SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
พื้นฐานการวิเคราะห์ ตำรับยา
¹Ô¤Êѹµ ºØµÃÈÃÕǧ¤
1
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
• โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญ
• อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗๖(๕)(๗)(๘)และ(๙) แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่ม
เติมโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้
กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำ
ของคณะกรรมการยา จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
• ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน
๒๕๔๒
• ข้อ ๒ ให้ยาแผนโบราณตามตำรับยาที่มีตัวยาสำคัญตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัวดังต่อไปนี้เป็นยาสามัญ
ประจำบ้าน
2
ส่วนประกอบของตำรับยาแผนไทย
1. ตัวยาสำคัญหรือตัวยาตรง คือตัวยาที่มุ่งแก้โรคหรืออาการหลัก
2. ตัวยาช่วยหรือตัวยารอง คือตัวยาที่ช่วยทำให้ตัวยาสำคัญออกฤทธิ์ดียิ่งขึ้น หรือช่วยรักษา
อาการโรคร่วม
3. ตัวยาประกอบหรือตัวยาเสริมหรือตัวยาคุม คือตัวยาช่วยคุมความแรงของตัวยาสำคัญและ
ช่วยให้ยาออกฤทธิ์ดียิ่งขึ้น หรือตัวยาป้องกันโรคแทรกซ้อน หรือยาบำรุง หรือช่วยเสริมให้ยาหลัก
มีสรรพคุณสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
4. ตัวยาแต่งรส แต่งกลิ่น แต่งสี
หมายเหตุ ยาแต่ละตำรับไม่จำเป็นจะต้องมีครบทั้ง 4 ชนิด3
1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาตรง
• กระเทียม(หัว)
• กระวาน(ผล)
• กะทือ(เหง้า)
• กะเพราแดง(ใบ)
• กานพลู(ดอก)
• กุ่มน้ำ(เปลือกต้น)
• กุ่มบก(เปลือกต้น)
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• ข่า(เหง้า)
• ขิง(เหง้า)
• จันทน์เทศ(รกหรือเมล็ด)
• เจตพังคี(ราก)
• ช้าพลู(ราก)
4
• ดีปลี(ผล)
• ตะไคร้(ต้นหรือเหง้า)
• เบญจกูล
• ผักแพวแดง(ต้น)
• พริกไทย(เมล็ด)
• มหาหิงคุ์(ยางหรือ
gumoleoresin)
• เร่ว(เมล็ดหรือผล)
• สมุลแว้ง(เปลือกต้น)
• สะค้าน(เถา)
• หัสคุณเทศ(ต้น)
• แห้วหมู(หัว)
• อบเชย(เปลือกต้น)
1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาตรง
5
• กระพังโหม(ต้น)
• กะเพราขาว(ใบ)
• การบูร
• กำจัด(เปลือกผล)
• ข่าต้น(เนื้อไม้)
• ข่าลิง(เหง้า)
• จันทน์แปดกลีบ(ผล)
• เทพทาโร(เปลือกต้นหรือเนื้อไม้)
• เทียนขาว
• เทียนข้าวเปลือก
• เทียนดำ
• เทียนแดง
• เทียนตาตั๊กแตน
• เทียนเยาวพาณี
• เทียนสัตตบุษย์
• เปราะป่า(หัว)
• เปราะหอม(หัว)
• เปล้าน้อย(ใบ)
1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาช่วย
6
• เปล้าใหญ่(ใบ)
• ผักชีลา(ผล)
• ผักชีล้อม (ผล)
• แฝกหอม(ราก)
• พริกหอม(ผล)
• พริกหาง(ผล)
• มะกรูด(ผิวผลหรือใบ)
• มะนาว(ผิวผลหรือใบ)
• มะรุม(เปลือกต้น)
• ลำพันขาว(เหง้า)
• ลำพันแดง(เหง้า)
• ลำพันหางหมู(เหง้า)
• สวาด(ใบ)
• สะค้าน(ผล)
• สะระแหน่(ใบ)
• หอม(หัว)
• หอมแดง(หัว)
1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาตรง
7
• โกฐน้ำเต้า(เหง้า)
• คูน(เนื้อในฝักแก่)
• ชุมเห็ดเทศ(ใบหรือดอก)
• ดีเกลือ
• ตองแตก(ราก)
• มะกา(ใบ)
• มะขามแขก(ใบหรือฝัก)
• มะขามเปียก(เนื้อในฝัก)
• ยาดำ
• สมอดีงู(ผล)
• สมอเทศ(เนื้อผล)
• สมอไทย(เนื้อผล)
2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาตรง
8
• กรรณิการ์(ราก)
• กระเทียม(หัว)
• กระพังโหม(ต้น)
• กระวาน(ผล)
• กะทือ(เหง้า)
• กะเพราขาว(ใบ)
• กะเพราแดง(ใบ)
• กานพลู(ดอก)
• กำจัด(เปลือกผล)
• กุ่มน้ำ(เปลือกต้น)
• กุ่มบก(เปลือกต้น)
• เกลือสมุทร
• เกลือสินเธาว์
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• ข่า(เหง้า)
• ข่าต้น(เนื้อไม้)
• ข่าลิง(เหง้า)
• ขิง(เหง้า)
• ขี้เหล็ก(ดอกหรือ
แก่น)
• จันทน์เทศ(รกหรือ
เมล็ด)
• จันทน์แปดกลีบ(ผล)
• เจตพังคี(ราก)
2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาช่วย
9
• ช้าพลู(ราก)
• ดีปลี(ผล)
• ตะไคร้(ต้นหรือ
เหง้า)
• เทพทาโร (เปลือก
ต้นหรือเนื้อไม้)
• เทียนขาว
• เทียนข้าวเปลือก
• เทียนดำ
• เทียนแดง
• เทียนตาตั๊กแตน
• เทียนเยาวพาณี
• เทียนสัตตบุษย์
• เปราะป่า (หัว)
• เปราะหอม(หัว)
• เปล้าน้อย(ใบ)
• เปล้าใหญ่(ใบ)
• ผักชีลา(ผล)
• ผักชีล้อม(ผล)
• ผักแพวแดง(ต้น)
• แฝกหอม(ราก)
• พริกไทย(เมล็ด
หรือผล)
• พริกหอม(ผล)
• พริกหาง(ผล)
2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาช่วย
10
• มะกรูด(ผิวผลหรือใบ)
• มะดัน(ใบหรือรกมะดัน)
• มะนาว(ผิวผลหรือใบ)
• มะรุม(เปลือกต้น)
• เร่ว(เมล็ดหรือผล)
• ลำพันขาว(เหง้า)
• ลำพันแดง(เหง้า)
• ลำพันหางหมู(เหง้า)
• ส้มป่อย(ฝักหรือใบ)
• สมุลแว้ง(เปลือกต้น)
• สวาด(ใบ)
• สะค้าน(เถาหรือผล)
• สะระแหน่(ใบ)
• หอม(หัว)
• หอมแดง(หัว)
• หัสคุณเทศ(ต้น)
• แห้วหมู (หัว)
• อบเชย(เปลือกต้น)
2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาช่วย
11
• กระท้อน(ราก)
• โกฐพุงปลา(Gall)
• ขี้อ้าย(เปลือกต้น)
• ไข่เน่า(เปลือกต้น)
• ครั่ง
• แค(เปลือกต้น)
• ชา(ใบ)
• ซิก(เปลือกต้น)
• ทับทิม(เปลือกผล)
• เนระพูสี(ต้น)
• เบญกานี(Gall)
• ปอบิด(ผล)
• ฝรั่ง(ใบหรือผลดิบ)
• ฝิ่นต้น(เปลือกต้น)
• เพกา(เปลือกต้น)
3. ยาแก้ท้องเสีย; ยาตรง
12
• ฟ้าทะลายโจร (ใบหรือต้นก่อน
มีผล)
• มหาสดำ (เหง้า)
• มะเดื่อชุมพร (เปลือกต้น)
• มะตูม (ผลดิบ)
• มังคุด (เปลือกผล)
• สีเสียดเทศ (สิ่งสกัดจากกิ่งและ
ใบโดยการต้มเคี่ยวกับน้ำ)
• สีเสียดไทย (สิ่งสกัดจากเนื้อไม้
โดยการต้มเคี่ยวกับน้ำ)
• สีเสียดเปลือก (เปลือกต้น)
• หว้า (เปลือกต้น)
3. ยาแก้ท้องเสีย; ยาตรง
13
• กรัก(แก่นขนุน)
• กล้วยน้ำว้า(ผลดิบ)
• ก้างปลาขาว(ราก)
• ก้างปลาแดง(ราก)
• ขมิ้นเครือ(เถา)
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• ตาล(ราก)
• พิลังกาสา(ผล)
• มะพร้าว(ราก)
• โมกหลวง(เปลือกต้น)
• หมากสง(เมล็ด)
3. ยาแก้ท้องเสีย; ยาช่วย
14
• กระดอม(ผลอ่อน)
• กรุงเขมา(ราก)
• กอมขม(เนื้อไม้)
• กันเกรา(แก่น)
• คนทา(ราก)
• จันทน์ขาว(แก่น)
• จันทน์แดง(แก่น)
• จันทน์เทศ(แก่น)
• ชิงช้าชาลี(เถา)
• ชิงชี่(ราก)
• เท้ายายม่อม(ราก)
• บอระเพ็ด(เถา)
• ปลาไหลเผือก(ราก)
• ฟ้าทะลายโจร(ใบ
หรือต้นก่อนมีผล)
• มะเดื่อชุมพร(ราก)
• ย่านาง(ราก)
• ลูกใต้ใบ(ทั้งต้น)
• สะเดาไทย(เปลือกต้น
หรือก้านใบ)
• เหมือดคน(ราก)
4. ยาแก้ไข้; ยาตรง
15
• กรรณิการ์(ดอก)
• กระเจี๊ยบแดง(กลีบ
เลี้ยงและริ้วประดับ)
• เก๊กฮวย(ดอก)
• แก้วแกลบ
• โกฐก้านพร้าว
• โกฐจุฬาลัมพา
• โกฐสอ
• ขลู่(ต้นหรือใบ)
• ข้าวโพด(เกสรตัวเมีย)
• ขี้กาแดง(ราก)
• ขี้ครอก(ต้น)
• โคกกระสุน(ต้น)
• โคกกระออม(เถา)
• จันทน์ชะมด(แก่น)
• เฉียงพร้านางแอ
(เปลือกต้น)
• ชะลูด(เปลือกต้น)
• เดือย(เนื้อในเมล็ด)
• โด่ไม่รู้ล้ม(ทั้งต้น)
• ตะไคร้(ทั้งต้น)
4. ยาแก้ไข้; ยาช่วย
16
• ไทรย้อย(รากอากาศ)
• เนระพูสี(ต้น)
• บานไม่รู้โรยดอกขาว
(ราก)
• ผักกาดน้ำ(ต้น)
• ผักหวานบ้าน(ราก)
• ฝ้ายแดง(ใบ)
• แฝกหอม(ราก)
• พญายา(เนื้อไม้)
• พิมเสนต้น(ใบ)
• ฟักข้าว(ราก)
• มหาสดำ(ต้น)
• มะกรูด(ราก)
• มะนาว(ราก)
• มะปราง(ราก)
• มะเม่า(ราก)
• มะระขี้นก(เนื้อผลดิบ)
• มะละกอ(ราก)
• ลำเจียก(ราก)
• ว่านกีบแรด(เหง้า)
• สน(แก่น)
• สัก(แก่นหรือใบ)
• สับปะรด(เหง้า)
• สายน้ำผึ้ง(ดอก)
• สารพัดพิษ(ผล)
4. ยาแก้ไข้; ยาช่วย
17
• สารส้ม
• เสนียด(ใบหรือดอก)
• ไส้หญ้าปล้อง
• หญ้าขัดมอน(ราก)
• หญ้าคา(เหง้าและราก)
• หญ้าชันกาด(เหง้าและ
ราก)
• หญ้าไซ(ทั้งต้น)
• หญ้าใต้ใบ(ทั้งต้น)
• หญ้าถอดปล้อง(ทั้งต้น)
• หญ้าพันงู(ราก)
• หญ้าหนวดแมว(ใบอ่อน)
• หมากผู้หมากเมีย(ใบ)
• หวายตะค้า(เถา)
• แห้วหมู(หัว)
• อ้อยแดง(ลำต้น)
• อินทนิลน้ำ(ใบ)
• อีเหนียวเล็ก(ราก)
4. ยาแก้ไข้; ยาช่วย
18
• ก้างปลาขาว(ราก)
• ก้างปลาแดง(ราก)
• เก๊กฮวย(ดอก)
• งิ้ว(ดอก)
• จันทน์แดง(แก่น)
• จันทน์เทศ(แก่น)
• ตำลึง(ใบ)
• เตยหอม(ใบ)
• ผักกระโฉม (ใบหรือต้น)
• แฝกหอม(ราก)
• พิมเสนต้น(ใบ)
• พุงทะลาย (เปลือกหุ้ม
เมล็ดที่พองตัวเต็มที่แล้ว)
• เพกา(เมล็ด)
• ฟ้าทะลายโจร (ใบหรือ
ต้นก่อนมีผล)
• มะระขี้นก (เนื้อผลดิบ)
• สันพร้ามอญ (ต้นหรือใบ)
• สันพร้าหอม (ต้นหรือใบ)
• สายน้ำผึ้ง (ดอก)
• หญ้าใต้ใบ (ต้น)
5. ยาแก้ร้อนใน; ยาตรง
19
• กระเจี๊ยบแดง(กลีบ
เลี้ยงและริ้วประดับ)
• กระพี้เขาควาย
(เนื้อไม้)
• แก้วแกลบ
• ขลู่(ต้นหรือใบ)
• ข้าวโพด(เกสรตัว
เมีย)
• ขี้ครอก(ต้น)
• คงคาเดือด(เนื้อไม้)
• โคกกระสุน(ต้น)
• เฉียงพร้านางแอ
(เปลือกต้น)
• เดือย(เนื้อในเมล็ด)
• โด่ไม่รู้ล้ม(ทั้งต้น)
• ตะไคร้(ทั้งต้น)
• ตับเต่าน้อย(ราก)
• ตับเต่าใหญ่(ราก)
• ถั่วเขียว(เมล็ด)
• ไทรย้อย(ราก
อากาศ)
• น้ำเต้า(ผลหรือใบ)
• บัวบก(ต้น)
• บานไม่รู้โรยดอกขาว
(ราก)
• ผักกาดน้ำ(ต้น)
5. ยาแก้ร้อนใน; ยาช่วย
20
• ผักโขมหัด(ราก)
• ผักโขมหิน(ราก)
• มะเม่า(ราก)
• มะละกอ(ราก)
• ลำเจียก(ราก)
• สัก(แก่นหรือใบ)
• สับปะรด(เหง้า)
• สารส้ม
• ไส้หญ้าปล้อง
• หญ้าคา(เหง้าและ
ราก)
• หญ้าชันกาด(เหง้า
และราก)
• หญ้าไซ(ทั้งต้น)
• หญ้าตีนนก(ต้น)
• หญ้าถอดปล้อง(ทั้ง
ต้น)
• หญ้าพันงู(ราก)
• หญ้าหนวดแมว
(ใบอ่อน)
• หม่อน(ใบ)
• หัวถั่วพู
• แห้วหมู(หัว)
• อ้อยแดง(ลำต้น)
• อินทนิลน้ำ(ใบ)
• อีเหนียวเล็ก(ราก)
5. ยาแก้ร้อนใน; ยาช่วย
21
• คนทา(ราก)
• จันทน์แดง(แก่น)
• จันทน์เทศ(แก่น)
• ชิงชี่(ราก)
• เท้ายายม่อม(ราก)
• เนระพูสี(ต้น)
• ผักกระโฉม(ใบหรือต้น)
• พญายอ(ใบ)
• พิมเสนต้น(ใบ)
• มหาสดำ(ต้น)
• มะคำดีควาย(ผลแก่สุมไฟ)
• มะเดื่อชุมพร(ราก)
• มะระขี้นก(ใบ)
• ย่านาง(รากหรือใบ)
• ว่านกีบแรด(เหง้า)
• สันพร้ามอญ(ต้น)
• สันพร้าหอม(ต้นหรือใบ)
6. ยาบรรเทาหัด อีสุกอีใส; ยาตรง
22
• ชิงช้าชาลี (เถา)
• บอระเพ็ด (เถา)
6. ยาบรรเทาหัด อีสุกอีใส; ยาช่วย
23
• กระลำพัก(จากแก่นสลัดได)
• กฤษณา(เนื้อไม้)
• เกล็ดสะระแหน่
• ขอนดอก(จากแก่นพิกุล)
• จันทน์ชะมด(แก่น)
• จันทน์เทศ(แก่น)
• จันทน์หอม(เนื้อไม้)
• ชะมดเช็ด(เมือกหรือไขจากต่อมกลิ่น)
• ชะลูด(เปลือก)
• เทียนขาว
• เทียนข้าวเปลือก
• เทียนดำ
• เทียนแดง
• เทียนตาตั๊กแตน
• บัวหลวง(เกสร)
• บุนนาค(ดอก)
7. ยาแก้ลมวิงเวียน; ยาตรง
24
• เปราะหอม(หัว)
• แฝกหอม(ราก)
• พิกุล(ดอก)
• พิมเสน
• พิมเสนต้น(ใบ)
• มะกรูด(ผิวผล)
• มะงั่ว(ผิวผล)
• มะนาว(ผิวผล)
• มะลิ(ดอก)
• ส้มเขียวหวาน(ผิวผล)
• ส้มจีน(ผิวผล)
• ส้มซ่า(ผิวผล)
• ส้มตะรังกะนู(ผิวผล)
• ส้มมือ(ผิวผล)
• ส้มโอ (ผิวผล)
• สมุลแว้ง(เปลือกต้น)
• สารภี(ดอก)
• หญ้าฝรั่น(เกสรตัวเมีย)
• อบเชย(เปลือกต้น)
7. ยาแก้ลมวิงเวียน; ยาตรง
25
• กระดังงาไทย(ดอก)
• กระทิง(ดอก)
• การบูร
• โกฐเขมา
• โกฐจุฬาลัมพา
• โกฐเชียง
• โกฐสอ
• โกฐหัวบัว
• จำปา(ดอก)
• จำปี(ดอก)
• ลำเจียก(ดอก)
• ลำดวน(ดอก)
7. ยาแก้ลมวิงเวียน; ยาช่วย
26
• ชะเอมเทศ(ราก)
• พระจันทร์ครึ่งซีก(ทั้งต้น)
• มะกล่ำต้น(ราก)
• มะขามป้อม(เนื้อผล)
• มะขามเปียก(เนื้อในฝัก)
• มะเขือขื่น(ผล)
• มะนาว(ผลหรือน้ำในผล)
• มะแว้งเครือ(ผล)
• มะแว้งต้น(ผล)
• ส้มกุ้ง(ราก)
• ส้มป่อย(ใบ)
• สวาด(ใบ)
• เสนียด(ใบ)
8. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ; ยาตรง
27
• กระเจี๊ยบแดง(กลีบเลี้ยง
และริ้วประดับ)
• ขิง(เหง้า)
• พลับจีน(ผล)
• เพกา(เมล็ดแก่)
• มะกรูด(น้ำในผล)
• มะกล่ำเครือ(เถาหรือราก)
• มะงั่ว(ผล)
• มะเฟือง(ผล)
• มะยม(ผล)
• ไมยราบ(ราก)
• เล็บเหยี่ยว(ผล)
• ส้มจี๊ด(ผล)
• ส้มซ่า(น้ำในผล)
• สมอไทย(ผล)
• สับปะรด(ผล)
• หม่อน(ใบ)
8. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ; ยาช่วย
28
1. ขี้เหล็ก(แก่น)
2. โคคลาน(เถา)
3. แจง(ราก)
4. เถาเมื่อย (เถา)
5. เถาวัลย์เปรียง(เถา)
6. เถาเอ็นอ่อน(เถา)
7. มะคำไก่(ราก)
8. รางแดง(เถาและราก)
9. แส้ม้าทะลาย(เถา)
9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้รับประทาน)
29
2
3
5
4
9
6
8
1
• กรรณิการ์(ราก)
• กระเทียม(หัว)
• กระพังโหม(ต้น)
• กะทือ(เหง้า)
• กะเพราขาว(ใบ)
• กะเพราแดง(ใบ)
• กานพลู(ดอก)
• กำจัด(เปลือกผล)
• กำลังช้างสาร(เนื้อไม้)
• กำลังวัวเถลิง(เนื้อไม้)
• กำลังเสือโคร่ง
(เปลือกต้น)
• กำลังหนุมาน(เนื้อไม้)
• กุ่มน้ำ(เปลือกต้น)
• กุ่มบก(เปลือกต้น)
• เกลือสมุทร
• เกลือสินเธาว์
• โกฐน้ำเต้า(เหง้า)
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• ข่า(เหง้า)
• ข่าต้น(เนื้อไม้)
• ข่าลิง(เหง้า)
• ขิง(เหง้า)
• ขี้เหล็ก(ดอก)
9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้รับประทาน)
30
• คูน(เนื้อในฝักแก่)
• จันทน์เทศ (รกหรือ
เมล็ด)
• เจตพังคี(ราก)
• ช้าพลู(ราก)
• ชุมเห็ดเทศ(ใบหรือดอก)
• ดีเกลือ
• ดีปลี(ผล)
• ตองแตก(ราก)
• เทพทาโร (เปลือกต้น
หรือเนื้อไม้)
• เทียนขาว
• เทียนข้าวเปลือก
• เทียนดำ
• เทียนแดง
• เทียนตาตั๊กแตน
• เทียนเยาวพาณี
• เทียนสัตตบุษย์
• เปราะป่า(หัว)
• เปราะหอม(หัว)
• เปล้าน้อย(ใบ)
• เปล้าใหญ่(ใบ)
• ผักชีลา(ผล)
• ผักชีล้อม(ผล)
9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้รับประทาน)
31
• ผักแพวแดง(ต้น)
• แฝกหอม(ราก)
• พริกไทย(เมล็ดหรือผล)
• พริกหอม(ผล)
• พริกหาง(ผล)
• มะกา(ใบ)
• มะขามแขก(ใบหรือฝัก)
• มะขามเปียก(เนื้อในฝัก)
• ยาดำ
• เร่ว(เมล็ดหรือผล)
• สมอดีงู(ผล)
• สมอเทศ(เนื้อผล)
• สมอไทย(เนื้อผล)
• สมุลแว้ง(เปลือกต้น)
• สะค้าน(เถาหรือผล)
• สายน้ำผึ้ง(เถา)
• หม่อน(กิ่ง)
• หัสคุณเทศ(ต้น)
• แห้วหมู(หัว)
• อบเชย(เปลือกต้น)
9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้รับประทาน)
32
1. โคคลาน(เถา)
2. เถาวัลย์เปรียง(เถา)
3. เถาเอ็นอ่อน(เถา)
4. น้ำมันระกำ
5. ไพล(เหง้าหรือน้ำมันจากเหง้า)
6. ว่านเอ็นเหลือง(เหง้า)
10. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
33
1
2 3
• กานพลู(ดอกหรือน้ำมันจากดอก)
• การบูร
• เกล็ดสะระแหน่
• น้ำมันเขียว
• พิมเสน
10. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
34
• โกฐกักกรา
• ขลู่(ต้น)
• ผักแพวแดง(ต้น)
• พลูแก(เถา)
• เพชรสังฆาต(เถา)
• แพงพวยน้ำ(ต้น)
• อัคคีทวาร(ต้น)
11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาตรง
35
• กรรณิการ์(ราก)
• กระเทียม(หัว)
• กระพังโหม(ต้น)
• กะทือ(เหง้า)
• กะเพราขาว(ใบ)
• กะเพราแดง(ใบ)
• กานพลู(ดอก)
• กำจัด(เปลือกผล)
• กุ่มน้ำ(เปลือกต้น)
• กุ่มบก(เปลือกต้น)
• เกลือสมุทร
• เกลือสินเธาว์
• โกฐน้ำเต้า(เหง้า)
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• ข่า(เหง้า)
• ข่าต้น(เนื้อไม้)
• ข่าลิง(เหง้า)
• ขิง(เหง้า)
• ขี้เหล็ก(ดอก)
• คูน(เนื้อในฝักแก่)
• จันทน์เทศ(รกหรือ
เมล็ด)
11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาช่วย
36
• เจตพังคี(ราก)
• ช้าพลู(ราก)
• ชุมเห็ดเทศ
(ใบหรือดอก)
• ดีเกลือ
• ดีปลี(ผล)
• ตองแตก(ราก)
• เทพทาโร (เปลือก
ต้นหรือเนื้อไม้)
• เทียนขาว
• เทียนข้าวเปลือก
• เทียนดำ
• เทียนแดง
• เทียนตาตั๊กแตน
• เทียนเยาวพาณี
• เทียนสัตตบุษย์
• เปราะป่า(หัว)
• เปราะหอม(หัว)
• เปล้าน้อย(ใบ)
• เปล้าใหญ่(ใบ)
• ผักชีล้อม(ผล)
• ผักชีลา(ผล)
11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาช่วย
37
• แฝกหอม(ราก)
• พริกไทย(เมล็ดหรือผล)
• พริกหอม(ผล)
• พริกหาง(ผล)
• มะกา(ใบ)
• มะขามแขก(ใบหรือฝัก)
• มะขามเปียก(เนื้อในฝัก)
• ยาดำ
• เร่ว(เมล็ดหรือผล)
• สมอดีงู(ผล)
• สมอเทศ(เนื้อผล)
• สมอไทย(เนื้อผล)
• สมุลแว้ง(เปลือกต้น)
• สะค้าน(เถาหรือผล)
• หัสคุณเทศ(ต้น)
• แห้วหมู(หัว)
• อบเชย(เปลือกต้น)
11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาช่วย
38
• ไข่เน่า(เปลือกต้น)
• ตานทั้งห้า
• ถอบแถบเครือ(ต้นยกเว้นผล)
• ทองหลางใบมน(ใบ)
• มะกล่ำต้น(เมล็ดใน)
• มะขาม(เนื้อในเมล็ด)
• มะหาด(เนื้อไม้)
• เล็บมือนาง(ผลหรือราก)
• สะแก(เมล็ดคั่ว)
12. ยาถ่ายพยาธิตัวกลม; ยาตรง
39
• โกฐน้ำเต้า(เหง้า)
• ขิง(เหง้า)
• คูน(เนื้อในฝักแก่)
• ดีเกลือ
• ตองแตก(ราก)
• นํ้าเต้า(เมล็ด)
• บวบเหลี่ยม(เนื้อในเมล็ด)
• ผักเสี้ยนผี(ทั้งต้น)
• มะกา(ใบ)
• มะขามแขก(ใบหรือฝัก)
• มะขามเปียก(เนื้อในฝัก)
• ยาดำ
• สมอดีงู(ผล)
• สมอเทศ(เนื้อผล)
• สมอไทย(เนื้อผล)
12. ยาถ่ายพยาธิตัวกลม; ยาช่วย
40
• ขันทองพยาบาท(เนื้อไม้)
• ข้าวเย็นใต้(หัว)
• ข้าวเย็นเหนือ(หัว)
• คงคาเดือด(เปลือกต้น)
• ทองพันชั่ง(ใบหรือราก)
• เหงือกปลาหมอ(ทั้งต้น)
13. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้รับประทาน)
41
•ขมิ้นอ้อย(เหง้า) •มะยม(ราก) •สารส้ม
13. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้รับประทาน)
42
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• คงคาเดือด(เปลือกต้น)
• ทองพันชั่ง(ใบ)
• พลู(ใบหรือน้ำมันจากใบ)
• สำมะงา(ใบ)
• เหงือกปลาหมอ(ทั้งต้น)
14. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
43
• กำมะถันเหลือง
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• ข่า(เหง้า)
• ชุมเห็ดเทศ(ใบ)
• ดินสอพอง
• พิมเสน
• ว่านนางคำ(เหง้า)
• สารส้ม
14. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
44
• กระเทียม(หัว)
• กำมะถันเหลือง
• ขันทองพยาบาท(เปลือกต้น)
• ข่า(เหง้า)
• ข่าแดง(เหง้า)
• ข่าลิง(เหง้า)
• ข่าใหญ่(เหง้า)
• คนทีเขมา(ใบ)
• คนทีสอ(ใบ)
• ชุมเห็ดเทศ(ใบ)
• ทองพันชั่ง(ใบ)
• พลู(ใบหรือน้ำมันจากใบ)
• สะบ้ามอญ(เนื้อในเมล็ด)
• เหงือกปลาหมอ(ทั้งต้น)
15. ยาแก้กลากเกลื้อน; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
45
• คูน(ราก)
• จามจุรี(เมล็ด)
• ชะมดต้น(ใบ)
• ตีนเป็ดน้ำ(กระพี้หรือใบ)
• เทียนกิ่ง(ใบ)
• น้อยหน่า(ใบ)
• โมกหลวง(เปลือกต้น)
15. ยาแก้กลากเกลื้อน; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
46
• กระเบา(เมล็ด)
• กระเบียน(เมล็ด)
• กำมะถันเหลือง
• น้อยหน่า(เมล็ด)
• สะบ้ามอญ(เนื้อในเมล็ด)
• หนอนตายหยาก(ราก)
16. ยาแกหิด; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
47
• แก้ว (ราก)
• ขี้กาแดง
(ใบหรือราก)
• เขยตาย (เปลือก
ต้น,รากหรือใบ)
• จักรนารายณ์ (ใบ)
• ต้อยติ่ง (เมล็ด)
• ทับทิม (เปลือกผล)
• เทียนกิ่ง (ใบ)
• เทียนบ้าน (ใบหรือ
ดอก)
• ฟ้าทะลายโจร (ใบ
หรือต้นก่อนมีผล)
• มังคุด (เปลือกผล)
• ว่านมหากาฬ (ใบ)
• ว่านหางจระเข้
(วุ้นจากใบ)
• สีเสียดเทศ (สิ่งสกัด
จากกิ่งและใบโดย
การต้มเคี่ยวกับน้ำ)
• สีเสียดไทย (สิ่งสกัด
จากเนื้อไม้โดยการ
ต้มเคี่ยวกับน้ำ)
• สีเสียดเปลือก
(เปลือกต้น)
• หมากสง (เมล็ด)
• เหงือกปลาหมอ
(ทั้งต้น)
17. ยาบรรเทาฝีแผล; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
48
• กระโดน(ผล)
• โกฐน้ำเต้า(ที่ยังไม่ทำให้สุก)
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• ชบา(ราก)
• ชา (ใบ)
• ทองหลางใบมน (ใบ)
• เบญกานี(Gall)
• ยางสน
17. ยาบรรเทาฝีแผล; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
49
• โกฐน้ำเต้า(ที่ยังไม่ทำให้สุก)
• ขมิ้นชัน(เหง้า)
• ขมิ้นอ้อย(เหง้า)
• น้ำมันงา
• น้ำมันมะพร้าว
• ว่านมหากาฬ(ใบ)
• ว่านหางจระเข้(วุ้นจากใบ)
18. ยาทาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
50
• เกล็ดสะระแหน่
• พญายอ(ใบ)
• เสลดพังพอนตัวผู้(ใบ)
19. ยาทาบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย; ยาตรง
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
51
• กานพลู (ดอกหรือน้ำมันจากดอก)
• การบูร
• ขมิ้นชัน (เหง้า)
• น้ำมันเขียว
• พิมเสน
19. ยาทาบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย; ยาช่วย
(ยาสำหรับใช้ภายนอก)
52
• ยาตรง
• ฟ้าทะลายโจร (ใบหรือต้นก่อนมีผล)
20. ยาทาบรรเทาอาการเจ็บคอ
• ยาช่วย
• เกล็ดสะระแหน่
• ชะเอมเทศ (ราก)
• พิมเสน
• มะขามป้อม(ผล)
• สายน้ำผึ้ง(ดอก)
53
• ยาตรง
• เบญกานี (Gall)
• เบี้ยผู้
• ลิ้นทะเล
21. ยาทาแก้ลิ้นเป็นฝ้า
• ยาช่วย
• เกล็ดสะระแหน่
• พิมเสน
• สีเสียดเทศ (สิ่งสกัดจาก
กิ่งและใบโดยการต้ม
เคี่ยวกับน้ำ)
• หมากสง (เมล็ด)
54
• ยาตรง
• การบูร
• เกล็ดสะระแหน่
• น้ำมันยูคาลิปตัส
• พิมเสน
• ส้มมือ (ผล)
22. ยาทาหรือดมบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด
• ยาช่วย
• มะกรูด(ผิวผล)
• มะงั่ว(ผิวผล)
• มะนาว(ผิวผล)
• ส้มเขียวหวาน(ผิวผล)
• ส้มจีน(ผิวผล)
• ส้มจุก(ผิวผล)
• ส้มซ่า(ผิวผล)
• ส้มตะรังกะนู(ผิวผล)
• ส้มโอ(ผิวผล)
55
• เครื่องยาที่เป็นยาตรงในกลุ่มยาสามัญประจำบ้าน
มีทั้งหมด 22 กลุ่มอาการ มียาช่วยในบางกลุ่ม
อาการ
• เภสัชวัตถุเป็นลักษณะของ พืชวัตถุ ธาตุวัตถุ
และสัตว์วัตถุ
• เป็นยารับประทาน ยาใช้ภายนอก และยาใช้
เฉพาะที่
สรุป
56
57
µÑÇÍ‹ҧ
ÇÔà¤ÃÒÐˏµÓÃѺÂÒ
58
ส่วนประกอบ
ปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณ
2 บาท 4 บาท 5 บาท 8 บาท 10 บาท อื่นๆ
ตรีกฏุก รากแจง แก่นขี้เหล็ก ดีเกลือ ใบมะกา มะกรูด 2 ผล
เถาวัลย์เปรียง ยาดำ ฝาง รากตองแตก ฝักคูน 7 ฝัก
สักขี ไพล
เปล้าทั้ง 2 กระทือ
เกลือ สมอทั้ง 3
59
เครื่องยา สรรพคุณ
ใบมะกา แก้โรคกระษัย ถ่ายพิษไข้ ถ่ายพิษตานซาง ยาระบายอ่อนๆ
รากตองแตก ยาถ่าย ถ่ายลมเป็นพิษ ถ่ายพิษพรรดึก ถ่ายเสมหะเป็นพิษ
ดีเกลือ ยาถ่าย แก้พรรดึก
ยาดำ ยาถ่าย แก้พรรดึก
ฝักคูน 7 ฝัก ยาระบาย
ตรีสมอ แก้เสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง
ตัวยาหลัก
60
เครื่องยา สรรพคุณ
สมอไทย
มีฤทธิ์ฝาดสมาน แก้เจ็บคอ ออกฤทธิ์ต่อปอด กระเพาะ และลำไส้แก้
ท้องผูก โรคท้องมาน แก้ท้องร่วงเรื้อรัง
สมอพิเภก แก้บิด ยาระบาย บำรุงร่างกาย กระตุ้นการหลั่งน้ำดี
สมอเทศ ยาระบายรู้ถ่ายรู้ปิดเอง ถ่ายไข้ แก้เสมหะ ลมเดินสะดวก
ตรีสมอ แก้เสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง
61
ตัวยาหลัก
เครื่องยา สรรพคุณ
กระทือ แก้ร้อนใน บำรุงน้ำนม บำรุงธาตุ แก้บิด ปวดเบ่ง
ไพล เป็นแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม บิด ท้องเดิน ขับประจำเดือน
เกลือ กัดเสมหะ เมือกมัน
สักขี แก้รัตตะปิตตะโรค ไข้พิษ อุจจาระธาตุพิการ บำรุงโลหิต แก้อาเจียน
มะกรูด ขับลมในลำไส้ บำรุงหัวใจ
ตัวยาช่วย
62
เครื่องยา สรรพคุณ
รากแจง บำรุงกำลัง แก้ปัสสาวะพิการ แก้กระษัย ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ
เถาวัลย์เปรียง คลายเส้น กล้ามเนื้อ
เปล้าใหญ่ เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ผ่อนคลาย แก้ปวดเมื่อย แก้ผดผื่นคัน
เปล้าน้อย แก้บำรุงธาตุ ขับเสมหะ ยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร ริดสีดวง
ตรีกฎุก
แก้โรคที่เกิดจากวาตะ(ลม) เสมหะ และปิตตะ(ดี) ในกองธาตุ
กองฤดู กองอายุ และกองสมุฏฐาน
ฝาง แก้ท้องร่วง แก้ธาตุพิการ
63
ตัวยารอง
เครื่องยา สรรพคุณ
เหง้าขิงแห้ง
รักษาอาการท้องอืด เฟ้อ เสียดท้อง อาหารไม่ย่อย
ปวดเกร็งช่องท้อง แก้คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
พริกไทย ขับลม ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ บำรุงธาตุ  อาหารไม่ย่อย
ดีปลี
ขับลม ลดอาการไอ  ระคายคอจากเสมหะ ลดอาการท้องอืดท้อง
เฟ้อแน่นจุกเสียด  บำรุงธาตุไฟ แก้ปวดท้อง  แก้คลื่นไส้  อาเจียน 
ตรีกฎุก
แก้โรคที่เกิดจากวาตะ(ลม) เสมหะ และปิตตะ(ดี) ในกองธาตุ
กองฤดู กองอายุ และกองสมุฏฐาน
64
ตัวยารอง
ส่วนประกอบ
ปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณ
2 บาท 4 บาท 5 บาท 8 บาท 10 บาท อื่นๆ
ตรีกฏุก รากแจง แก่นขี้เหล็ก ดีเกลือ ใบมะกา มะกรูด 2 ผล
เถาวัลย์เปรียง ยาดำ ฝาง รากตองแตก ฝักคูน 7 ฝัก
สักขี ไพล
เปล้าทั้ง 2 กระทือ
เกลือ สมอทั้ง 3
ยาระบาย แก้พรรดึก แก้กษัยเส้น
65
เครื่องยา สรรพคุณ
มะกา
•จากการทดลองฤทธิ์ระบายกับผู้ป่วยท้องผูก ด้วยการใช้ใบแห้งในขนาด
1.5-2 กรัม นำมาชงกับน้ำเดือด แล้วแช่ไว้นาน 10-20 นาที ใช้ดื่มก่อน
นอน พบว่าได้ผลดี แต่มีอาการข้างเคียงคือ ปวดท้อง คลื่นไส้[1]
•มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบ
รากตองแตก
•รากตองแตกมีอนุพันธุ์ของ phorbol ester เช่น baliospermin และ
montanin เป็นสารที่ทำให้ถ่ายและมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์
มะเร็งได้ในหลอดทดลอง[3]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
66
เครื่องยา สรรพคุณ
ดีเกลือ
มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายอย่างแรง เดิมใช้ดีเกลือไทย (โซเดียมซัลเฟต) ซึ่งอาจมีปัญหา
ทำให้บวมน้ำ และมีปัญหากับไต หัวใจ ปัจจุบันจึงให้ใช้เฉพาะดีเกลือฝรั่ง เป็น
สารจำพวกแมกนีเซียมซัลเฟต หรือเรียกว่า เกลือยิปซั่ม (Epsom salt) ขนาด
ที่ใช้ ๑๐-๑๕ กรัมต่อครั้ง วันละครั้งเดียว เป็นยาถ่ายที่ออกฤทธิ์เร็ว ภายในครึ่ง
ถึงหนึ่งชั่วโมง ต้องระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคไต และผู้ป่วย
ที่ต้องจำกัดเกลือแมกนีเซียม[4]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
67
เครื่องยา สรรพคุณ
ยาดำ
•มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน หลายชนิด เช่น aloin, barbaloin (aloe-emodin)
รับประทานมากเกินไปจะทำให้ท้องเสีย และปวดท้องอย่างรุนแรง เพราะลำไส้
บิดเกร็งตัว อ่อนเพลีย ไตอักเสบ และมีอาการแทรกซ้อน อื่นๆได้ หญิงมีครรภ์
ห้ามรับประทานเพราะทำให้แท้งได้[5]
ฝักคูน
•มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน หลายชนิด เช่น aloin , rhein, sennoside A,
sennoside B, fistulic acid การกินมากเกินไปอาจทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ ท้อง
อืด และปวดมวนท้อง มีฤทธิ์ระบายโดยการกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้ใหญ่ จึงไม่
ควรกินติดต่อกันนาน เพราะเมื่อไม่ได้รับยาจะทำให้ลำไส้ไม่ทำงานตามปกติ[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
68
เครื่องยา สรรพคุณ
แก่นขี้เหล็ก •มีสารกลุ่มแอนทราควิโนนหลายชนิด มีฤทธิ์เป็นยาระบาย[8]
สมอไทย
•ประกอบด้วยสาร gallic acid, chebulic acid, chebulinic acid,
chebulagic acid, corilagin, terchebin, glucogallin, ellagic
acid, sennoside A, chebulin, catechol, tannic acid ยับยั้งเชื้อ
แบคทีเรีย Samonella และ Shigella[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
69
เครื่องยา สรรพคุณ
สมอพิเภก
•มีฤทธิ์ช่วยต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา ต้านยีสต์ ช่วยเร่งการ
สร้างน้ำดี ช่วยรักษาดีซ่าน ช่วยลดอาการอักเสบ[6]
มะกรูด
•ผิวมะกรูดมีน้ำมันระเหยง่ายร้อยละ 4 มีองค์ประกอบหลักเป็น “เบตาไพ
นีน”(beta-pinene) ประมาณร้อยละ 30 , “ลิโมนีน”(limonene) 
ประมาณร้อยละ 29 , beta-phellandrene, citronellal นอกจากนี้ยังพบ
linalool, borneol, camphor, sabinene, germacrene D, aviprin,
umbelliferone, bergamottin[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
70
เครื่องยา สรรพคุณ
ไพล
•น้ำมันระเหยง่าย มีสารสำคัญที่เป็นองค์ประกอบ เช่น sabinene, caryophyllene, cineol,
alpha-pinene, beta-pinene, myrcene, terpinene, limonene, p-cymene,
terpinolene, eugenol, farneraol, alflabene, 3,4 dimethoxy benzaldehyde,  4-(4-
hydroxyl-1-butenyl)-veratrole, naphthoquinone derivative, vanillin, vanillic acid,
veratric acid, β-sitosterol, สารสีเหลือง curcumin, cassumunarins A, B, C 
•สารที่ลดการอักเสบคือ (1)(E)-4(3’,4’-dimethylphenyl) but-3-ene มีฤทธิ์ขยายหลอดลม
มีการทดลองในผู้ป่วยเด็กที่เป็นหืด พบว่าให้ผลดีทั้งในรายที่มีอาการหอบหืดแบบเฉียบพลัน มี
ฤทธิ์กดหัวใจ ต้านเชื้อรา ต้านเชื้อแบคทีเรีย ลดการอักเสบ แก้ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กระตุ้น
การผลิตน้ำดีง ต้านออกซิเดชั่น ต้านฮิสตามีน คลายกล้ามเนื้อมดลูก ลดการหดเกร็งของลำไส้
คลายกล้ามเนื้อเรียบ[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
71
เครื่องยา สรรพคุณ
เปล้าน้อย
•ใบมีสารสำคัญคือ “เปลาโนทอล” (plaunotol) ทำให้การหลั่งกรดในกระเพาะน้อยลง
และกระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อทำให้แผลหายเร็วขึ้น มีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหาร[5]
เปล้าใหญ่
•มีสารองค์ประกอบอยู่ในกลุ่มแทนนินส์ ทั้งเป็น Condensed tannins และ
Hydrolysable tannins ในปริมาณไม่สูงมากนัก มีสารฟลาโวนอยด์ประเภท
Anthocyanidin, Catechin, Dihydroflavonol, Flavonol, Hydroflavonoids และ
Leucoanthocyanidin[7]
•สารสกัดจากเปล้าใหญ่นี้ไม่มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ ทั้งในภาวะที่มีและไม่มีเอนไซม์ แต่
สามารถลดฤทธิ์ในการก่อกลายพันธุ์ของสารมาตรฐานที่ทดสอบได้เป็นอย่างดี เมื่อมีการ
ทำงานของเอนไซม์ในตับร่วมด้วย โดยมีค่า IC50 = 5.78 และ 4.04 มก./plate[7]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
72
เครื่องยา สรรพคุณ
เปล้าใหญ่
•สารกสัดจากลำต้นยังมีสารในกลุ่มอัลคาลอยด์ที่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระสูง (EC50 = 36.05
มก./มล.), มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราที่สาเหตุของโรคกลาก (ที่ความเข้มข้น 8 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการ
ต้านเชื้อแบคทีเรีย S. aureus ที่ทำให้เกิดโรคแผลฝีหนองและเชื้อ V. cholerae ซึ่งเป็นสาเหตุของ
โรคอหิวาตกโรค (ที่ความเข้มข้น 3.125 มก./มล.), มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย S. mutans ที่ทำให้
เกิดโรคในช่องปาก (ที่ความเข้มข้น 0.39 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Shigella ที่
ทำให้เกิดโรคบิด (ที่ความเข้มข้น 12.5 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อไวรัสโรคเริม Herpes
simplex virus type 1 (IC50 = 40.06 มก./มล.), มีฤทธิ์กระตุ้นการเพิ่มจำนวนของเซลล์
ภูมิคุ้มกันชนิดทีเซลล์และบีเซลล์ (ที่ความเข้มข้น 3.13-200 มก./มล.), มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งตับปาน
กลาง (IC50 = 378.4±18.7 มก./มล.) โดยพบว่ามีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติบ้าง แต่ไม่พบว่าจะ
สามารถเหนี่ยวนำให้เซลล์มะเร็งตับตายแบบอะพอพโทซิส เมื่อเซลล์ได้รับสารสกัดนาน 1 วัน[7]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
73
เครื่องยา สรรพคุณ
เหง้าขิงแห้ง
•มีสารที่ให้รสเผ็ดร้อน gingerols. สาร shogaols, น้ำมันหอมระเหยและชัน(oleoresin)
4.0-7.5% ประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหย 1.0-3.3% สารประกอบหลัก คือ
sesquiphellandrene hydrocarbon 30-70% (เป็นสารที่ให้กลิ่นหอม) ได้แก่ (-)-
zingiberene, (+)-ar-curcumene, (-)-beta-sesquiphellandrene, beta-
bisabolene, camphene, alpha-pinene, nerol, geranyl acetate, linalool,
borneol
•กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจหนู ขับน้ำดี ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้บีบตัวเพิ่มขึ้น
ยับยั้งเชื้อ H.pylori ต้านการอักเสบ ป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ บรรเทาอาการปวด
กล้ามเนื้อ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย ช่วยเจริญอาหาร ต้านการอักเสบ กระตุ้น
การไหลเวียนเลือด[5
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
74
เครื่องยา สรรพคุณ
พริกไทย
• ในผลมีน้ำมันระเหยง่ายอยู่  0.8%  และพบสารอัลคาลอยด์ piperine และ
piperettine เป็นองค์ประกอบหลักและพบอัลคาลอยด์อื่นๆ เช่น  chavicine,
piperyline, piperoleines A, B, C   piperanine 
•กระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ลดภาวะท้องเดิน มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ลดการ
อักเสบ ต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ต้านเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก ยับยั้งเอนไซม์
acetylcholine esterase 
•การศึกษาทางคลินิก: ยาสมุนไพรที่มีขมิ้นและพริกไทยเป็นส่วนประกอบ มีฤทธิ์ฆ่า
พยาธิตัวจี๊ด[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
75
เครื่องยา สรรพคุณ
ดีปลี
•สารกลุ่ม  alkaloids เช่น piperine 4-5% , piperanine , pipernonaline ,
dehydropipernonaline , piperlonguminine , piperrolein  B สารกลุ่ม phenolic 
amides เช่น  retrofractamide      
•น้ำมันหอมระเหย 1%  ประกอบด้วย  terpinolene , caryophyllene , p-cymene ,
thujene , dihydrocarveol
•มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา  ต้านการเกิดแผลที่กระเพาะอาหาร  ต้านออกซิ
เดชั่น ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว สารสกัดปิโตรเลียมอีเทอร์ทำให้สัตว์ทดลองแท้ง จึง
ควรระวังการใช้ในสตรีมีครรภ์[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
76
เครื่องยา สรรพคุณ
เถาวัลย์เปรียง
• มีสารกลุ่ม isoflavone glycoside ได้แก่ eturunagarone, 4,4’-di-O-methylscandenin,
lupinisol A, 5,7,4’-trihydroxy-6,8-diprenylisoflavone.
•สารกลุ่มคูมาริน ได้แก่ 3-aryl-4-hydroxycoumarins  สารกลุ่มสเตียรอยด์ได้แก่ lupeol,
taraxerol, b-sitosterol  สารอื่นๆ เช่น 4-hydroxy-3-methoxy benzoic acid, 4-
hydroxy-3,5-dimethoxy benzoic acid
•สารสกัดน้ำจากเถามีฤทธิ์ต้านการอักเสบ (ยับยั้งการสร้าง leukotriene B, ลดการหลั่ง
myeloperoxide, ลดการสร้าง eicosanoid), ลดการอักเสบที่อุ้งเท้าหนู, สารสกัดน้ำมีฤทธิ์ต้าน
อนุมูลอิสระ,สารสกัดบิวทานอล และสารประกอบประเภท rhamnosyl-(1,6)-
glucosylisoflavone มีฤทธิ์ลดความดันโลหิต, สารสกัดด้วย 50% เอทานอล มีฤทธิ์กระตุ้น
ภูมิคุ้มกัน, ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์, ฤทธิ์ต้านเชื้อรา
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
77
เครื่องยา สรรพคุณ
เถาวัลย์เปรียง
• การศึกษาทางคลินิก:
-บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง  การเปรียบเทียบสรรพคุณของสารสกัดเถาวัลย์เปรียงกับยาได
โคลฟีแนค ในการเป็นยาบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง พบว่าเมื่อให้ผู้ป่วย รับประทานสารสกัด
เถาวัลย์เปรียงบรรจุแคปซูลขนาด 200 มก. วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน เปรียบเทียบกับผู้ป่วย
กลุ่มที่รับประทานยาไดโคลฟีแนคขนาด 25 มก. วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน ผลพบว่าสารสกัด
เถาวัลย์เปรียงสามารถลดอาการปวดหลังส่วนล่างได้ไม่แตกต่างจากการใช้ยาไดโคลฟีแนค
-กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย   การศึกษาประสิทธิผลของเถาวัลย์เปรียงในอาสาสมัครสุขภาพดี
เมื่อได้รับประทานสารสกัดเถาวัลย์เปรียงทีสกัดด้วย 50% เอทานอล ขนาดวันละ 400 มก. นาน
2 เดือน ไม่พบความผิดปกติของระบบต่างๆของร่างกาย และพบว่าสารสกัดเพิ่มการหลั่งของ IL-2
และ gamma–IFN แสดงว่าสารสกัดมีฤทธิ์เสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายได้[5]
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา
78
อ้างอิง
79
1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556
2. หนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล). “มะกา”. หน้า 66.
3. การใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนเขาตายิ้ม อ.เมือง จ.ตราด, สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้ พ.ศ. 2549.
(ชูจิตร อนันตโชค, ทรรศนีย์ พัฒนเสร, วจีรัตน์ บุญญะปฏิภาค). “มัดกา, มะกา”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
forprod.forest.go.th/forprod/chemistry/pdf/1.66.pdf. [13 พ.ค. 2014].
4. อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.  “ตองแตก”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก:
www.pharmacy.mahidol.ac.th/siri/.
5. http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/197/เบญจอำมฤต-รักษามะเร็งตับ/
6. http://www.thaicrudedrug.com
7. ข้อมูลจาก : สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข)
8. โครงการจัดทำฐานข้อมูลพืชสมุนไพรที่สำรวจและวิจัยภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น.  สำนักงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ
ราชดำริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.  “เปล้าใหญ่“.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: orip.kku.ac.th/thaiherbs/.
9. สารแอนทราควิโนนในพชื สมุนไพรไทย เข้าถึงได้จาก: http://www.agro.cmu.ac.th/absc/data/57/57-014.pdf
Thank you
for your Attention.
80

More Related Content

What's hot

ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
Ma' Nor
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
noinasang
 

What's hot (20)

ติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทย
ติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทยติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทย
ติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทย
 
Con14
Con14Con14
Con14
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
การตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัช
 
Con12
Con12Con12
Con12
 
Con6
Con6Con6
Con6
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัยการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 

More from Nickson Butsriwong (7)

ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้
 
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
2.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 592.3 .วัยเรียน 59
2.3 .วัยเรียน 59
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New

  • 1. พื้นฐานการวิเคราะห์ ตำรับยา ¹Ô¤Êѹµ ºØµÃÈÃÕǧ¤ 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ • โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญ • อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗๖(๕)(๗)(๘)และ(๙) แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่ม เติมโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้ กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำ ของคณะกรรมการยา จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ • ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๒ • ข้อ ๒ ให้ยาแผนโบราณตามตำรับยาที่มีตัวยาสำคัญตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัวดังต่อไปนี้เป็นยาสามัญ ประจำบ้าน 2 ส่วนประกอบของตำรับยาแผนไทย 1. ตัวยาสำคัญหรือตัวยาตรง คือตัวยาที่มุ่งแก้โรคหรืออาการหลัก 2. ตัวยาช่วยหรือตัวยารอง คือตัวยาที่ช่วยทำให้ตัวยาสำคัญออกฤทธิ์ดียิ่งขึ้น หรือช่วยรักษา อาการโรคร่วม 3. ตัวยาประกอบหรือตัวยาเสริมหรือตัวยาคุม คือตัวยาช่วยคุมความแรงของตัวยาสำคัญและ ช่วยให้ยาออกฤทธิ์ดียิ่งขึ้น หรือตัวยาป้องกันโรคแทรกซ้อน หรือยาบำรุง หรือช่วยเสริมให้ยาหลัก มีสรรพคุณสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4. ตัวยาแต่งรส แต่งกลิ่น แต่งสี หมายเหตุ ยาแต่ละตำรับไม่จำเป็นจะต้องมีครบทั้ง 4 ชนิด3
  • 2. 1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาตรง • กระเทียม(หัว) • กระวาน(ผล) • กะทือ(เหง้า) • กะเพราแดง(ใบ) • กานพลู(ดอก) • กุ่มน้ำ(เปลือกต้น) • กุ่มบก(เปลือกต้น) • ขมิ้นชัน(เหง้า) • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • ข่า(เหง้า) • ขิง(เหง้า) • จันทน์เทศ(รกหรือเมล็ด) • เจตพังคี(ราก) • ช้าพลู(ราก) 4 • ดีปลี(ผล) • ตะไคร้(ต้นหรือเหง้า) • เบญจกูล • ผักแพวแดง(ต้น) • พริกไทย(เมล็ด) • มหาหิงคุ์(ยางหรือ gumoleoresin) • เร่ว(เมล็ดหรือผล) • สมุลแว้ง(เปลือกต้น) • สะค้าน(เถา) • หัสคุณเทศ(ต้น) • แห้วหมู(หัว) • อบเชย(เปลือกต้น) 1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาตรง 5 • กระพังโหม(ต้น) • กะเพราขาว(ใบ) • การบูร • กำจัด(เปลือกผล) • ข่าต้น(เนื้อไม้) • ข่าลิง(เหง้า) • จันทน์แปดกลีบ(ผล) • เทพทาโร(เปลือกต้นหรือเนื้อไม้) • เทียนขาว • เทียนข้าวเปลือก • เทียนดำ • เทียนแดง • เทียนตาตั๊กแตน • เทียนเยาวพาณี • เทียนสัตตบุษย์ • เปราะป่า(หัว) • เปราะหอม(หัว) • เปล้าน้อย(ใบ) 1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาช่วย 6
  • 3. • เปล้าใหญ่(ใบ) • ผักชีลา(ผล) • ผักชีล้อม (ผล) • แฝกหอม(ราก) • พริกหอม(ผล) • พริกหาง(ผล) • มะกรูด(ผิวผลหรือใบ) • มะนาว(ผิวผลหรือใบ) • มะรุม(เปลือกต้น) • ลำพันขาว(เหง้า) • ลำพันแดง(เหง้า) • ลำพันหางหมู(เหง้า) • สวาด(ใบ) • สะค้าน(ผล) • สะระแหน่(ใบ) • หอม(หัว) • หอมแดง(หัว) 1. ยาขับลม (แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ บำรุงธาตุ); ยาตรง 7 • โกฐน้ำเต้า(เหง้า) • คูน(เนื้อในฝักแก่) • ชุมเห็ดเทศ(ใบหรือดอก) • ดีเกลือ • ตองแตก(ราก) • มะกา(ใบ) • มะขามแขก(ใบหรือฝัก) • มะขามเปียก(เนื้อในฝัก) • ยาดำ • สมอดีงู(ผล) • สมอเทศ(เนื้อผล) • สมอไทย(เนื้อผล) 2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาตรง 8 • กรรณิการ์(ราก) • กระเทียม(หัว) • กระพังโหม(ต้น) • กระวาน(ผล) • กะทือ(เหง้า) • กะเพราขาว(ใบ) • กะเพราแดง(ใบ) • กานพลู(ดอก) • กำจัด(เปลือกผล) • กุ่มน้ำ(เปลือกต้น) • กุ่มบก(เปลือกต้น) • เกลือสมุทร • เกลือสินเธาว์ • ขมิ้นชัน(เหง้า) • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • ข่า(เหง้า) • ข่าต้น(เนื้อไม้) • ข่าลิง(เหง้า) • ขิง(เหง้า) • ขี้เหล็ก(ดอกหรือ แก่น) • จันทน์เทศ(รกหรือ เมล็ด) • จันทน์แปดกลีบ(ผล) • เจตพังคี(ราก) 2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาช่วย 9
  • 4. • ช้าพลู(ราก) • ดีปลี(ผล) • ตะไคร้(ต้นหรือ เหง้า) • เทพทาโร (เปลือก ต้นหรือเนื้อไม้) • เทียนขาว • เทียนข้าวเปลือก • เทียนดำ • เทียนแดง • เทียนตาตั๊กแตน • เทียนเยาวพาณี • เทียนสัตตบุษย์ • เปราะป่า (หัว) • เปราะหอม(หัว) • เปล้าน้อย(ใบ) • เปล้าใหญ่(ใบ) • ผักชีลา(ผล) • ผักชีล้อม(ผล) • ผักแพวแดง(ต้น) • แฝกหอม(ราก) • พริกไทย(เมล็ด หรือผล) • พริกหอม(ผล) • พริกหาง(ผล) 2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาช่วย 10 • มะกรูด(ผิวผลหรือใบ) • มะดัน(ใบหรือรกมะดัน) • มะนาว(ผิวผลหรือใบ) • มะรุม(เปลือกต้น) • เร่ว(เมล็ดหรือผล) • ลำพันขาว(เหง้า) • ลำพันแดง(เหง้า) • ลำพันหางหมู(เหง้า) • ส้มป่อย(ฝักหรือใบ) • สมุลแว้ง(เปลือกต้น) • สวาด(ใบ) • สะค้าน(เถาหรือผล) • สะระแหน่(ใบ) • หอม(หัว) • หอมแดง(หัว) • หัสคุณเทศ(ต้น) • แห้วหมู (หัว) • อบเชย(เปลือกต้น) 2. ยาถ่าย หรือยาระบาย; ยาช่วย 11 • กระท้อน(ราก) • โกฐพุงปลา(Gall) • ขี้อ้าย(เปลือกต้น) • ไข่เน่า(เปลือกต้น) • ครั่ง • แค(เปลือกต้น) • ชา(ใบ) • ซิก(เปลือกต้น) • ทับทิม(เปลือกผล) • เนระพูสี(ต้น) • เบญกานี(Gall) • ปอบิด(ผล) • ฝรั่ง(ใบหรือผลดิบ) • ฝิ่นต้น(เปลือกต้น) • เพกา(เปลือกต้น) 3. ยาแก้ท้องเสีย; ยาตรง 12
  • 5. • ฟ้าทะลายโจร (ใบหรือต้นก่อน มีผล) • มหาสดำ (เหง้า) • มะเดื่อชุมพร (เปลือกต้น) • มะตูม (ผลดิบ) • มังคุด (เปลือกผล) • สีเสียดเทศ (สิ่งสกัดจากกิ่งและ ใบโดยการต้มเคี่ยวกับน้ำ) • สีเสียดไทย (สิ่งสกัดจากเนื้อไม้ โดยการต้มเคี่ยวกับน้ำ) • สีเสียดเปลือก (เปลือกต้น) • หว้า (เปลือกต้น) 3. ยาแก้ท้องเสีย; ยาตรง 13 • กรัก(แก่นขนุน) • กล้วยน้ำว้า(ผลดิบ) • ก้างปลาขาว(ราก) • ก้างปลาแดง(ราก) • ขมิ้นเครือ(เถา) • ขมิ้นชัน(เหง้า) • ตาล(ราก) • พิลังกาสา(ผล) • มะพร้าว(ราก) • โมกหลวง(เปลือกต้น) • หมากสง(เมล็ด) 3. ยาแก้ท้องเสีย; ยาช่วย 14 • กระดอม(ผลอ่อน) • กรุงเขมา(ราก) • กอมขม(เนื้อไม้) • กันเกรา(แก่น) • คนทา(ราก) • จันทน์ขาว(แก่น) • จันทน์แดง(แก่น) • จันทน์เทศ(แก่น) • ชิงช้าชาลี(เถา) • ชิงชี่(ราก) • เท้ายายม่อม(ราก) • บอระเพ็ด(เถา) • ปลาไหลเผือก(ราก) • ฟ้าทะลายโจร(ใบ หรือต้นก่อนมีผล) • มะเดื่อชุมพร(ราก) • ย่านาง(ราก) • ลูกใต้ใบ(ทั้งต้น) • สะเดาไทย(เปลือกต้น หรือก้านใบ) • เหมือดคน(ราก) 4. ยาแก้ไข้; ยาตรง 15
  • 6. • กรรณิการ์(ดอก) • กระเจี๊ยบแดง(กลีบ เลี้ยงและริ้วประดับ) • เก๊กฮวย(ดอก) • แก้วแกลบ • โกฐก้านพร้าว • โกฐจุฬาลัมพา • โกฐสอ • ขลู่(ต้นหรือใบ) • ข้าวโพด(เกสรตัวเมีย) • ขี้กาแดง(ราก) • ขี้ครอก(ต้น) • โคกกระสุน(ต้น) • โคกกระออม(เถา) • จันทน์ชะมด(แก่น) • เฉียงพร้านางแอ (เปลือกต้น) • ชะลูด(เปลือกต้น) • เดือย(เนื้อในเมล็ด) • โด่ไม่รู้ล้ม(ทั้งต้น) • ตะไคร้(ทั้งต้น) 4. ยาแก้ไข้; ยาช่วย 16 • ไทรย้อย(รากอากาศ) • เนระพูสี(ต้น) • บานไม่รู้โรยดอกขาว (ราก) • ผักกาดน้ำ(ต้น) • ผักหวานบ้าน(ราก) • ฝ้ายแดง(ใบ) • แฝกหอม(ราก) • พญายา(เนื้อไม้) • พิมเสนต้น(ใบ) • ฟักข้าว(ราก) • มหาสดำ(ต้น) • มะกรูด(ราก) • มะนาว(ราก) • มะปราง(ราก) • มะเม่า(ราก) • มะระขี้นก(เนื้อผลดิบ) • มะละกอ(ราก) • ลำเจียก(ราก) • ว่านกีบแรด(เหง้า) • สน(แก่น) • สัก(แก่นหรือใบ) • สับปะรด(เหง้า) • สายน้ำผึ้ง(ดอก) • สารพัดพิษ(ผล) 4. ยาแก้ไข้; ยาช่วย 17 • สารส้ม • เสนียด(ใบหรือดอก) • ไส้หญ้าปล้อง • หญ้าขัดมอน(ราก) • หญ้าคา(เหง้าและราก) • หญ้าชันกาด(เหง้าและ ราก) • หญ้าไซ(ทั้งต้น) • หญ้าใต้ใบ(ทั้งต้น) • หญ้าถอดปล้อง(ทั้งต้น) • หญ้าพันงู(ราก) • หญ้าหนวดแมว(ใบอ่อน) • หมากผู้หมากเมีย(ใบ) • หวายตะค้า(เถา) • แห้วหมู(หัว) • อ้อยแดง(ลำต้น) • อินทนิลน้ำ(ใบ) • อีเหนียวเล็ก(ราก) 4. ยาแก้ไข้; ยาช่วย 18
  • 7. • ก้างปลาขาว(ราก) • ก้างปลาแดง(ราก) • เก๊กฮวย(ดอก) • งิ้ว(ดอก) • จันทน์แดง(แก่น) • จันทน์เทศ(แก่น) • ตำลึง(ใบ) • เตยหอม(ใบ) • ผักกระโฉม (ใบหรือต้น) • แฝกหอม(ราก) • พิมเสนต้น(ใบ) • พุงทะลาย (เปลือกหุ้ม เมล็ดที่พองตัวเต็มที่แล้ว) • เพกา(เมล็ด) • ฟ้าทะลายโจร (ใบหรือ ต้นก่อนมีผล) • มะระขี้นก (เนื้อผลดิบ) • สันพร้ามอญ (ต้นหรือใบ) • สันพร้าหอม (ต้นหรือใบ) • สายน้ำผึ้ง (ดอก) • หญ้าใต้ใบ (ต้น) 5. ยาแก้ร้อนใน; ยาตรง 19 • กระเจี๊ยบแดง(กลีบ เลี้ยงและริ้วประดับ) • กระพี้เขาควาย (เนื้อไม้) • แก้วแกลบ • ขลู่(ต้นหรือใบ) • ข้าวโพด(เกสรตัว เมีย) • ขี้ครอก(ต้น) • คงคาเดือด(เนื้อไม้) • โคกกระสุน(ต้น) • เฉียงพร้านางแอ (เปลือกต้น) • เดือย(เนื้อในเมล็ด) • โด่ไม่รู้ล้ม(ทั้งต้น) • ตะไคร้(ทั้งต้น) • ตับเต่าน้อย(ราก) • ตับเต่าใหญ่(ราก) • ถั่วเขียว(เมล็ด) • ไทรย้อย(ราก อากาศ) • น้ำเต้า(ผลหรือใบ) • บัวบก(ต้น) • บานไม่รู้โรยดอกขาว (ราก) • ผักกาดน้ำ(ต้น) 5. ยาแก้ร้อนใน; ยาช่วย 20 • ผักโขมหัด(ราก) • ผักโขมหิน(ราก) • มะเม่า(ราก) • มะละกอ(ราก) • ลำเจียก(ราก) • สัก(แก่นหรือใบ) • สับปะรด(เหง้า) • สารส้ม • ไส้หญ้าปล้อง • หญ้าคา(เหง้าและ ราก) • หญ้าชันกาด(เหง้า และราก) • หญ้าไซ(ทั้งต้น) • หญ้าตีนนก(ต้น) • หญ้าถอดปล้อง(ทั้ง ต้น) • หญ้าพันงู(ราก) • หญ้าหนวดแมว (ใบอ่อน) • หม่อน(ใบ) • หัวถั่วพู • แห้วหมู(หัว) • อ้อยแดง(ลำต้น) • อินทนิลน้ำ(ใบ) • อีเหนียวเล็ก(ราก) 5. ยาแก้ร้อนใน; ยาช่วย 21
  • 8. • คนทา(ราก) • จันทน์แดง(แก่น) • จันทน์เทศ(แก่น) • ชิงชี่(ราก) • เท้ายายม่อม(ราก) • เนระพูสี(ต้น) • ผักกระโฉม(ใบหรือต้น) • พญายอ(ใบ) • พิมเสนต้น(ใบ) • มหาสดำ(ต้น) • มะคำดีควาย(ผลแก่สุมไฟ) • มะเดื่อชุมพร(ราก) • มะระขี้นก(ใบ) • ย่านาง(รากหรือใบ) • ว่านกีบแรด(เหง้า) • สันพร้ามอญ(ต้น) • สันพร้าหอม(ต้นหรือใบ) 6. ยาบรรเทาหัด อีสุกอีใส; ยาตรง 22 • ชิงช้าชาลี (เถา) • บอระเพ็ด (เถา) 6. ยาบรรเทาหัด อีสุกอีใส; ยาช่วย 23 • กระลำพัก(จากแก่นสลัดได) • กฤษณา(เนื้อไม้) • เกล็ดสะระแหน่ • ขอนดอก(จากแก่นพิกุล) • จันทน์ชะมด(แก่น) • จันทน์เทศ(แก่น) • จันทน์หอม(เนื้อไม้) • ชะมดเช็ด(เมือกหรือไขจากต่อมกลิ่น) • ชะลูด(เปลือก) • เทียนขาว • เทียนข้าวเปลือก • เทียนดำ • เทียนแดง • เทียนตาตั๊กแตน • บัวหลวง(เกสร) • บุนนาค(ดอก) 7. ยาแก้ลมวิงเวียน; ยาตรง 24
  • 9. • เปราะหอม(หัว) • แฝกหอม(ราก) • พิกุล(ดอก) • พิมเสน • พิมเสนต้น(ใบ) • มะกรูด(ผิวผล) • มะงั่ว(ผิวผล) • มะนาว(ผิวผล) • มะลิ(ดอก) • ส้มเขียวหวาน(ผิวผล) • ส้มจีน(ผิวผล) • ส้มซ่า(ผิวผล) • ส้มตะรังกะนู(ผิวผล) • ส้มมือ(ผิวผล) • ส้มโอ (ผิวผล) • สมุลแว้ง(เปลือกต้น) • สารภี(ดอก) • หญ้าฝรั่น(เกสรตัวเมีย) • อบเชย(เปลือกต้น) 7. ยาแก้ลมวิงเวียน; ยาตรง 25 • กระดังงาไทย(ดอก) • กระทิง(ดอก) • การบูร • โกฐเขมา • โกฐจุฬาลัมพา • โกฐเชียง • โกฐสอ • โกฐหัวบัว • จำปา(ดอก) • จำปี(ดอก) • ลำเจียก(ดอก) • ลำดวน(ดอก) 7. ยาแก้ลมวิงเวียน; ยาช่วย 26 • ชะเอมเทศ(ราก) • พระจันทร์ครึ่งซีก(ทั้งต้น) • มะกล่ำต้น(ราก) • มะขามป้อม(เนื้อผล) • มะขามเปียก(เนื้อในฝัก) • มะเขือขื่น(ผล) • มะนาว(ผลหรือน้ำในผล) • มะแว้งเครือ(ผล) • มะแว้งต้น(ผล) • ส้มกุ้ง(ราก) • ส้มป่อย(ใบ) • สวาด(ใบ) • เสนียด(ใบ) 8. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ; ยาตรง 27
  • 10. • กระเจี๊ยบแดง(กลีบเลี้ยง และริ้วประดับ) • ขิง(เหง้า) • พลับจีน(ผล) • เพกา(เมล็ดแก่) • มะกรูด(น้ำในผล) • มะกล่ำเครือ(เถาหรือราก) • มะงั่ว(ผล) • มะเฟือง(ผล) • มะยม(ผล) • ไมยราบ(ราก) • เล็บเหยี่ยว(ผล) • ส้มจี๊ด(ผล) • ส้มซ่า(น้ำในผล) • สมอไทย(ผล) • สับปะรด(ผล) • หม่อน(ใบ) 8. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ; ยาช่วย 28 1. ขี้เหล็ก(แก่น) 2. โคคลาน(เถา) 3. แจง(ราก) 4. เถาเมื่อย (เถา) 5. เถาวัลย์เปรียง(เถา) 6. เถาเอ็นอ่อน(เถา) 7. มะคำไก่(ราก) 8. รางแดง(เถาและราก) 9. แส้ม้าทะลาย(เถา) 9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาตรง (ยาสำหรับใช้รับประทาน) 29 2 3 5 4 9 6 8 1 • กรรณิการ์(ราก) • กระเทียม(หัว) • กระพังโหม(ต้น) • กะทือ(เหง้า) • กะเพราขาว(ใบ) • กะเพราแดง(ใบ) • กานพลู(ดอก) • กำจัด(เปลือกผล) • กำลังช้างสาร(เนื้อไม้) • กำลังวัวเถลิง(เนื้อไม้) • กำลังเสือโคร่ง (เปลือกต้น) • กำลังหนุมาน(เนื้อไม้) • กุ่มน้ำ(เปลือกต้น) • กุ่มบก(เปลือกต้น) • เกลือสมุทร • เกลือสินเธาว์ • โกฐน้ำเต้า(เหง้า) • ขมิ้นชัน(เหง้า) • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • ข่า(เหง้า) • ข่าต้น(เนื้อไม้) • ข่าลิง(เหง้า) • ขิง(เหง้า) • ขี้เหล็ก(ดอก) 9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้รับประทาน) 30
  • 11. • คูน(เนื้อในฝักแก่) • จันทน์เทศ (รกหรือ เมล็ด) • เจตพังคี(ราก) • ช้าพลู(ราก) • ชุมเห็ดเทศ(ใบหรือดอก) • ดีเกลือ • ดีปลี(ผล) • ตองแตก(ราก) • เทพทาโร (เปลือกต้น หรือเนื้อไม้) • เทียนขาว • เทียนข้าวเปลือก • เทียนดำ • เทียนแดง • เทียนตาตั๊กแตน • เทียนเยาวพาณี • เทียนสัตตบุษย์ • เปราะป่า(หัว) • เปราะหอม(หัว) • เปล้าน้อย(ใบ) • เปล้าใหญ่(ใบ) • ผักชีลา(ผล) • ผักชีล้อม(ผล) 9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้รับประทาน) 31 • ผักแพวแดง(ต้น) • แฝกหอม(ราก) • พริกไทย(เมล็ดหรือผล) • พริกหอม(ผล) • พริกหาง(ผล) • มะกา(ใบ) • มะขามแขก(ใบหรือฝัก) • มะขามเปียก(เนื้อในฝัก) • ยาดำ • เร่ว(เมล็ดหรือผล) • สมอดีงู(ผล) • สมอเทศ(เนื้อผล) • สมอไทย(เนื้อผล) • สมุลแว้ง(เปลือกต้น) • สะค้าน(เถาหรือผล) • สายน้ำผึ้ง(เถา) • หม่อน(กิ่ง) • หัสคุณเทศ(ต้น) • แห้วหมู(หัว) • อบเชย(เปลือกต้น) 9. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้รับประทาน) 32 1. โคคลาน(เถา) 2. เถาวัลย์เปรียง(เถา) 3. เถาเอ็นอ่อน(เถา) 4. น้ำมันระกำ 5. ไพล(เหง้าหรือน้ำมันจากเหง้า) 6. ว่านเอ็นเหลือง(เหง้า) 10. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 33 1 2 3
  • 12. • กานพลู(ดอกหรือน้ำมันจากดอก) • การบูร • เกล็ดสะระแหน่ • น้ำมันเขียว • พิมเสน 10. ยากษัยเส้นหรือยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 34 • โกฐกักกรา • ขลู่(ต้น) • ผักแพวแดง(ต้น) • พลูแก(เถา) • เพชรสังฆาต(เถา) • แพงพวยน้ำ(ต้น) • อัคคีทวาร(ต้น) 11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาตรง 35 • กรรณิการ์(ราก) • กระเทียม(หัว) • กระพังโหม(ต้น) • กะทือ(เหง้า) • กะเพราขาว(ใบ) • กะเพราแดง(ใบ) • กานพลู(ดอก) • กำจัด(เปลือกผล) • กุ่มน้ำ(เปลือกต้น) • กุ่มบก(เปลือกต้น) • เกลือสมุทร • เกลือสินเธาว์ • โกฐน้ำเต้า(เหง้า) • ขมิ้นชัน(เหง้า) • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • ข่า(เหง้า) • ข่าต้น(เนื้อไม้) • ข่าลิง(เหง้า) • ขิง(เหง้า) • ขี้เหล็ก(ดอก) • คูน(เนื้อในฝักแก่) • จันทน์เทศ(รกหรือ เมล็ด) 11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาช่วย 36
  • 13. • เจตพังคี(ราก) • ช้าพลู(ราก) • ชุมเห็ดเทศ (ใบหรือดอก) • ดีเกลือ • ดีปลี(ผล) • ตองแตก(ราก) • เทพทาโร (เปลือก ต้นหรือเนื้อไม้) • เทียนขาว • เทียนข้าวเปลือก • เทียนดำ • เทียนแดง • เทียนตาตั๊กแตน • เทียนเยาวพาณี • เทียนสัตตบุษย์ • เปราะป่า(หัว) • เปราะหอม(หัว) • เปล้าน้อย(ใบ) • เปล้าใหญ่(ใบ) • ผักชีล้อม(ผล) • ผักชีลา(ผล) 11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาช่วย 37 • แฝกหอม(ราก) • พริกไทย(เมล็ดหรือผล) • พริกหอม(ผล) • พริกหาง(ผล) • มะกา(ใบ) • มะขามแขก(ใบหรือฝัก) • มะขามเปียก(เนื้อในฝัก) • ยาดำ • เร่ว(เมล็ดหรือผล) • สมอดีงู(ผล) • สมอเทศ(เนื้อผล) • สมอไทย(เนื้อผล) • สมุลแว้ง(เปลือกต้น) • สะค้าน(เถาหรือผล) • หัสคุณเทศ(ต้น) • แห้วหมู(หัว) • อบเชย(เปลือกต้น) 11. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก; ยาช่วย 38 • ไข่เน่า(เปลือกต้น) • ตานทั้งห้า • ถอบแถบเครือ(ต้นยกเว้นผล) • ทองหลางใบมน(ใบ) • มะกล่ำต้น(เมล็ดใน) • มะขาม(เนื้อในเมล็ด) • มะหาด(เนื้อไม้) • เล็บมือนาง(ผลหรือราก) • สะแก(เมล็ดคั่ว) 12. ยาถ่ายพยาธิตัวกลม; ยาตรง 39
  • 14. • โกฐน้ำเต้า(เหง้า) • ขิง(เหง้า) • คูน(เนื้อในฝักแก่) • ดีเกลือ • ตองแตก(ราก) • นํ้าเต้า(เมล็ด) • บวบเหลี่ยม(เนื้อในเมล็ด) • ผักเสี้ยนผี(ทั้งต้น) • มะกา(ใบ) • มะขามแขก(ใบหรือฝัก) • มะขามเปียก(เนื้อในฝัก) • ยาดำ • สมอดีงู(ผล) • สมอเทศ(เนื้อผล) • สมอไทย(เนื้อผล) 12. ยาถ่ายพยาธิตัวกลม; ยาช่วย 40 • ขันทองพยาบาท(เนื้อไม้) • ข้าวเย็นใต้(หัว) • ข้าวเย็นเหนือ(หัว) • คงคาเดือด(เปลือกต้น) • ทองพันชั่ง(ใบหรือราก) • เหงือกปลาหมอ(ทั้งต้น) 13. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาตรง (ยาสำหรับใช้รับประทาน) 41 •ขมิ้นอ้อย(เหง้า) •มะยม(ราก) •สารส้ม 13. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้รับประทาน) 42
  • 15. • ขมิ้นชัน(เหง้า) • คงคาเดือด(เปลือกต้น) • ทองพันชั่ง(ใบ) • พลู(ใบหรือน้ำมันจากใบ) • สำมะงา(ใบ) • เหงือกปลาหมอ(ทั้งต้น) 14. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 43 • กำมะถันเหลือง • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • ข่า(เหง้า) • ชุมเห็ดเทศ(ใบ) • ดินสอพอง • พิมเสน • ว่านนางคำ(เหง้า) • สารส้ม 14. ยาบรรเทาอาการผื่นคันตามผิวหนัง; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 44 • กระเทียม(หัว) • กำมะถันเหลือง • ขันทองพยาบาท(เปลือกต้น) • ข่า(เหง้า) • ข่าแดง(เหง้า) • ข่าลิง(เหง้า) • ข่าใหญ่(เหง้า) • คนทีเขมา(ใบ) • คนทีสอ(ใบ) • ชุมเห็ดเทศ(ใบ) • ทองพันชั่ง(ใบ) • พลู(ใบหรือน้ำมันจากใบ) • สะบ้ามอญ(เนื้อในเมล็ด) • เหงือกปลาหมอ(ทั้งต้น) 15. ยาแก้กลากเกลื้อน; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 45
  • 16. • คูน(ราก) • จามจุรี(เมล็ด) • ชะมดต้น(ใบ) • ตีนเป็ดน้ำ(กระพี้หรือใบ) • เทียนกิ่ง(ใบ) • น้อยหน่า(ใบ) • โมกหลวง(เปลือกต้น) 15. ยาแก้กลากเกลื้อน; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 46 • กระเบา(เมล็ด) • กระเบียน(เมล็ด) • กำมะถันเหลือง • น้อยหน่า(เมล็ด) • สะบ้ามอญ(เนื้อในเมล็ด) • หนอนตายหยาก(ราก) 16. ยาแกหิด; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 47 • แก้ว (ราก) • ขี้กาแดง (ใบหรือราก) • เขยตาย (เปลือก ต้น,รากหรือใบ) • จักรนารายณ์ (ใบ) • ต้อยติ่ง (เมล็ด) • ทับทิม (เปลือกผล) • เทียนกิ่ง (ใบ) • เทียนบ้าน (ใบหรือ ดอก) • ฟ้าทะลายโจร (ใบ หรือต้นก่อนมีผล) • มังคุด (เปลือกผล) • ว่านมหากาฬ (ใบ) • ว่านหางจระเข้ (วุ้นจากใบ) • สีเสียดเทศ (สิ่งสกัด จากกิ่งและใบโดย การต้มเคี่ยวกับน้ำ) • สีเสียดไทย (สิ่งสกัด จากเนื้อไม้โดยการ ต้มเคี่ยวกับน้ำ) • สีเสียดเปลือก (เปลือกต้น) • หมากสง (เมล็ด) • เหงือกปลาหมอ (ทั้งต้น) 17. ยาบรรเทาฝีแผล; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 48
  • 17. • กระโดน(ผล) • โกฐน้ำเต้า(ที่ยังไม่ทำให้สุก) • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • ชบา(ราก) • ชา (ใบ) • ทองหลางใบมน (ใบ) • เบญกานี(Gall) • ยางสน 17. ยาบรรเทาฝีแผล; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 49 • โกฐน้ำเต้า(ที่ยังไม่ทำให้สุก) • ขมิ้นชัน(เหง้า) • ขมิ้นอ้อย(เหง้า) • น้ำมันงา • น้ำมันมะพร้าว • ว่านมหากาฬ(ใบ) • ว่านหางจระเข้(วุ้นจากใบ) 18. ยาทาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 50 • เกล็ดสะระแหน่ • พญายอ(ใบ) • เสลดพังพอนตัวผู้(ใบ) 19. ยาทาบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย; ยาตรง (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 51
  • 18. • กานพลู (ดอกหรือน้ำมันจากดอก) • การบูร • ขมิ้นชัน (เหง้า) • น้ำมันเขียว • พิมเสน 19. ยาทาบรรเทาอาการแมลงกัดต่อย; ยาช่วย (ยาสำหรับใช้ภายนอก) 52 • ยาตรง • ฟ้าทะลายโจร (ใบหรือต้นก่อนมีผล) 20. ยาทาบรรเทาอาการเจ็บคอ • ยาช่วย • เกล็ดสะระแหน่ • ชะเอมเทศ (ราก) • พิมเสน • มะขามป้อม(ผล) • สายน้ำผึ้ง(ดอก) 53 • ยาตรง • เบญกานี (Gall) • เบี้ยผู้ • ลิ้นทะเล 21. ยาทาแก้ลิ้นเป็นฝ้า • ยาช่วย • เกล็ดสะระแหน่ • พิมเสน • สีเสียดเทศ (สิ่งสกัดจาก กิ่งและใบโดยการต้ม เคี่ยวกับน้ำ) • หมากสง (เมล็ด) 54
  • 19. • ยาตรง • การบูร • เกล็ดสะระแหน่ • น้ำมันยูคาลิปตัส • พิมเสน • ส้มมือ (ผล) 22. ยาทาหรือดมบรรเทาอาการคัดจมูกเนื่องจากหวัด • ยาช่วย • มะกรูด(ผิวผล) • มะงั่ว(ผิวผล) • มะนาว(ผิวผล) • ส้มเขียวหวาน(ผิวผล) • ส้มจีน(ผิวผล) • ส้มจุก(ผิวผล) • ส้มซ่า(ผิวผล) • ส้มตะรังกะนู(ผิวผล) • ส้มโอ(ผิวผล) 55 • เครื่องยาที่เป็นยาตรงในกลุ่มยาสามัญประจำบ้าน มีทั้งหมด 22 กลุ่มอาการ มียาช่วยในบางกลุ่ม อาการ • เภสัชวัตถุเป็นลักษณะของ พืชวัตถุ ธาตุวัตถุ และสัตว์วัตถุ • เป็นยารับประทาน ยาใช้ภายนอก และยาใช้ เฉพาะที่ สรุป 56 57
  • 20. µÑÇÍ‹ҧ ÇÔà¤ÃÒÐˏµÓÃѺÂÒ 58 ส่วนประกอบ ปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณ 2 บาท 4 บาท 5 บาท 8 บาท 10 บาท อื่นๆ ตรีกฏุก รากแจง แก่นขี้เหล็ก ดีเกลือ ใบมะกา มะกรูด 2 ผล เถาวัลย์เปรียง ยาดำ ฝาง รากตองแตก ฝักคูน 7 ฝัก สักขี ไพล เปล้าทั้ง 2 กระทือ เกลือ สมอทั้ง 3 59 เครื่องยา สรรพคุณ ใบมะกา แก้โรคกระษัย ถ่ายพิษไข้ ถ่ายพิษตานซาง ยาระบายอ่อนๆ รากตองแตก ยาถ่าย ถ่ายลมเป็นพิษ ถ่ายพิษพรรดึก ถ่ายเสมหะเป็นพิษ ดีเกลือ ยาถ่าย แก้พรรดึก ยาดำ ยาถ่าย แก้พรรดึก ฝักคูน 7 ฝัก ยาระบาย ตรีสมอ แก้เสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง ตัวยาหลัก 60
  • 21. เครื่องยา สรรพคุณ สมอไทย มีฤทธิ์ฝาดสมาน แก้เจ็บคอ ออกฤทธิ์ต่อปอด กระเพาะ และลำไส้แก้ ท้องผูก โรคท้องมาน แก้ท้องร่วงเรื้อรัง สมอพิเภก แก้บิด ยาระบาย บำรุงร่างกาย กระตุ้นการหลั่งน้ำดี สมอเทศ ยาระบายรู้ถ่ายรู้ปิดเอง ถ่ายไข้ แก้เสมหะ ลมเดินสะดวก ตรีสมอ แก้เสมหะ บำรุงธาตุ แก้ไข้ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง 61 ตัวยาหลัก เครื่องยา สรรพคุณ กระทือ แก้ร้อนใน บำรุงน้ำนม บำรุงธาตุ แก้บิด ปวดเบ่ง ไพล เป็นแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม บิด ท้องเดิน ขับประจำเดือน เกลือ กัดเสมหะ เมือกมัน สักขี แก้รัตตะปิตตะโรค ไข้พิษ อุจจาระธาตุพิการ บำรุงโลหิต แก้อาเจียน มะกรูด ขับลมในลำไส้ บำรุงหัวใจ ตัวยาช่วย 62 เครื่องยา สรรพคุณ รากแจง บำรุงกำลัง แก้ปัสสาวะพิการ แก้กระษัย ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ เถาวัลย์เปรียง คลายเส้น กล้ามเนื้อ เปล้าใหญ่ เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ผ่อนคลาย แก้ปวดเมื่อย แก้ผดผื่นคัน เปล้าน้อย แก้บำรุงธาตุ ขับเสมหะ ยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร ริดสีดวง ตรีกฎุก แก้โรคที่เกิดจากวาตะ(ลม) เสมหะ และปิตตะ(ดี) ในกองธาตุ กองฤดู กองอายุ และกองสมุฏฐาน ฝาง แก้ท้องร่วง แก้ธาตุพิการ 63 ตัวยารอง
  • 22. เครื่องยา สรรพคุณ เหง้าขิงแห้ง รักษาอาการท้องอืด เฟ้อ เสียดท้อง อาหารไม่ย่อย ปวดเกร็งช่องท้อง แก้คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย พริกไทย ขับลม ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ บำรุงธาตุ  อาหารไม่ย่อย ดีปลี ขับลม ลดอาการไอ  ระคายคอจากเสมหะ ลดอาการท้องอืดท้อง เฟ้อแน่นจุกเสียด  บำรุงธาตุไฟ แก้ปวดท้อง  แก้คลื่นไส้  อาเจียน  ตรีกฎุก แก้โรคที่เกิดจากวาตะ(ลม) เสมหะ และปิตตะ(ดี) ในกองธาตุ กองฤดู กองอายุ และกองสมุฏฐาน 64 ตัวยารอง ส่วนประกอบ ปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณปริมาณ 2 บาท 4 บาท 5 บาท 8 บาท 10 บาท อื่นๆ ตรีกฏุก รากแจง แก่นขี้เหล็ก ดีเกลือ ใบมะกา มะกรูด 2 ผล เถาวัลย์เปรียง ยาดำ ฝาง รากตองแตก ฝักคูน 7 ฝัก สักขี ไพล เปล้าทั้ง 2 กระทือ เกลือ สมอทั้ง 3 ยาระบาย แก้พรรดึก แก้กษัยเส้น 65 เครื่องยา สรรพคุณ มะกา •จากการทดลองฤทธิ์ระบายกับผู้ป่วยท้องผูก ด้วยการใช้ใบแห้งในขนาด 1.5-2 กรัม นำมาชงกับน้ำเดือด แล้วแช่ไว้นาน 10-20 นาที ใช้ดื่มก่อน นอน พบว่าได้ผลดี แต่มีอาการข้างเคียงคือ ปวดท้อง คลื่นไส้[1] •มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบ รากตองแตก •รากตองแตกมีอนุพันธุ์ของ phorbol ester เช่น baliospermin และ montanin เป็นสารที่ทำให้ถ่ายและมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ มะเร็งได้ในหลอดทดลอง[3] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 66
  • 23. เครื่องยา สรรพคุณ ดีเกลือ มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายอย่างแรง เดิมใช้ดีเกลือไทย (โซเดียมซัลเฟต) ซึ่งอาจมีปัญหา ทำให้บวมน้ำ และมีปัญหากับไต หัวใจ ปัจจุบันจึงให้ใช้เฉพาะดีเกลือฝรั่ง เป็น สารจำพวกแมกนีเซียมซัลเฟต หรือเรียกว่า เกลือยิปซั่ม (Epsom salt) ขนาด ที่ใช้ ๑๐-๑๕ กรัมต่อครั้ง วันละครั้งเดียว เป็นยาถ่ายที่ออกฤทธิ์เร็ว ภายในครึ่ง ถึงหนึ่งชั่วโมง ต้องระมัดระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยโรคไต และผู้ป่วย ที่ต้องจำกัดเกลือแมกนีเซียม[4] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 67 เครื่องยา สรรพคุณ ยาดำ •มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน หลายชนิด เช่น aloin, barbaloin (aloe-emodin) รับประทานมากเกินไปจะทำให้ท้องเสีย และปวดท้องอย่างรุนแรง เพราะลำไส้ บิดเกร็งตัว อ่อนเพลีย ไตอักเสบ และมีอาการแทรกซ้อน อื่นๆได้ หญิงมีครรภ์ ห้ามรับประทานเพราะทำให้แท้งได้[5] ฝักคูน •มีสารกลุ่มแอนทราควิโนน หลายชนิด เช่น aloin , rhein, sennoside A, sennoside B, fistulic acid การกินมากเกินไปอาจทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ ท้อง อืด และปวดมวนท้อง มีฤทธิ์ระบายโดยการกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้ใหญ่ จึงไม่ ควรกินติดต่อกันนาน เพราะเมื่อไม่ได้รับยาจะทำให้ลำไส้ไม่ทำงานตามปกติ[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 68 เครื่องยา สรรพคุณ แก่นขี้เหล็ก •มีสารกลุ่มแอนทราควิโนนหลายชนิด มีฤทธิ์เป็นยาระบาย[8] สมอไทย •ประกอบด้วยสาร gallic acid, chebulic acid, chebulinic acid, chebulagic acid, corilagin, terchebin, glucogallin, ellagic acid, sennoside A, chebulin, catechol, tannic acid ยับยั้งเชื้อ แบคทีเรีย Samonella และ Shigella[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 69
  • 24. เครื่องยา สรรพคุณ สมอพิเภก •มีฤทธิ์ช่วยต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา ต้านยีสต์ ช่วยเร่งการ สร้างน้ำดี ช่วยรักษาดีซ่าน ช่วยลดอาการอักเสบ[6] มะกรูด •ผิวมะกรูดมีน้ำมันระเหยง่ายร้อยละ 4 มีองค์ประกอบหลักเป็น “เบตาไพ นีน”(beta-pinene) ประมาณร้อยละ 30 , “ลิโมนีน”(limonene)  ประมาณร้อยละ 29 , beta-phellandrene, citronellal นอกจากนี้ยังพบ linalool, borneol, camphor, sabinene, germacrene D, aviprin, umbelliferone, bergamottin[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 70 เครื่องยา สรรพคุณ ไพล •น้ำมันระเหยง่าย มีสารสำคัญที่เป็นองค์ประกอบ เช่น sabinene, caryophyllene, cineol, alpha-pinene, beta-pinene, myrcene, terpinene, limonene, p-cymene, terpinolene, eugenol, farneraol, alflabene, 3,4 dimethoxy benzaldehyde,  4-(4- hydroxyl-1-butenyl)-veratrole, naphthoquinone derivative, vanillin, vanillic acid, veratric acid, β-sitosterol, สารสีเหลือง curcumin, cassumunarins A, B, C  •สารที่ลดการอักเสบคือ (1)(E)-4(3’,4’-dimethylphenyl) but-3-ene มีฤทธิ์ขยายหลอดลม มีการทดลองในผู้ป่วยเด็กที่เป็นหืด พบว่าให้ผลดีทั้งในรายที่มีอาการหอบหืดแบบเฉียบพลัน มี ฤทธิ์กดหัวใจ ต้านเชื้อรา ต้านเชื้อแบคทีเรีย ลดการอักเสบ แก้ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กระตุ้น การผลิตน้ำดีง ต้านออกซิเดชั่น ต้านฮิสตามีน คลายกล้ามเนื้อมดลูก ลดการหดเกร็งของลำไส้ คลายกล้ามเนื้อเรียบ[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 71 เครื่องยา สรรพคุณ เปล้าน้อย •ใบมีสารสำคัญคือ “เปลาโนทอล” (plaunotol) ทำให้การหลั่งกรดในกระเพาะน้อยลง และกระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อทำให้แผลหายเร็วขึ้น มีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหาร[5] เปล้าใหญ่ •มีสารองค์ประกอบอยู่ในกลุ่มแทนนินส์ ทั้งเป็น Condensed tannins และ Hydrolysable tannins ในปริมาณไม่สูงมากนัก มีสารฟลาโวนอยด์ประเภท Anthocyanidin, Catechin, Dihydroflavonol, Flavonol, Hydroflavonoids และ Leucoanthocyanidin[7] •สารสกัดจากเปล้าใหญ่นี้ไม่มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ ทั้งในภาวะที่มีและไม่มีเอนไซม์ แต่ สามารถลดฤทธิ์ในการก่อกลายพันธุ์ของสารมาตรฐานที่ทดสอบได้เป็นอย่างดี เมื่อมีการ ทำงานของเอนไซม์ในตับร่วมด้วย โดยมีค่า IC50 = 5.78 และ 4.04 มก./plate[7] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 72
  • 25. เครื่องยา สรรพคุณ เปล้าใหญ่ •สารกสัดจากลำต้นยังมีสารในกลุ่มอัลคาลอยด์ที่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระสูง (EC50 = 36.05 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราที่สาเหตุของโรคกลาก (ที่ความเข้มข้น 8 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการ ต้านเชื้อแบคทีเรีย S. aureus ที่ทำให้เกิดโรคแผลฝีหนองและเชื้อ V. cholerae ซึ่งเป็นสาเหตุของ โรคอหิวาตกโรค (ที่ความเข้มข้น 3.125 มก./มล.), มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย S. mutans ที่ทำให้ เกิดโรคในช่องปาก (ที่ความเข้มข้น 0.39 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Shigella ที่ ทำให้เกิดโรคบิด (ที่ความเข้มข้น 12.5 มก./มล.), มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อไวรัสโรคเริม Herpes simplex virus type 1 (IC50 = 40.06 มก./มล.), มีฤทธิ์กระตุ้นการเพิ่มจำนวนของเซลล์ ภูมิคุ้มกันชนิดทีเซลล์และบีเซลล์ (ที่ความเข้มข้น 3.13-200 มก./มล.), มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งตับปาน กลาง (IC50 = 378.4±18.7 มก./มล.) โดยพบว่ามีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติบ้าง แต่ไม่พบว่าจะ สามารถเหนี่ยวนำให้เซลล์มะเร็งตับตายแบบอะพอพโทซิส เมื่อเซลล์ได้รับสารสกัดนาน 1 วัน[7] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 73 เครื่องยา สรรพคุณ เหง้าขิงแห้ง •มีสารที่ให้รสเผ็ดร้อน gingerols. สาร shogaols, น้ำมันหอมระเหยและชัน(oleoresin) 4.0-7.5% ประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหย 1.0-3.3% สารประกอบหลัก คือ sesquiphellandrene hydrocarbon 30-70% (เป็นสารที่ให้กลิ่นหอม) ได้แก่ (-)- zingiberene, (+)-ar-curcumene, (-)-beta-sesquiphellandrene, beta- bisabolene, camphene, alpha-pinene, nerol, geranyl acetate, linalool, borneol •กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจหนู ขับน้ำดี ทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้บีบตัวเพิ่มขึ้น ยับยั้งเชื้อ H.pylori ต้านการอักเสบ ป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ บรรเทาอาการปวด กล้ามเนื้อ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย ช่วยเจริญอาหาร ต้านการอักเสบ กระตุ้น การไหลเวียนเลือด[5 ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 74 เครื่องยา สรรพคุณ พริกไทย • ในผลมีน้ำมันระเหยง่ายอยู่  0.8%  และพบสารอัลคาลอยด์ piperine และ piperettine เป็นองค์ประกอบหลักและพบอัลคาลอยด์อื่นๆ เช่น  chavicine, piperyline, piperoleines A, B, C   piperanine  •กระตุ้นการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ลดภาวะท้องเดิน มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ลดการ อักเสบ ต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ต้านเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก ยับยั้งเอนไซม์ acetylcholine esterase  •การศึกษาทางคลินิก: ยาสมุนไพรที่มีขมิ้นและพริกไทยเป็นส่วนประกอบ มีฤทธิ์ฆ่า พยาธิตัวจี๊ด[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 75
  • 26. เครื่องยา สรรพคุณ ดีปลี •สารกลุ่ม  alkaloids เช่น piperine 4-5% , piperanine , pipernonaline , dehydropipernonaline , piperlonguminine , piperrolein  B สารกลุ่ม phenolic  amides เช่น  retrofractamide       •น้ำมันหอมระเหย 1%  ประกอบด้วย  terpinolene , caryophyllene , p-cymene , thujene , dihydrocarveol •มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อรา  ต้านการเกิดแผลที่กระเพาะอาหาร  ต้านออกซิ เดชั่น ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว สารสกัดปิโตรเลียมอีเทอร์ทำให้สัตว์ทดลองแท้ง จึง ควรระวังการใช้ในสตรีมีครรภ์[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 76 เครื่องยา สรรพคุณ เถาวัลย์เปรียง • มีสารกลุ่ม isoflavone glycoside ได้แก่ eturunagarone, 4,4’-di-O-methylscandenin, lupinisol A, 5,7,4’-trihydroxy-6,8-diprenylisoflavone. •สารกลุ่มคูมาริน ได้แก่ 3-aryl-4-hydroxycoumarins  สารกลุ่มสเตียรอยด์ได้แก่ lupeol, taraxerol, b-sitosterol  สารอื่นๆ เช่น 4-hydroxy-3-methoxy benzoic acid, 4- hydroxy-3,5-dimethoxy benzoic acid •สารสกัดน้ำจากเถามีฤทธิ์ต้านการอักเสบ (ยับยั้งการสร้าง leukotriene B, ลดการหลั่ง myeloperoxide, ลดการสร้าง eicosanoid), ลดการอักเสบที่อุ้งเท้าหนู, สารสกัดน้ำมีฤทธิ์ต้าน อนุมูลอิสระ,สารสกัดบิวทานอล และสารประกอบประเภท rhamnosyl-(1,6)- glucosylisoflavone มีฤทธิ์ลดความดันโลหิต, สารสกัดด้วย 50% เอทานอล มีฤทธิ์กระตุ้น ภูมิคุ้มกัน, ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์, ฤทธิ์ต้านเชื้อรา ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 77 เครื่องยา สรรพคุณ เถาวัลย์เปรียง • การศึกษาทางคลินิก: -บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง  การเปรียบเทียบสรรพคุณของสารสกัดเถาวัลย์เปรียงกับยาได โคลฟีแนค ในการเป็นยาบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง พบว่าเมื่อให้ผู้ป่วย รับประทานสารสกัด เถาวัลย์เปรียงบรรจุแคปซูลขนาด 200 มก. วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน เปรียบเทียบกับผู้ป่วย กลุ่มที่รับประทานยาไดโคลฟีแนคขนาด 25 มก. วันละ 3 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน ผลพบว่าสารสกัด เถาวัลย์เปรียงสามารถลดอาการปวดหลังส่วนล่างได้ไม่แตกต่างจากการใช้ยาไดโคลฟีแนค -กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย   การศึกษาประสิทธิผลของเถาวัลย์เปรียงในอาสาสมัครสุขภาพดี เมื่อได้รับประทานสารสกัดเถาวัลย์เปรียงทีสกัดด้วย 50% เอทานอล ขนาดวันละ 400 มก. นาน 2 เดือน ไม่พบความผิดปกติของระบบต่างๆของร่างกาย และพบว่าสารสกัดเพิ่มการหลั่งของ IL-2 และ gamma–IFN แสดงว่าสารสกัดมีฤทธิ์เสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายได้[5] ข้อมูลทางเภสัชวิทยา 78
  • 27. อ้างอิง 79 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. 2556 2. หนังสือสมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล). “มะกา”. หน้า 66. 3. การใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนเขาตายิ้ม อ.เมือง จ.ตราด, สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้ พ.ศ. 2549. (ชูจิตร อนันตโชค, ทรรศนีย์ พัฒนเสร, วจีรัตน์ บุญญะปฏิภาค). “มัดกา, มะกา”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: forprod.forest.go.th/forprod/chemistry/pdf/1.66.pdf. [13 พ.ค. 2014]. 4. อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.  “ตองแตก”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: www.pharmacy.mahidol.ac.th/siri/. 5. http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/197/เบญจอำมฤต-รักษามะเร็งตับ/ 6. http://www.thaicrudedrug.com 7. ข้อมูลจาก : สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) 8. โครงการจัดทำฐานข้อมูลพืชสมุนไพรที่สำรวจและวิจัยภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น.  สำนักงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ ราชดำริ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.  “เปล้าใหญ่“.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: orip.kku.ac.th/thaiherbs/. 9. สารแอนทราควิโนนในพชื สมุนไพรไทย เข้าถึงได้จาก: http://www.agro.cmu.ac.th/absc/data/57/57-014.pdf Thank you for your Attention. 80