SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
1
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
วัยรุ่น
.
วัยรุ่นคือช่วงอายุ 13-19 ปี วัยนี้จะมีการ
เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์มาก การ
เจริญเติบโตของร่างกายและระบบสืบพันธ์เป็นไป
อย่างรวดเร็ว เป็นช่วงที่ดีที่สุดในการเพิ่มศักยภาพใน
การเจริญเติบโต จึงมีความต้องการพลังงานและสาร
อาหารสูงที่สุดเด็กหญิงจะเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าชาย
เพศหญิงเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุ 10-12 ปี
เพศชายเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุ 12-14 ปี
2
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
1. ปัญหาทางโภชนาการของวัยรุ่น
2. ความต้องการสารอาหาร
3. การจัดอาหารสำหรับวัยรุ่น
4. หลักการรับประทานอาหารสำหรับวัยรุ่น
5. แนวทางการแนะนำวัยรุ่น
3
4
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
1. ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
สถานการณ์การบริโภคของวัยรุ่นใน 10 ปีที่ผ่านมาวัยรุ่นมีภาวะโรค
อ้วนร้อยละ 12.6 ภาวะเลือดจางร้อยละ 24.35 ซึ่งพบมากในภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ
ปัญหาโภชนาการที่พบในวัยรุ่น
2. พฤติกรรมการลดน้ำหนักและการอดอาหาร
1. พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ
3. พฤติกรรมการใช้สารเสพติด
4. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
5
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
1. พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ
1.1 ปัจจัยส่วนบุคคล
ความพึงพอใจ
การรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่
การบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลผสม
มีความเชื่อเรื่องเครื่องดื่มหรือยาบำรุงสุขภาพ
มีพฤติกรรมการบริโภคแบบควบคุมตนเองไม่ได้
การบริโภคอาหารให้พลังงานสูงแต่คุณค่าสารอาหารต่ำ
6
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
เพื่อน
โรงเรียน
ครอบครัว
สังคม
สื่อโฆษณาชวนเชื่อ
1.2 ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
7
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
2. พฤติกรรมการลดน้ำหนักและการอดอาหาร
- ค่านิยมต่อการมีหุ่นผอมเพรียวเหมือนดารา
- การขยายตัวของสถาบันความงาม
- แฟชั่นเสื้อผ้า
- พฤติกรรมตามอย่างเพื่อน
การลดน้ำหนักที่ไม่ถูกต้องและการอดอาหาร
ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของวัยรุ่นทั้งทาง
ตรงและทางอ้อม ปัจจัยที่ ก่อให้เกิดพฤติกรรม
ได้แก่
8
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
3. พฤติกรรมการใช้สารเสพติด
วัยรุ่นชายไทย 25.5 % มีพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอร์และ14.5 %
ในวัยรุ่นหญิง การใช้สารเสพติดและการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ส่งผลต่อ
สุขภาพร่างกายเช่น!
การอดอาหารทำให้ขาดสารอาหาร
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
อุบัติเหตุจากยานพาหนะ
การทะเลาะวิวาท
การเที่ยวกลางคืน
การใช้สิ่งเสพติดและของมึนเมา
9
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
ในปี 2543 มีอัตราการตั้ง
ครรภ์ในวัยรุ่นหญิงไทย ร้อยละ
16.5 ซึ่งสูงเป็นอันดับสองของกลุ่ม
ประเทศอาเซียน โภชนาการของ
มารดาวัยรุ่น ส่งผลต่อการเจริญ
เติบโตของทารกในครรภ์
4. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
10
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
มารดาที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีผลให้ทารกน้ำหนัก
น้อย เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
มารดาที่มีภาวะโภชนาการเกินทำให้ทารกน้ำหนักตัว
มากกว่าเกณฑ์ มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และ
การคลอด เช่นการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เป็นต้น
11
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
2.ความต้องการพลังงานสารอาหารในวัยรุ่น
พลังงาน โปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ
ความต้องการสารอาหารในวัยรุ่น แตกต่างกันออกไปตามเพศ
และกิจกรรม โดยเฉพาะเพศหญิงเมื่อเข้าสู่ช่วงมีประจำเดือน จะมี
ความต้องการธาตุเหล็กมากกว่าเพศชายเป็นสองเท่า
12
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการพลังงานและโปรตีนในวัยรุ่น
เพศและอายุ น้ำหนัก
(Kg)
ส่วนสูง
(Cm)
พลังงาน
(Kcal)
โปรตีน(g)
/นน. 1 Kg
ชาย
13-15 ปี 49 163 2,100 1.2
16-19 ปี 57 169 2,400 1.1
หญิง
13-15 ปี 46 155 1,800 1.2
16-19 ปี 48 157 1,850 1.0
ที่มา : ปริมาณสารอาหารสำหรับคนไทย ( Dietary Reference Intake : RDI ) พ.ศ. 2546
13
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการวิตามินในวัยรุ่น
เพศ และอายุ วิตามิน เอ
(มคก.)
วิตามินบี
(มก.)
วิตามินซี
(มก.)
วิตามินอี
(มก.)
ชาย
13-15 ปี 600 1.2 75 15
16-19 ปี 700 1.2 90 15
หญิง
13-15 ปี 600 1 65 15
16-19 ปี 600 1 75 15
ที่มา : ปริมาณสารอาหารสำหรับคนไทย ( Dietary Reference Intake : RDI ) พ.ศ. 2546
14
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการแร่ธาตุและสารอาหารในวัยรุ่น
เพศ และอายุ แคลเซียม
(มก.)
ฟอสฟอรัส
(มก.)
เหล็ก
(มก.)
โฟเลต
(มคก.)
ชาย
13-15 ปี 1,000 1,000 14.0 400
16-19 ปี 1,000 1,000 16.6 400
หญิง
13-15 ปี 1,000 1,000 28.2 400
16-19 ปี 1,000 1,000 26.4 400
ที่มา : ปริมาณสารอาหารสำหรับคนไทย ( Dietary Reference Intake : RDI ) พ.ศ. 2546
15
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
ความต้องการน้ำในวัยรุ่น
วัยรุ่นก่อนเข้าสู่วัยเจริญพันธ์มีกลไกลการระบาย
ความร้อนทางเหงื่อและปริมาณเลือดส่งออกจาก
หัวใจต่อนาทีน้อยกว่าผู้ใหญ่ ถ้าวัยรุ่นได้รับน้ำไม่
เพียงพออาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ จึงควรดื่มน้ำ
อย่างน้อยวันละ 7-8 แก้ว และดื่มในระหว่างและ
หลังออกกำลังกาย เพื่อชดเชยน้ำที่สูญเสียไป
16
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
3. การคำนวณพลังงานที่วัยรุ่นควรได้รับ
1.การประเมินความต้องการและสารอาหาร
วัยรุ่นชายและหญิงมีความต้องการสารอาหารที่แตกต่างกันเพื่อรองรับ
การเปลี่ยนแปลงต่างๆของร่างกาย ในวัยรุ่นหญิงจะมีการสะสมไขมัน
มากกว่าเพศชายและวัยรุ่นชายจะมีการเพิ่มของมวลกล้ามเนื้อมากกว่าเพศ
หญิง
วิธีที่ 1 การคำนวณพลังงานในเด็กหญิงอายุ 11-15 ปี
[ 1,000 แคลอรี่ สำหรับ 1 ปีแรก + (100 แคลอรี่ x อายุ-10 ปี) ] +
(100 แคลอรี่ x อายุหลัง 10 ปี )
17
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
วิธีที่ 2 การคำนวณพลังงานในเด็กชายอายุ 11-15 ปี
[ 1,000 แคลอรี่ สำหรับ 1 ปีแรก + (100 แคลอรี่ x อายุ-10 ปี) ] +
( 200 แคลอรี่ x อายุหลัง 10 ปี )
ตัวอย่าง วัยรุ่นหญิงอายุ 14 ปี พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
= [1,000+(100x10)+100x4] = 2,400 Kcal.
หมายเหตุ ในเด็กชายอายุ > 15 ปี
Very active ควรได้รับ 50 Kcal/นน. ตัว 1 Kg
Normal active ควรได้รับ 40 Kcal/นน. ตัว 1 Kg
Sedentary ควรได้รับ 30-35 Kcal/นน. ตัว 1 Kg
3. การคำนวณพลังงานที่วัยรุ่นควรได้รับ
18
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
4. หลักการรับประทานอาหารสำหรับวัยรุ่น
1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
2. ควรรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ครบ 3 มื้อ
3. หลีกเลี่ยงอาหารฟาร์ดฟูด อาหารที่มีไขมันสูง
4. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มและอาหารที่มีน้ำตาล เกลือสูง
5. เลือกโปรตีนจากปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมันและถั่วเมล็ดแห้ง
6. วัยรุ่นหญิงที่มีประจำเดือนควรเพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
7. ควรดื่มนมเป็นประจำ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
8. หมั่นติดตามน้ำหนักตัวและส่วนสูงอยู่เสมอ
19
งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น
5. การให้คำแนะนำวัยรุ่น
1. สร้างความเข้าใจถึงผลกระทบต่อร่างกายจากการบริโภคอาหารไม่
ถูกสุขลักษณะ
2. สร้างความตระหนักคุณค่าแห่งตน เพื่อลดอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม
สื่อต่างๆ
3. ให้ความรู้เรื่องการควบคุมอาหารและลดน้ำหนักอย่างถูกต้อง
4. สร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้ค้นคว้าข้อมูลอาหาร
20
Thank You

More Related Content

What's hot

ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 

What's hot (20)

ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 

Viewers also liked

สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีFearn Chi
 
สรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัชสรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัชNop Pirom
 
สุขศึกษา พืชสมุนไพร
สุขศึกษา พืชสมุนไพรสุขศึกษา พืชสมุนไพร
สุขศึกษา พืชสมุนไพรsrinun123456789
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนNickson Butsriwong
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารกNickson Butsriwong
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59Nickson Butsriwong
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 Utai Sukviwatsirikul
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยNickson Butsriwong
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น Utai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 

Viewers also liked (20)

สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สี
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัชสรรพคุณเภสัช
สรรพคุณเภสัช
 
สุขศึกษา พืชสมุนไพร
สุขศึกษา พืชสมุนไพรสุขศึกษา พืชสมุนไพร
สุขศึกษา พืชสมุนไพร
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 

Similar to 2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final projectssusera76f74
 
Aging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapyAging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapyUtai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
608 presentation final projact 3 26
608 presentation final projact 3 26608 presentation final projact 3 26
608 presentation final projact 3 26patcharapornkhorong
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศงานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศDusadee Charoensuk
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfรูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to 2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59 (20)

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final project
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Aging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapyAging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapy
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
608 presentation final projact 3 26
608 presentation final projact 3 26608 presentation final projact 3 26
608 presentation final projact 3 26
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
Duo project computer
Duo project computerDuo project computer
Duo project computer
 
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศงานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
งานวิจัยเครือข่ายต่างประเทศ
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfรูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59

  • 1. งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น โภชนาการสำหรับวัยรุ่น 1 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น วัยรุ่น . วัยรุ่นคือช่วงอายุ 13-19 ปี วัยนี้จะมีการ เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์มาก การ เจริญเติบโตของร่างกายและระบบสืบพันธ์เป็นไป อย่างรวดเร็ว เป็นช่วงที่ดีที่สุดในการเพิ่มศักยภาพใน การเจริญเติบโต จึงมีความต้องการพลังงานและสาร อาหารสูงที่สุดเด็กหญิงจะเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าชาย เพศหญิงเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุ 10-12 ปี เพศชายเข้าสู่วัยรุ่นเมื่ออายุ 12-14 ปี 2 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น โภชนาการสำหรับวัยรุ่น 1. ปัญหาทางโภชนาการของวัยรุ่น 2. ความต้องการสารอาหาร 3. การจัดอาหารสำหรับวัยรุ่น 4. หลักการรับประทานอาหารสำหรับวัยรุ่น 5. แนวทางการแนะนำวัยรุ่น 3
  • 2. 4 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 1. ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น สถานการณ์การบริโภคของวัยรุ่นใน 10 ปีที่ผ่านมาวัยรุ่นมีภาวะโรค อ้วนร้อยละ 12.6 ภาวะเลือดจางร้อยละ 24.35 ซึ่งพบมากในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ปัญหาโภชนาการที่พบในวัยรุ่น 2. พฤติกรรมการลดน้ำหนักและการอดอาหาร 1. พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ 3. พฤติกรรมการใช้สารเสพติด 4. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 5 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น 1. พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ 1.1 ปัจจัยส่วนบุคคล ความพึงพอใจ การรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลผสม มีความเชื่อเรื่องเครื่องดื่มหรือยาบำรุงสุขภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคแบบควบคุมตนเองไม่ได้ การบริโภคอาหารให้พลังงานสูงแต่คุณค่าสารอาหารต่ำ 6 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น เพื่อน โรงเรียน ครอบครัว สังคม สื่อโฆษณาชวนเชื่อ 1.2 ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
  • 3. 7 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น 2. พฤติกรรมการลดน้ำหนักและการอดอาหาร - ค่านิยมต่อการมีหุ่นผอมเพรียวเหมือนดารา - การขยายตัวของสถาบันความงาม - แฟชั่นเสื้อผ้า - พฤติกรรมตามอย่างเพื่อน การลดน้ำหนักที่ไม่ถูกต้องและการอดอาหาร ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของวัยรุ่นทั้งทาง ตรงและทางอ้อม ปัจจัยที่ ก่อให้เกิดพฤติกรรม ได้แก่ 8 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น 3. พฤติกรรมการใช้สารเสพติด วัยรุ่นชายไทย 25.5 % มีพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอร์และ14.5 % ในวัยรุ่นหญิง การใช้สารเสพติดและการมีพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ส่งผลต่อ สุขภาพร่างกายเช่น! การอดอาหารทำให้ขาดสารอาหาร การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อุบัติเหตุจากยานพาหนะ การทะเลาะวิวาท การเที่ยวกลางคืน การใช้สิ่งเสพติดและของมึนเมา 9 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น ในปี 2543 มีอัตราการตั้ง ครรภ์ในวัยรุ่นหญิงไทย ร้อยละ 16.5 ซึ่งสูงเป็นอันดับสองของกลุ่ม ประเทศอาเซียน โภชนาการของ มารดาวัยรุ่น ส่งผลต่อการเจริญ เติบโตของทารกในครรภ์ 4. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
  • 4. 10 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ปัญหาโภชนาการของวัยรุ่น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มารดาที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีผลให้ทารกน้ำหนัก น้อย เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด มารดาที่มีภาวะโภชนาการเกินทำให้ทารกน้ำหนักตัว มากกว่าเกณฑ์ มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และ การคลอด เช่นการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เป็นต้น 11 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 2.ความต้องการพลังงานสารอาหารในวัยรุ่น พลังงาน โปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ ความต้องการสารอาหารในวัยรุ่น แตกต่างกันออกไปตามเพศ และกิจกรรม โดยเฉพาะเพศหญิงเมื่อเข้าสู่ช่วงมีประจำเดือน จะมี ความต้องการธาตุเหล็กมากกว่าเพศชายเป็นสองเท่า 12 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการพลังงานและโปรตีนในวัยรุ่น เพศและอายุ น้ำหนัก (Kg) ส่วนสูง (Cm) พลังงาน (Kcal) โปรตีน(g) /นน. 1 Kg ชาย 13-15 ปี 49 163 2,100 1.2 16-19 ปี 57 169 2,400 1.1 หญิง 13-15 ปี 46 155 1,800 1.2 16-19 ปี 48 157 1,850 1.0 ที่มา : ปริมาณสารอาหารสำหรับคนไทย ( Dietary Reference Intake : RDI ) พ.ศ. 2546
  • 5. 13 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการวิตามินในวัยรุ่น เพศ และอายุ วิตามิน เอ (มคก.) วิตามินบี (มก.) วิตามินซี (มก.) วิตามินอี (มก.) ชาย 13-15 ปี 600 1.2 75 15 16-19 ปี 700 1.2 90 15 หญิง 13-15 ปี 600 1 65 15 16-19 ปี 600 1 75 15 ที่มา : ปริมาณสารอาหารสำหรับคนไทย ( Dietary Reference Intake : RDI ) พ.ศ. 2546 14 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการแร่ธาตุและสารอาหารในวัยรุ่น เพศ และอายุ แคลเซียม (มก.) ฟอสฟอรัส (มก.) เหล็ก (มก.) โฟเลต (มคก.) ชาย 13-15 ปี 1,000 1,000 14.0 400 16-19 ปี 1,000 1,000 16.6 400 หญิง 13-15 ปี 1,000 1,000 28.2 400 16-19 ปี 1,000 1,000 26.4 400 ที่มา : ปริมาณสารอาหารสำหรับคนไทย ( Dietary Reference Intake : RDI ) พ.ศ. 2546 15 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น ความต้องการน้ำในวัยรุ่น วัยรุ่นก่อนเข้าสู่วัยเจริญพันธ์มีกลไกลการระบาย ความร้อนทางเหงื่อและปริมาณเลือดส่งออกจาก หัวใจต่อนาทีน้อยกว่าผู้ใหญ่ ถ้าวัยรุ่นได้รับน้ำไม่ เพียงพออาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ จึงควรดื่มน้ำ อย่างน้อยวันละ 7-8 แก้ว และดื่มในระหว่างและ หลังออกกำลังกาย เพื่อชดเชยน้ำที่สูญเสียไป
  • 6. 16 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 3. การคำนวณพลังงานที่วัยรุ่นควรได้รับ 1.การประเมินความต้องการและสารอาหาร วัยรุ่นชายและหญิงมีความต้องการสารอาหารที่แตกต่างกันเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงต่างๆของร่างกาย ในวัยรุ่นหญิงจะมีการสะสมไขมัน มากกว่าเพศชายและวัยรุ่นชายจะมีการเพิ่มของมวลกล้ามเนื้อมากกว่าเพศ หญิง วิธีที่ 1 การคำนวณพลังงานในเด็กหญิงอายุ 11-15 ปี [ 1,000 แคลอรี่ สำหรับ 1 ปีแรก + (100 แคลอรี่ x อายุ-10 ปี) ] + (100 แคลอรี่ x อายุหลัง 10 ปี ) 17 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น วิธีที่ 2 การคำนวณพลังงานในเด็กชายอายุ 11-15 ปี [ 1,000 แคลอรี่ สำหรับ 1 ปีแรก + (100 แคลอรี่ x อายุ-10 ปี) ] + ( 200 แคลอรี่ x อายุหลัง 10 ปี ) ตัวอย่าง วัยรุ่นหญิงอายุ 14 ปี พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน = [1,000+(100x10)+100x4] = 2,400 Kcal. หมายเหตุ ในเด็กชายอายุ > 15 ปี Very active ควรได้รับ 50 Kcal/นน. ตัว 1 Kg Normal active ควรได้รับ 40 Kcal/นน. ตัว 1 Kg Sedentary ควรได้รับ 30-35 Kcal/นน. ตัว 1 Kg 3. การคำนวณพลังงานที่วัยรุ่นควรได้รับ 18 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 4. หลักการรับประทานอาหารสำหรับวัยรุ่น 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ 2. ควรรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ครบ 3 มื้อ 3. หลีกเลี่ยงอาหารฟาร์ดฟูด อาหารที่มีไขมันสูง 4. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มและอาหารที่มีน้ำตาล เกลือสูง 5. เลือกโปรตีนจากปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมันและถั่วเมล็ดแห้ง 6. วัยรุ่นหญิงที่มีประจำเดือนควรเพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง 7. ควรดื่มนมเป็นประจำ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 8. หมั่นติดตามน้ำหนักตัวและส่วนสูงอยู่เสมอ
  • 7. 19 งานพัฒนาคุณภาพและวิจัย กลุ่มงานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลขอนแก่น 5. การให้คำแนะนำวัยรุ่น 1. สร้างความเข้าใจถึงผลกระทบต่อร่างกายจากการบริโภคอาหารไม่ ถูกสุขลักษณะ 2. สร้างความตระหนักคุณค่าแห่งตน เพื่อลดอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม สื่อต่างๆ 3. ให้ความรู้เรื่องการควบคุมอาหารและลดน้ำหนักอย่างถูกต้อง 4. สร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้ค้นคว้าข้อมูลอาหาร 20 Thank You