเด็กวัย 10-12 เดือน
ข้าวบด 5 ช้อน
ไข่ 1ฟอง สลับกับเนื้อสัตว์ 2 ช้อน
ผักบด 2 ช้อน
ผลไม้สุก 3-4 ชิ้น
35
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
36
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
33
34
35
36
ข้อแนะนำสำหรับการให้อาหารทารก
37
อายุ
(เดือน)
อาหาร มื้อ/วัน ข้อคิดเห็น
0-6 นมแม่/นมผงสำหรับทารก 6-8 นมแม่ดีที่สุด
6-8
นมแม่/นมผงสำหรับทารก
ธัญพืช+ผัก (1-2 ชช.)
4-6
ไม่ให้ดูดอาหารจากขวด
ให้ทีละอย่าง
8-9
นมแม่/นมผงสำหรับทารก
ธัญพืช+เนื้อ+ผัก (2-3 ชต.)
ขนมปังกรอบ(1/2-1ส่วน)
3-5
2
ไม่ใส่น้ำตาล น้ำผึ้ง เกลือ
เริ่มให้เด็กดื่มนำ้จากแก้ว
8-12
นมแม่/นมผงสำหรับทารก
ธัญพืช+เนื้อ+ผัก (3-4 ชต.)
ขนมปังกรอบ(1/2-1ส่วน)
3-4
2-3
ให้เริ่มใช้นิ้วจับอาหาร
ส่งเสริมการนั่ง/นั่งกินอาหาร
ดื่มนมวัวจากแก้วเมื่อครบ 1 ปี
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
38
เพียงพอ สมวัย
ความปลอดภัย
เหมาะสมกับ
ความหิวและอิ่ม
39 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
Thank you
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
37
38
39
40
41
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 41

More Related Content

What's hot

รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนNickson Butsriwong
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 

What's hot (20)

รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 

Viewers also liked

Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionUtai Sukviwatsirikul
 
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการkkkkon
 
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปPijak Insawang
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการsupreechafkk
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointsupreechafkk
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 

Viewers also liked (10)

Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervision
 
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
 
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไปข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 

Similar to 2.1อาหารสำหรับวัยทารก

อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็กkasamaporn
 
อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็กkasamaporn
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉันphugun
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3phugun
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยchooyart
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 
สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2namperth
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2phugun
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1phugun
 
Khim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKhim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKM117
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 

Similar to 2.1อาหารสำหรับวัยทารก (20)

อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็ก
 
อาหารเด็ก
อาหารเด็กอาหารเด็ก
อาหารเด็ก
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Jirarat
JiraratJirarat
Jirarat
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉัน
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัยดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2สุขศึกษา Perth 2
สุขศึกษา Perth 2
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
 
Khim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blogKhim past-present-future fr blog
Khim past-present-future fr blog
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
Baby food
Baby foodBaby food
Baby food
 
Baby food for child
Baby food for childBaby food for child
Baby food for child
 
Baby food
Baby foodBaby food
Baby food
 

More from Nickson Butsriwong

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้Nickson Butsriwong
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยNickson Butsriwong
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59Nickson Butsriwong
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

More from Nickson Butsriwong (6)

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

2.1อาหารสำหรับวัยทารก

  • 1. อาหารที่เหมาะสำหรับ วัยทารก 1 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น อาหารสำหรับวัยทารก ❖ ความหมายของวัยทารก ❖ พัฒนาการในวัยทารก ❖ ความต้องการพลังงานและสารอาหาร ❖ การจัดอาหารเสริมสำหรับทารก 2 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่นฃ วัยทารกคือ ❖ วัยทารก จะมีช่วงเวลาตั้งแต่แรกเกิด -1 ปี ❖ วัยทารกเป็นวัยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ต้องอาศัยการช่วยเหลือจากบุคคลอื่น โดยเฉพาะแม่ ❖ มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการ เปลี่ยนแปลงทางร่างกายอย่างชัดเจน ที่สำคัญคือการพัฒนาโครงสร้างทาง กล้ามเนื้อ 3 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น พัฒนาการ   การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับตัวมนุษย์ทั้งในด้าน ร่างกาย  อารมณ์  สติปัญญาและสังคม  อย่างเป็น ลำดับขั้น  แตกต่างกันออกไปในแต่ละช่วงอายุ     เมื่อร่างกายมีการเจริญเติบโตตามสัดส่วนที่ควร จะเป็น  กระบวนการต่างๆ  โครงสร้างทางร่างกาย จะทำให้มีความสามารถที่จะกระทำได้  โดย สามารถแสดงออกระบบต่างๆของร่างกาย  โดย มีวุฒิภาวะเป็นตัวควบคุม  โดยไม่ต้องเร่ง  เมื่อ ร่างกายมีพัฒนาการถึงความสามารถทางด้าน ต่างๆ  ก็จะเป็นได้เอง     4 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 1 2 3 4
  • 2. พัฒนาการทารก ร่างกาย จิตใจอารมณ์ สติปัญหา สังคม การทรงตัว แสดงความรู้สึก การเรียนรู้ การคิด สร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น การเคลื่อนไหว ควบคุมการแสดงออกทาง อารมณ์อย่างเหมาะสม การรู้เหตุ รู้ผล ทักการปรับตัวในสังคม เหมาะกับกาละเทศะ การสัมผัส รับรู้ สามารถแก้ไขปัญหา ใช้ตาและมือประสานกันทำ เพื่อทำกิจกรรรมต่างๆ การปรับตัว การพัฒนาด้านภาษา 5 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การเจริญเติบโตของเด็กทารก ❖ น้ำหนักส่วนสูง ❖ น้ำหนักทารกจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 5เดือน จะมีน้ำ หนักเป็น 2เท่าของน้ำหนักแรกเกิด จนครบ 1ปี จะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 3 เท่าของน้ำหนักแรกเกิด ❖ ส่วนสูงจะสูงขึ้นเรื่อยๆจนครบ 1ปี จะมีส่วนสูง เพิ่มขึ้น 1.5 เท่าของความสูงแรกเกิด แรกเกิดรอบศีรษะยาวประมาณ 35 ซม. อายุครบ 1 ปี มีฟันประมาณ 12 ซี่ ส่วนสูงประมาณ 50 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 3,000 กรัม 6 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การเจริญเติบโตของเด็กทารก ❖ สมอง ❖ ร้อยละ 80 ของจำนวนเซลล์สมองของคนเรา จะถูกสร้างขึ้นในช่วง 3 เดือนสุดท้ายของ การตั้งครรภ์และเจริญเติบโตสูงสุดในช่วง 2 ปีแรก ❖ เด็กแรกเกิด สมองหนักประมาณ 1 ปอนด์ และโตเต็มที่ 3 ปอนด์ ที่อายุ 18-20 ปี จำนวนเซลล์สมองเด็กแรกเกิดมีประมาณ แสนล้านเซลล์ไม่มีการสร้างเพิ่ม 1 ปอนด์ เท่ากับ 0.4536 กิโลกรัม 7 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการพลังงานและสารอาหาร •เจริญเติบโตตามเกณฑ์ •ลดอุบัติการณ์ทุพโภชนาการ (malnutrition) •ลดการติดเชื้อ 8 อาหารตามวัยเริ่มตั้งแต่ 6 เดือน ควบคู่กับนม แม่อย่างต่อเนื่องจนกระทั่ง 2 ปี หรือมากกว่า ข้อกำหนดของ WHO พ.ศ. 2544 -2546 ทารกควรได้รับนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 5 6 7 8
  • 3. ปริมาณพลังงานและสารอาหาร ❖ ปริมาณพลังงานจากอาหารของเด็กอายุ 0-5 เดือน คือต้องได้รับจากนมแม่เพียงอย่างเดียว ❖ ปริมาณพลังงานจากอาหารของเด็กอายุ 6-12 เดือน ต้องได้รับจากนมแม่และอาหารอื่นๆวัน ละ 800 kcal 9 อายุ พลังงานเฉลี่ย โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรท 0-6 เดือน 108 kcal/kg 2.2 g/kg - - 6-12 เดือน 99 kcal/kg 1.6 g/kg 40% 45-65% Thai Recommended Dietary Allowance (RDA) งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น เป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีความจำเป็นสำหรับการพัฒนาสมอง สมรรถภาพและพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็ก การขาดธาตุเหล็ก มีผลเสีย คือในทารกและเด็ก ทำให้มีการ พัฒนาทางสังคมและจิตใจล่าช้า ขาดสมาธิในการเรียนรู้ ในทุกกลุ่มอายุลดภูมิต้านทานโรค ทำให้เป็นโรคติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร สารอาหารรอง : เหล็ก งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น มีความสำคัญในการพัฒนาการของสมองของ ทารก ถ้าแม่ขาดไอโอดีนขณะตั้งครรภ์ จะทำให้ ทารกมีความผิดปกติของสมองและระบบประสาท หูหนวก เป็นใบ้ที่เรียกว่า “เอ๋อ” หญิงมีครรภ์ หากขาดสารไอโอดีน จะมีโอกาส แท้งบุตร หรือเสียชีวิตระหว่างคลอด สารอาหารรอง : ไอโอดีน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น เป็นแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของ กระดูกและฟันของทารก และจะมีการเจริญ เติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 4-8 เดือนแรก สารอาหารรอง : แคลเซียม งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 9 10 11 12
  • 4. •วิตามินบี 9 มีบทบาทในกระบวนการ เผาผลาญอาหาร จำเป็นมากสำหรับหญิง ตั้งครรภ์และทารก ช่วยป้องกันการผิดปกติ ของประสาทบริเวณสมอง และกระดูกไขสันหลัง •ภาวะขาดจะทำให้ดูกสันหลังโหว่ทำให้ทารก พิการทางสมองและตายได้ สารอาหารรอง : โฟเลท งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ส่วนประกอบของนมมารดา ❖ น้ำนมแม่แบ่งเป็น 3 ระยะ ❖ หัวน้ำนม (Colostrums) 2-3วันแรก ❖ นมระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional milk) วันที่ 4-14 ❖ นมปกติหรือนมแท้ (Mature milk) ❖ นมส่วนหน้า (Foremilk) ❖ นมส่วนหลัง (Hind milk) 14 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น หัวน้ำนม (Colostrums) ❖ประกอบด้วยโปรตีน วิตามิน แร่ธาตุต่างๆ อิมมิวโนกลอบ- บูลิน สารปกป้องทารกจากการติดเชื้อ และสารต้านอนุมูล อิสระ ❖วันแรกหัวน้ำนมสร้างในปริมาณน้อย ประมาณ 2-20 มิลลิลิตรในแต่ละมื้อ ❖หากให้ลูกดูดนมบ่อยจะทำให้การเปลี่ยนจากหัวน้ำนม เป็นนมปกติได้เร็ว ❖ช่วยในการเจริญเติบโตของ lactobacillus bifidus ในทาง เดินอาหาร ❖ช่วยในการขับถ่ายขี้เทา ป้องกันการเกิดภาวะตัวเหลือง 15 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น นมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional milk) ❖ มีส่วนประกอบอยู่ระหว่างหัวน้ำนมกับนมปกติ ❖ องค์ประกอบของน้ำนมค่อยๆ เปลี่ยนไป ❖ อิมมิวโนกลอบบูลิน โปรตีน และวิตามินที่ ละลายในไขมันค่อยๆ ลดลง ❖แลคโตส ไขมัน พลังงานรวม และวิตามินที่ ละลายในน้ำนมเพิ่มขึ้น 16 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 13 14 15 16
  • 5. นมปกติหรือนมแท้ (Mature milk) ❖ มีสีขาว ประกอบด้วยสารอาหารเหมือนหัวน้ำนม แต่จะ มีไขมัน และแลคโตส และสารอาหารจะค่อยๆ เพิ่มขึ้น ❖ แบ่งเป็นน้ำนมส่วนหน้า (foremilk) และน้ำนมส่วน หลัง (hind milk) ❖ น้ำนมที่ออกในระยะแรกเรียก นมส่วนหน้า (foremilk) มีลักษณะใส ประกอบด้วยแลคโตส และโปรตีนสูง ❖นมส่วนหลัง (hind milk) มีไขมันมากกว่านมส่วน หน้าจึงมีลักษณะข้นกว่า หน้า 17 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น โปรตีน : นมมารดา ❖เวย์ มีลักษณะใส ย่อยง่าย มี แอลฟ่าแลคตัลบูมิน แลคโต เฟอรินเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นแหล่งขอ กรดอมิโน จำเป็นโดยเฉพาะทริปโตแฟน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการนอนหลับ ❖เคซีนเมื่อเข้าสู่กระเพาะอาหารจะเปลี่ยนเป็นเคิร์ด นมจึงนุ่ม ย่อยง่าย ผ่านกระเพาะเร็ว ❖ในหัวน้ำนมมี เวย์:เคซีน 90:10 ในหัวน้ำนม และลดลงเป็น 60:40 เมื่อเป็นนมปกติ 18 นมแม่มีโปรตีนประมาณ 0.9% ประกอบด้วย เวย์ เคซีน แลคโตเฟอริน อิมมิวโนกลอบบูลิน ไลโซไซม์ และไกลโคโปรตีน งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น โปรตีน : นมมารดา ❖แลคโตเฟอริน เป็นโปรตีนที่จับกับเหล็ก จึงยับยั้งการ เจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ต้องพึ่งพาเหล็ก ปกป้อง ทารกจากการติดเชื้อ ❖อิมมิวโนกลอบบูลิน โดยเฉพาะ secretory IgA มีหน้าที่ปกป้องทารกจากการติดเชื้อ ป้องกันแบคทีเรีย และไวรัส แทรกเข้าสู่เยื่อบุผิว (mucosa) ของทารก จะมีในหัวน้ำนม 2-3 วันแรกสูงมาก ❖ไลโซไซม์ เป็นส่วนประกอบของเวย์ ทำหน้าที่ฆ่า แบคทีเรีย และช่วยทำให้แบคทีเรียชนิดดีในลำไส้ เจริญเติบโต 19 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น โปรตีน : นมมารดา ❖ Non-protein nitrogen (NPN) มีอยู่ในนมแม่ ประมาณ 18-30% แต่ในนมวัวมีเพียง 5% ไนโตรเจนเหล่านี้ประกอบกันขึ้นเป็นฮอร์โมน สารช่วยการเจริญเติบโต และสารเร่งการทำงาน 20 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 17 18 19 20
  • 6. ไขมัน : นมมารดา ❖ เป็นองค์ประกอบที่มีมากที่สุดในนมแม่รองจากน้ำ ❖ เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ ให้พลังงานครึ่งหนึ่ง ของพลังงานทั้งหมดที่ทารกต้องการ ❖ได้จาก 3 แหล่งคือ อาหารที่แม่รับประทาน ไขมันที่ สะสมระหว่างตั้งครรภ์ และกลูโคสในกระแสเลือด 21 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ไขมัน : นมมารดา ❖ ไขมันในนมแม่ประกอบด้วย กรดไขมันคาร์บอน สายยาวที่ไม่อิ่มตัว (long chain polyunsaturated fatty acids = lcpufas) ซึ่งมีความสำคัญกับ พัฒนาการของสมองและเซลห่อหุ้มใยประสาท ❖ DHA (Docosahexaenoic acid) ที่พบในเนื้อสมอง ชั้นนอก และที่จอประสาทตา มีผลต่อพัฒนาการของ สายตาและระบบประสาท รวมทั้งพัฒนาการทาง ภาษาและเชาว์ปัญญา พบในทารกที่กินนมแม่ มากกว่าทารกที่กินนมผสม 22 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น คาร์โบไฮเดรท : นมมารดา ❖ คาร์โบไฮเดรตที่สำคัญในนมแม่คือแลคโตส มีประมาณ 6.8 กรัม/ดล.ในนมแม่ แต่ในนมวัวมี เพียง 4.9 กรัม/ดล. ❖ แลคโตสช่วยในการดูดซึมแคลเซียม และช่วยใน การพัฒนาระบบประสาทส่วนกลาง 23 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น วิตามิน : นมมารดา ❖ วิตามินในนมแม่ประกอบด้วย วิตามินเอ ดี อี เค บีรวม บี 1 บี2 บี 6 บี12 ไนอะซิน วิตามินซี โฟลิค ซึ่งมีความสำคัญต่อกระบวนการทำงานของ ร่างกายในหลายด้าน ❖ มีชีวปริมาณออกฤทธิ์ (bioavailability) สูงกว่า นมผสม จึงดูดซึมได้ดีกว่า 24 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 21 22 23 24
  • 7. แร่ธาตุ : นมมารดา ❖ เกลือแร่ที่มีในน้ำนมแม่ได้แก่ โซเดียม โปแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม คลอไรด์ ซิเตรต ฟอสฟอรัส ซัลเฟต และอื่นๆ 25 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น เหล็ก : นมมารดา ❖ ทารกต้องการเหล็กวันละ 8-10 มก/วัน ❖ นมแม่มีเหล็ก 100 ไมโครกรัม/ดล. ทารกดูดซึม เหล็กจากนมแม่ได้ 49% ขณะที่ดูดซึมจากนมวัวได้ เพียง 10% ❖ ทารกที่ได้รับนมแม่มีระดับ ferritin สูงจึงเป็น ข้อบ่งชี้ได้ว่าได้รับเหล็กเพียงพอ 26 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ข้อห้ามในการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา ❖ ทารกเป็นโรคทางเมตาบอลิค เช่น Galactosemia, Phenylketonuria ❖ มารดาเป็นโรคติดเชื้อในระยะติดต่อ เช่น วัณโรค โรคสุกใส HIV ❖ มารดาใช้สารเสพติดหรือยาบางชนิดที่ผ่าน น้ำนม เช่น กัญชา โคเคน เฮโรอีน Amphetamine ยาที่ออกฤทธิ์ทางจิตประสาท ยาเคมีบำบัด สารกัมมันตภาพรังสี 27 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น การจัดอาหารเสริมทารก 28 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 25 26 27 28
  • 8. ทำไมไม่ให้อาหารอื่นก่อน 6 เดือนแรก พัฒนาการย่อยและดูดซึมอาหาร การย่อยแลคโตส น้ำย่อย saliva amylase เพียงร้อยละ 10 ของปริมาณที่มีในผู้ใหญ่ ตับอ่อนยังทำหน้าที่ไม่สมบูรณ์มีการหลั่งน้ำย่อยไขมัน lipase น้อย พัฒนาการการขับถ่ายของเสีย ไตยังทำงานยังไม่สมบูรณ์มีอัตราการกรองของเสียต่ำ และไตทารกแรกเกิดไม่สามารถทนต่อภาวะแร่ธาตุสูงในเลือดได้ พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อและระบบประสาท ฝึกการเคี้ยว ดูดน้ำและอาหาร ชี้นิ้ว นั่งได้ หยิบของใส่ปากได้ 29 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น พลังงานและสารอาหารจาก นมแม่ ไม่เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย ทารก 6 เดือนขึ้นไป เริ่มให้อาหารตามวัย • สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของลิ้นใช้กวาดอาหารเคลื่อน ไปรอบๆภายในปากและเคี้ยวอาหารได้ • มีพัฒนาการการหยิบสิ่งของใส่ปาก • เริ่มมีความสนใจเมื่อเห็นผู้อื่นกินอาหาร • ระบบการย่อยและดูดซึมอาหารพัฒนาดีขึ้น • ระบบขับถ่ายของเสียพัฒนาดีขึ้น • ระบบกล้ามเนื้อและระบบประสาทพัฒนาดีขึ้น 30 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 31 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น อาหารสำหรับเด็กวัย 6 เดือน ข้าวบด 3 ช้อน ไข่แดงครึ่งฟองสลับกับตับบด ครึ่งช้อน หรือเนื้อปลาบด 2 ช้อน ผักบดครึ่งช้อน ผลไม้สุก 1- 2 ชิ้น 32 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 29 30 31 32
  • 9. อาหารสำหรับเด็กวัย 7 เดือน ข้าวบด 4 ช้อน ไข่ 1ฟอง สลับกับเนื้อปลาบด 2 ช้อน หรือเนื้อหมู 2 ช้อน ผักบด1ช้อนครึ่ง ผลไม้สุก 2-3 ชิ้น 33 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น อาหารสำหรับเด็กวัย 8-9 เดือน ข้าวบด 5 ช้อน ไข่ 1ฟอง สลับกับเนื้อปลาบด 2 ช้อน หรือเนื้อหมู 2 ช้อน ผักบด1ช้อนครึ่ง ผลไม้สุก 3-4 ชิ้น 34 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น อาหารสำหรับเด็กวัย 10-12 เดือน ข้าวบด 5 ช้อน ไข่ 1ฟอง สลับกับเนื้อสัตว์ 2 ช้อน ผักบด 2 ช้อน ผลไม้สุก 3-4 ชิ้น 35 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 36 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 33 34 35 36
  • 10. ข้อแนะนำสำหรับการให้อาหารทารก 37 อายุ (เดือน) อาหาร มื้อ/วัน ข้อคิดเห็น 0-6 นมแม่/นมผงสำหรับทารก 6-8 นมแม่ดีที่สุด 6-8 นมแม่/นมผงสำหรับทารก ธัญพืช+ผัก (1-2 ชช.) 4-6 ไม่ให้ดูดอาหารจากขวด ให้ทีละอย่าง 8-9 นมแม่/นมผงสำหรับทารก ธัญพืช+เนื้อ+ผัก (2-3 ชต.) ขนมปังกรอบ(1/2-1ส่วน) 3-5 2 ไม่ใส่น้ำตาล น้ำผึ้ง เกลือ เริ่มให้เด็กดื่มนำ้จากแก้ว 8-12 นมแม่/นมผงสำหรับทารก ธัญพืช+เนื้อ+ผัก (3-4 ชต.) ขนมปังกรอบ(1/2-1ส่วน) 3-4 2-3 ให้เริ่มใช้นิ้วจับอาหาร ส่งเสริมการนั่ง/นั่งกินอาหาร ดื่มนมวัวจากแก้วเมื่อครบ 1 ปี งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 38 เพียงพอ สมวัย ความปลอดภัย เหมาะสมกับ ความหิวและอิ่ม 39 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น Thank you งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 37 38 39 40