SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
รายงานแผนการตลาด

         TOT CALL CENTER

                     เสนอ
     รองศาสตราจารย เพลินทิพย โกเมศโสภา
ผูชวยศาสตราจารย ดร. สมเกียรติ เอียมกาญจนาลัย
                                    ่



                   จัดทําโดย

นายทักษิณ ดวงนอย              508 26572 26
นางสาวธูปทิพย มีเจริญ          508 26600 26
นางสาววัชรี ศิริมหัทธโน         508 26806 26
นางสาววาราดา โตงามรักษ         508 26812 26
นางสาวศิริพร พงศวญู
                    ิ           508 26841 26
นางสาวสิรลดา บุรณศิริ
         ิ                      508 26864 26
นายสุพจน ชวลิตรุจิวงษ         508 26870 26
นางสาวอตินุช ทองปุสสะ           508 26909 26
นายพัฒน ดํารงรัตน             508 27028 26




                                                  2
สารบัญ

                                      หัวขอ                                         หนา
บทสรุปผูบริหาร (Executive Summary)
                                                                                     4
ขอมูลบริษท (Company Profile)
           ั                                                                          5
ประวัติบริษัท (Company Background)                                                    6
ที่มาของผลิตภัณฑ (Product Background)                                                7
จุดเดนของผลิตภัณฑ (Unique Selling Point)                                            8
การวิเคราะหสถานการณ (Situation Analysis)                                            9
             การวิเคราะหตลาดCall center (Market Analysis)
             การวิเคราะหคูแขงที่สําคัญ (Competitor Analysis)
             การวิเคราะหผูบริโภค (Customer Analysis)
             การวิเคราะหผูบริโภคเชิงลึกของทีโอที Call center
             การวิเคราะหสภาพแวดลอมของทีโอที Call center (Environmental Analysis)
การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดทางการตลาด (SWOT Analysis)              21
วัตถุประสงคทางการตลาด (Marketing Objectives)                                        23
แผนกลยุทธ STP (STP Strategies)                                                      24
             การแบงสวนตลาด (Segmentation)
             การกําหนดตลาดเปาหมาย (Target Market)
             การวางตําแหนงผลิตภัณฑ (Positioning)
             กลยุทธ (Key Strategy)
กลยุทธสวนผสมทางการตลาด (Marketing Mixes)                                           28
             กลยุทธผลิตภัณฑ (Product Strategy)
             กลยุทธราคา (Price Strategy)
             กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย (Place Strategy)
             กลยุทธการสงเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ (Promotion Strategy)
แผนปฏิบัติการ (Action Plans)                                                         36
             แผนปฏิบัติการดานชองทางการจัดจําหนาย
             แผนปฏิบัติการดานการสงเสริมการขาย
ประมาณการงบประมาณ (Budget)                                                           46
การประเมินและควบคุมผลทางการตลาด (Evaluation and Control)                             48
บรรณานุกรม                                                                           51



                                                                                            3
บทสรุปผูบริหาร (EXECUTIVE SUMMARY)

ระบบศูนยบริการลูกคา (Call center) เปนระบบหนึ่งที่ชวยสงเสริมการบริหารงานลูกคาสัมพันธ (Customer
Relationship Management : CRM) ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงทําใหองคกรธุรกิจ และองคกรรัฐบาลสวน
ใหญทาการจัดตั้ง Call Center ขึ้น ซึ่งบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ก็เชนเดียวกันในป 2547 มีการจัดตั้ง
        ํ
Call Center 1111 เพื่อเปนการใหบริการขอมูลของแกประชาชนให และ Call Center 1100 ซึ่งลูกคาสามารถ
สอบถามขอมูลที่เกี่ยวกับ ทีโอที ไดทุกเรื่อง ทั้งขอมูลสินคาและบริการ ขอมูลเกี่ยวกับใบแจงคาบริการ บริการ
รับแจงโทรศัพทขัดของ บริการรับเรื่องรองเรียนตางๆของ ทีโอที แตเนี่องดวยยุคโลกาภิวัฒนที่สังคมและธุรกิจ
มีการเคลื่อนไหวและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ทั้งทางดานเทคโนโลยี ขอมูลขาวสาร การจัดการองคกรและลูกคา
จึงทําใหองคกรธุรกิจตางๆทีตองการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันแตไมสามารถจัดทํา Call Center ที่เทา
                              ่
ทันเทคโนโลยี และบริหารดวยความชํานาญดวยตนเองได ไมวาจะดวยปญหา ดานการเงินที่จะตองลงทุนเปน
จํานวนเงินที่สง ดานคุณภาพและความยืดหยุนของการทํางาน ดานกลยุทธที่ดําเนินตามวัตถุประสงคของ
                ู
องคกร ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนเหตุปจจัยที่ทําใหธุรกิจรับทํา Call Center หรือที่เรียกกันวา Call Center Outsourcing
เกิดขึ้น

ตลาด Outsourcing ของ call center มี บริษัท วันทูวัน คอนแทคส จํากัด เปนผูนาตลาด โดยครองสวนแบง
                                                                                ํ
ตลาด 25% รองลงมาคือ บริษัท ทรูทช จํากัด มีสวนแบงตลาด คิดเปน 10% และ บริษัท ทีโอที จํากัด
                                        ั
(มหาชน) เปนอันดับสามดวยสวนแบงตลาด 5% แตอยางไรก็ดี สวนแบงการตลาดของบริษัท ทีโอที ยังมี
โอกาสเพิ่มขึ้นไดอีก เนื่องจากมีคแขงหลักนอยราย และแตละรายไมไดใหความสําคัญในการทําตลาดอยาง
                                    ู
จริงจัง ทางทีโอทีไดเล็งเห็นชองวางของโอกาสนี้ จึงหันมาทบทวนแผนการตลาดของทีโอที Call center โดย
พิจารณาจุดออนและจุดแข็ง พบวา ทีโอที Call center มีจุดแข็งที่สําคัญคือ เปนระบบทีครอบคลุมการใหบริการ
                                                                                  ่
ทั่วประเทศไทย รวมทั้งมีความมั่นคง และนาเชือถือ เนื่องจากเปนหนวยงานขององคกรของภาครัฐบาล
                                                   ่
ขณะเดียวกันก็มีจดออนที่ตองแกไขคือ ความไมชัดเจนในการกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑในกลุม รวมถึงเรื่อง
                  ุ
ของการสงเสริมการขายและประชาสัมพันธ หลังจากที่ทําการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลทังหมดจึงไดจัดทํา
                                                                                       ้
แผนการตลาดขึ้น

โดยมีวัตถุประสงค คือ
1. เพิ่มยอดขายขึ้นจากยอดขายเดิม 100% ภายใน 1 ป (จาก 250 ลานเปน 500 ลาน)
2. เพิ่มสวนแบงตลาด จาก 5% เปน 10% ภายใน 1 ป
3. สรางฐานลูกคาของทีโอที Call center ในระยะยาว โดยแผนการตลาดจะเนนการแกไขจุดออนทางดานการ
   กําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ , โครงสรางราคา , การจัดสัดสวนของชองทางการจําหนาย ตลอดจนกิจกรรม
   สงเสริมการขายในดานตางๆ


                                                                                                               4
ขอมูลของบริษท (COMPANY PROFILE)
                                           ั

ชื่อบริษัท                           บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)

เลขทะเบียน ทีโอที                    0107545000161

ที่ตั้งสํานักงานใหญ                 89/2 หมู 3 ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง
                                     เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

ที่ตั้งศูนยลูกคาสัมพันธ           3658 ถนนพระราม4 แขวงคลองตัน
                                     เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110

ประเภทธุรกิจ                         ใหบริการโทรคมนาคมและธุรกิจเกี่ยวเนือง ่
                                     โดยดําเนินการเองและ / หรือรวมกับผูอื่น
                                     นอกจากนี้ยังดําเนินการลงทุนโดยการถือหุน
                                     ในบริษทอื่น
                                            ั

เลขหมายโทรศัพทศูนยลูกคาสัมพันธ   1100

เว็บไซต                             www.tot.co.th

ทุนจดทะเบียนเริ่มแรก                 6,000 ลานบาท ชําระแลว 6,000 ลานบาท เปนหุนสามัญทั้งสิ้น
                                     จํานวน 600 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมี
                                     กระทรวงการคลังเปนผูถือหุนทั้งหมด

วิสัยทัศน                           เปนบริษทโทรคมนาคมแหงชาติ ที่มีการบริหารจัดการที่โปรงใส และ
                                             ั
                                     มีประสิทธิภาพในระดับสากล

พันธกิจ                              เปนผูใหบริการโครงขายหลักของประเทศ ดวยเทคโนโลยีที่ทนสมัย
                                                                                                ั
                                     โดยคํานึงถึงความมั่นคงของชาติดานขอมูลขาวสาร ทําใหเกิดการ
                                     แขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม และใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูล
                                     ขาวสารรวมถึงบริการสาธารณะรูปแบบตางๆ         อยางเทาเทียมและ
                                     ทั่วถึง

                                                                                                  5
ประวัติบริษท (COMPANY BACKGROUND)
                                       ั

บริษัท ทีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือเรียกโดยยอวา ทีโอที เดิมมีสภาพเปนรัฐวิสาหกิจสังกัด
กระทรวงคมนาคม คือ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย กอตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ.2497 แตไดแปลง
สภาพเปน บริษัท มหาชน จํากัด ตั้งแตวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ตามขอผูกพันในการเปดการคาเสรีของ
องคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) ที่ประเทศไทยจะตองเปดเสรีบริการโทรคมนาคม
พื้นฐาน โดยหนาที่ความรับผิดชอบเดิมขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทยกอนการแปรรูปนั้น มีหนาที่
กําหนดกฎระเบียบควบคุม และพัฒนาธุรกิจโทรคมนาคมของไทย ตลอดจนใหบริการโทรคมนาคมตางๆ อัน
ประกอบดวย
      การใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ประกอบดวย โทรศัพทภายในประเทศ โทรศัพททางไกล ภายในประเทศ
      และโทรศัพททางไกลระหวางประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย
      การใหบริการโทรศัพทสาธารณะในประเทศ
      การใหบริการโทรศัพทเคลือนที่
                                  ่
      การใหบริการรับสงขอมูล
      การใหบริการที่มีมูลคาเพิ่ม (เชน พันธบัตร )

ดังนั้นจากรูปแบบการดําเนินธุรกิจของ ทีโอที ที่จําตองเปลี่ยนแปลงบทบาทลงมาเปนผูใหบริการรายหนึ่งใน
ธุรกิจโทรคมนาคมทําให ทีโอที ตองเผชิญกับปจจัยแวดลอมที่เปนทั้งอุปสรรคและโอกาสตอการดําเนินงาน
และสงผลให ทีโอที ตองปรับเปลี่ยนทิศทางการดําเนินธุรกิจใหมใหอยูในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น เชน
บริการโครงขาย บริการอินเตอรเนท บริการเกมออนไลน และ อื่นๆ อีกมากมาย ตลอดจนปรับเปลี่ยนเปาหมาย
ขององคกรใหมใหสามารถรองรับการแขงขันในธุรกิจโทรคมนาคมไดอยางมีศักยภาพ

การปรับเปลี่ยนการดําเนินธุรกิจของ ทีโอที ทําใหเกิดการพัฒนากลยุทธโดยเนนที่ลูกคาเปนจุดศูนยกลาง
(Customer Centric) จึงเปนการปรับเปลี่ยนและพัฒนาอยางหนึ่งในหลายๆ สวนที่มีผลกับการดําเนินธุรกิจของ
ทีโอที โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาระบบจัดการลูกคาสัมพันธ โดยการประยุกตนาระบบบริหารความสัมพันธ
                                                                         ํ
ลูกคาหรือ Customer Relationship Management เขามาใช จนทําใหเกิดเปน ผลิตภัณฑการใหบริการ
Contact Center Outsourcing ขึ้น




                                                                                                 6
ที่มาของผลิตภัณฑ (PRODUCT BACKGROUND)

Call Center ของ บริษัท ทีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เริ่มตนมาจากการเปนศูนยรบแจงเหตุโทรศัพท
                                                                                        ั
ขัดของ ผานหมายเลข 17 (ภายหลังเปลี่ยนเปน 1177, ปจจุบนรวมอยูใน 1100 ) โดยเริ่มกอตั้งขึ้นพรอมๆกับ
                                                            ั
องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2497 ตอมาในชวงตนป พ. ศ. 2534 ดวยแนวคิดจุดบริการ
ขอมูลของบริษทจึงมีการจัดตั้งศูนยประชาสัมพันธและสอบถามขอมูลตามสาย ผานหมายเลข 505 –1000 ขึ้น
               ั
และหลังจากนั้นอีก 10 ปตอมา คือ พ. ศ. 2544 ทีโอที ไดตั้ง ศูนยลูกคาสัมพันธ หรือ Call Center ขึ้นในชวง
เวลาที่มีการดําเนินการปรับเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพททวประเทศจาก 7 หลักเปน 9 หลัก เพื่อเปนการเพิ่ม
                                                      ั่
จํานวนเลขหมายโทรศัพทใหสามารถรองรับปริมาณความตองการในอนาคต                   การปรับเปลียนการกระทําที่
                                                                                           ่
คุนเคยอันยาวนานไปสูสิ่งใหมนั้น เปนเรื่องที่ตองอาศัยการประชาสัมพันธ การสรางความเขาใจที่ถูกตองแก
ลูกคา จึงไดมีการเตรียมมาตรการรองรับปญหาที่จะเกิดขึ้น ศูนยลกคาสัมพันธ Call Center 1100 จึงเกิดขึ้น
                                                               ู
เพื่อใหเปนศูนยกลางชองทางสําคัญในการตอบขอซักถามตางๆ แกประชาชนผูใชบริการ

ในขณะที่การใหบริการ Contact Center Outsourcing ของ ทีโอที นั้น แทจริงแลว ก็เริ่มตนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.
2544 เชนเดียวกัน เพียงแตวาการรับทํา Outsource ในครั้งนั้นเปนการทําใหภาครัฐเพื่อสังคม คือ ในการจัด
งานปรากฏการณทางดาราศาสน ฝนดาวตก “ วันครอบครัวรวมตัวดูฝนดาวสิงโต “ โดยที่สํานักงานใหญแจง
วัฒนะ Call Center 1100 ไดทําหนาที่ในการใหขอมูลแกประชาชนทีมีความสนใจในปรากฏการณธรรมชาติครั้ง
                                                               ่
สําคัญ รวมถึงการเปนศูนยรับรายงานผลการนับดาว รวมกับ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แหงชาติ (NECTEC) และ สมาคมดาราศาสนแหงประเทศไทย เพือรายงานผลไปยังองคการบริหารการบิน และ
                                                            ่
อวกาศสากล (NASA) ซึ่งนับเปนการเริมตนในการประชาสัมพันธเลขหมาย Call Center 1100 ออกไปอยาง
                                     ่
แพรหลาย

จนกระทั่งเมื่อเริ่มเขาสูยุคทีมีการตื่นตัวเรือง CRM อยางสูงในประเทศไทย บวกกับการที่ ทีโอที ไดเปนผู
                               ่              ่
ใหบริการ Contact Center ภาครัฐ คือ GCC Contact Center 1111 จึงทําให บริษัท ทีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด
(มหาชน) ไดทําการขยาย Call Center จากสวนสํานักงานใหญแจงวัฒนะ มาตั้งเปนศูนยขอมูลครบวงจร
Contact Center ณ ที่ทาการคลองเตย ในเดือน เมษายน พ. ศ. 2547 โดยมีการนําเอาระบบ Call Center ที่
                            ํ
ทันสมัยที่สดในโลกเขามาใชในทุกสวนของ Contact Center และ ในที่สุดจึงไดเริ่มมีการเปดใหบริการ Contact
           ุ
Center Outsourcing ขึ้นเมื่อเดือน มกราคม พ. ศ. 2550 ที่ผานมา




                                                                                                        7
จุดเดนของผลิตภัณฑ (UNIQUE SELLING POINT)

ทางดานเทคโนโลยี
บริษัทฯ ไดมการลงทุนในเรื่องของการติดตั้งระบบตางๆ ไดแก
            ี
      Siebel ระบบเก็บฐานขอมูล จัดสรรและกระจาย ที่มีความแมนยําและสามารถสืบคนได
      Nice Monitor สําหรับฟงและดูภาพหนาจอขณะที่พนักงานปฏิบัติงาน โดยสามารถดูไดทั้งแบบ Real-
      Time และ Historical
      Avaya ระบบ Call Center และ การสื่อสารทั้งหมด ( เชน CTI, PABX, Head-Set เปนตน )
      CMS ของ Avaya เหมือนกัน เปน ตัวตรวจสอบคุณภาพแบบ Real-time และ Historical
      Blue pumpkin ระบบทําโครงสรางและจัดการ Workforce ทุกระดับ (Operator, Chief, Supervisor) ทั้ง
      เชิง Operation และ HR โดยประกอบดวย 2 สวน คือ Director Enterprise และ Web-Tool
      โดยระบบดังที่กลาวมาขางตนนั้นมีมูลคาสูงถึง 800 ลานบาท ซึ่งปจจุบันนี้ถือไดวาเปนเทคโนโลยีที่มี
      ความทันสมัยที่สุดในประเทศไทย โดย TOT เลือกเอาระบบทีไดรับความนิยมและยอมรับจากทั่วโลก 5
                                                               ่
      อันดับแรก ซึ่งยังไมมีผูใหบริการรายใดในไทยนํามาใช

ทางดานราคา
ปจจุบันบริษทฯ มีความพรอมในดานตางๆ ทั้งบุคลากร และการบริหารจัดการระบบที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงมี
            ั
ความสามารถในการจัดการระบบ Call Center ใหแกลูกคา ภายใตงบประมาณที่ลูกคาพึงพอใจ กลาวคือ
สามารถควบคุมคาใชจายใหกับลูกคาได โดยทาง TOT Call Center นําเสนอบริการในราคาประหยัด

ความสะดวกในการใชงาน
ปจจุบันยังไมมีผูใหบริการรายใดในไทย ที่นําเสนอบริการ Call Center ในรูปแบบ Package พรอมใช ซึ่งสราง
ความยุงยากใหแกลูกคาที่สนใจใชบริการ จึงเปนโอกาสใหทาง TOT นําเสนอบริการ Call Center พรอมใชเปน
เจาแรกของประเทศไทย

ชองทางในการจัดจําหนายและใหบริการ
จากจุดแข็งของ TOT ที่มีศูนยบริการลูกคาสัมพันธกระจายอยูท่วประเทศ ทําให TOT สามารถสื่อสาร นําเสนอ
                                                            ั
บริการ Call Center ไปยังลูกคาเปาหมายไดอยางกวางขวางครอบคลุมกวาผูใหบริการรายอื่นๆ




                                                                                                        8
การวิเคราะหสถานการณ (SITUATION ANALYSIS)

1. การวิเคราะหตลาด (MARKET ANALYSIS)
ปจจุบันศูนยบริการลูกคาสัมพันธ (Call Center) เปนชองทางไดรับความนิยมคอนขางสูงอีกชองทางหนึ่ง ใน
การติดตอ ประสานงานระหวางองคกรกับลูกคา รวมถึงกับผูขายหรือ ผูสงมอบ ตลอดจนการรับขาวสารขอมูล
                                                                         
จากลูกคาทั้งที่เปนกระแสตอบรับ หรือ การรองเรียน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดแกองคกร ลูกคา ผูสงมอบ
และประชาชนทั่วไป

โดยในป 2549 ธุรกิจ Outsourcing Call Center ในประเทศไทย มีมูลคาตลาดรวมประมาณ 5,000 ลานบาท
โดยมีผูนําในตลาด คือ บริษัท วันทูวัน คอนแทคส จํากัด โดยรายไดประมาณ 1,250 ลานบาท มีสวนแบง
การตลาด 25% รองลงมาคือ บริษัท ทรู ทัช จํากัด มีรายไดประมาณ 500 ลานบาท มีสวนแบงการตลาดคิดเปน
10% สําหรับ ทีโอที มีรายไดประมาณ 250 ลานบาท มีสวนแบงการตลาด 5%


                            แผนภาพแสดงสว นแบงการตลาด
                             ธุรกิจ Call center ป 2549

                                         TOT
           TRUE TOUCH                     5%
              10%

                                                                                        OTHER
     ONE TO ONE
                                                                                         60%
        25%




แนวโนมตลาด (Market Trend)
ทิศทางธุรกิจ Call Center ในชวงครึ่งปหลัง (ป 2550) วาจะมีความชัดเจนในโครงการตางๆมากขึ้น โดยเฉพาะ
ในภาครัฐ เนืองจากปญหาทางดานเศรษฐกิจ และการเมืองเริ่มคลี่คลาย และชัดเจนขึ้นแลว ประกอบกับหลาย
              ่
องคกรเริ่มหันมาสนใจในการพัฒนาการใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ธุรกิจในภาคเอกชนเองก็มีความ
ตื่นตัวมากขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคธุรกิจประกันภัย และบริการทางการเงิน ที่มีการใช Call Center


                                                                                                            9
เปนชองทางหลักอีกหนึ่งชองทางในการขยายฐานลูกคาและสรางรายได           ทําใหคาดการณวาจะมีแนวโนมการ
เติบโตสูงขึ้น โดยป 2551-2553 เปนตนไป

สําหรับภาพรวมตลาด Call Center ในประเทศไทยนั้น ถือวายังอยูในระยะเริ่มตน แตมีอัตราการเติบโตคอนขาง
สูง โดยปจจุบันคาดวามีมูลคาตลาดรวม 3-5 พันลานบาท

ในอนาคต ระบบ Call Center มีแนวโนมที่จะพัฒนาไปสูส่งที่เรียกวา Contact Center มากขึ้น เนื่องจากการ
                                                          ิ
ใหบริการ จะไมผกติดกับการใชโทรศัพทเพียงอยางเดียว แตจะรวมถึงการติดตอผานทาง อีเมล เว็บ เชน ลูกคา
                  ู
ดูเว็บไซตแลวไมเขาใจก็สามารถคลิกปุมที่กําหนด เพื่อติดตอ Call Center แบบออนไลนได สิ่งเหลานี้สามารถ
ทําไดภายใต Platform ที่ใช IP ในการรวมเทคโนโลยีทกอยางเขาดวยกัน เทคโนโลยี IP จะกลายเปนจุดเดนใน
                                                      ุ
การ Convergence ทุกอยางเขาดวยกัน ทั้งโทรศัพท อินเทอรเน็ต ทั้งนี้ ในอดีตการใหบริการ Call Center ตอง
มีพนักงานคอยรับสายใหคําชี้แนะ ดังนั้นจึงจําเปนตองอยูในพื้นที่ทสายโทรศัพทเขาถึง ทําใหตองมีพื้นที่หรือ
                                                                  ี่
หองทํางานโดยเฉพาะเพื่อใหบริการ แตทวาหากใช IP ในการพัฒนาระบบ พนักงานก็จะสามารถทํางานจากที่
ใดก็ไดตลอดเวลา จึงเปนการลดตนทุนเกี่ยวกับและการสรางสํานักงาน ไดอีกทางหนึ่ง

การวิเคราะธุรกิจผาน FIVE FORCE MODEL
เปนการวิเคราะหสถานะและความนาสนใจของธุรกิจที่บริษัทดําเนินธุรกิจอยู และความสามารถในการทํากําไร
ในระยะยาวของบริษัท โดยแบงการวิเคราะหออกเปน 5 ดานดังนี้



                                             คูแขงใหมในธุรกิจ




               อํานาจตอ                                                          อํานาจตอ
                                              สภาวะการแขงขัน
               รองผูขาย                                                           รองผูซื้อ




                                               สินคาทดแทน




                                                                                                         10
1.) ภาวะการแขงขันในธุรกิจ Call center
    ปจจุบนนี้ธุรกิจ Call center Outsource มีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้น และเปนธุรกิจที่มีความนาสนใจ
           ั
    เนื่องจากสามารถชวยบริษทตางๆ ในการบริหารงานลูกคาสัมพันธไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพมาก
                              ั
    ขึ้น อีกทั้งยังเปนการลดตนทุนในการบริหารงานลูกคาสัมพันธของแตละบริษท เนื่องจากการทํา Call
                                                                           ั
    center นั้นตองใชเงินลงทุนเปนจํานวนมาก จึงมีแนวโนมของการใชบริการ Outsourcing Call Center
    เพิ่มสูงขึ้น

2.) แนวโนมคูแขงใหมที่จะเขามาในธุรกิจ Call center
                  
    คูแขงใหมที่จะเขามาในธุรกิจ Call center นั้นเปนไปไดคอนขางยาก เนื่องมาจากอุปสรรคในการเขาสู
    ตลาดดังตอไปนี้
    2.1 ความแตกตางของผลิตภัณฑ
            ดวยเหตุท่ผลิตภัณฑในตลาดไมคอยมีความแตกตางกันมาก
                       ี                                                     ดังนันสินคาที่เขาสูตลาดเปนราย
            แรกๆจะสรางความประทับใจ และการจดจําตอตราสินคาของลูกคาไดกอน ซึ่งเปนอุปสรรคตอการ
            เขามาของคูแขงรายใหม เพราะตองมีคาใชจายจํานวนมากทั้งในเรื่องของการพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อ
            สรางความแตกตางจากผลิตภัณฑเดิมในที่มีอยูในตลาด            รวมไปถึงการโฆษณาประชาสัมพันธ
            เพื่อใหสนคาเปนที่รูจักของผูบริโภค
                     ิ
    2.2 เงินลงทุน
            ธุรกิจ Call center เปนธุรกิจที่มีการลงทุนที่คอนขางสูง อันไดแก การวิจัยและพัฒนาระบบ การ
            สรางระบบ การจัดจําหนาย และการโฆษณา โดยตองจัดหาแหลงเงินทุนจากที่ตางๆ ตลอดจนมี   
            การวางแผนและกระจายความเสี่ยงในการลงทุน จึงเปนการสรางอุปสรรคในการเขามาของคูแขง
            รายใหมอยางอัตโนมัติ
    2.3 การเขาสูชองทางการจัดจําหนาย
            เนื่องจากธุรกิจ Call center เปนธุรกิจแบบ B2B (Business to Business) ดังนั้นถาผูใหบริการราย
            เดิมสามารถทําใหบริษทตางๆใชบริการ Call center ของตนเองไดกอน การที่ผูใหบริการรายใหม
                                      ั
            จะชักจูงบริษทตางๆ ใหเปลี่ยนมาใชบริการ Call center ของตนเองนั้นเปนไปไดยาก ตองใชความ
                         ั
            พยายามในการชักจูงลูกคา เชน จัดโปรโมชั่นลดราคาอยางมาก เพื่อชี้ใหลูกคาเห็นความคุมคาใน
            การเปลี่ยนระบบ Call center ไปใชของผูใหบริการรายใหม ดังนั้นผูใหบริการรายใหมที่จะเขามาใน
            ตลาดตองใชทั้งเวลาและเงินลงทุนที่สูง

3.) อํานาจตอรองกับผูขาย
    เนื่องจากทีโอที Call center ใชระบบคอมพิวเตอรและเครือขายของบริษัททีโอที รวมถึงมีบคลากรที่มี
                                                                                          ุ
    ความชํานาญในการดําเนินการดาน Call center อยูแลว ไมวาจะเปนพนักงานรับโทรศัพท หรือ ชางซอม



                                                                                                           11
บํารุงเครือขาย แมวาการเปดใหบริการ Outsourcing Call Center จะตองใชเงินลงทุนในการขยายระบบ
     และรับพนักงานเพิ่มเติม แตก็จะไดเปรียบในดานตนทุน เนื่องจากมีทรัพยากรหลักรองรับอยูแลว

4.) อํานาจตอรองกับผูซื้อ
    กลุมของลูกคาบริการ Call center นั้น คือ กลุมบริษัทที่ตองการทําการบริหารงานลูกคาสัมพันธ เพื่อเพิ่ม
    ประสิทธิภาพในขายสินคา และ เพิ่มความนาเชื่อถือขององคกร ดังนั้นการเลือกใชบริการ Outsourcing
    Call Center จะพิจารณาจากความนาเชือถือของผูใหบริการ และ ความมีเสถียรภาพของระบบที่ใช และ
                                           ่
    ราคาคาบริการที่คุมคา
    แมวาทีโอที Call center จะมีความนาเชื่อถือในแงขององคกร รวมถึงมีระบบทีมีเสถียรภาพ แตหากวา
                                                                                 ่
    ราคาคาบริการของคูแขงต่ํากวา ลูกคาก็จะมีอํานาจในการตอรองในเรื่องของราคา รวมถึงระยะเวลาการ
    ใหบริการได

5.) ความเสี่ยงจากสินคาทดแทน
    ปจจุบนมีหลายบริษทที่จัดตังแผนก Call Center ขึ้นมาเอง ซึ่งอาจมีผลดีในการใหขอมูลตางๆของบริษท
          ั          ั        ้                                                                  ั
    ไดละเอียดกวา แตก็แลกมาดวยตนทุนทีสูง เนื่องจากตองลงทุนในการวางระบบ ทั้งทางดานเทคนิคและ
                                           ่
    การจัดการ รวมทั้งการมีเว็บไซต หรือ เว็บบอรด ของบริษัทเพื่อใหลูกคาสามารถสอบถามขอมูลโดยตรง
    ผานทางเว็บไซต อยางไรก็ดี การลงทุนเองของบริษัทตางๆ ก็ไมสะดวกสบาย และไมกอใหเกิดผลกําไร
                                                                                       
    ตอบริษทโดยตรง ดังนั้นการ Outsource Call Center จึงเปนทางเลือกที่นาสนใจมากกวาการลงทุนจัดตั้ง
            ั
    แผนก Call Center ขึ้นมาเอง จึงทําให “ทีโอที Call center” มีความเสี่ยงจากสินคาทดแทนนอย


Key Trends and Threats
แนวโนมของธุรกิจ Call center นั้นมีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีกระแสความนิยมในการ Outsource
ที่เพิ่มขึ้น ทั้งการ Outsource ในสิ่งที่บริษัทไมชํานาญ หรือ การ Outsource ในขั้นตอนทีตองใชการลงทุนสูงใน
                                                                                      ่
การติดตั้งระบบ ซึ่งในปจจุบัน ลูกคามีทางเลือกหลักๆ 2 – 3 ราย ในการใชบริการ Call Center ทําใหผูให
บริการที่สามารถเขาถึงลูกคาหรือบริษัทเฉพาะกลุมไดกอนยอมไดเปรียบ


2. การวิเคราะหคแขงทีสําคัญ (COMPETITOR ANALYSIS)
                 ู      ่
อุตสาหกรรมนี้จัดไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนคอนขางสูง ในเรื่องของเทคโนโลยีที่จะนําเขามาใชในการ
                     
ใหบริการลูกคา และจําเปนตองอาศัยความชํานาญในการใหบริการ ประกอบกับการขยายตัวของอุตสาหกรรม
เอง ทําใหมีการแขงขันคอนขางสูงระหวางผูประกอบการรายใหญเพียง 3 ราย ที่มีอยูในอุตสาหกรรม ดังนั้นคู
แขงขันรายสําคัญ จึงไดแก บริษัท วันทูวน คอนแทคส จํากัด และ บริษัท ทรู ทัช จํากัด
                                        ั


                                                                                                        12
บริษัท วันทูวน คอนแทคส จํากัด
             ั

เปนหนึ่งในกลุมบริษท สามารถ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กอตั้งขึ้นเมือป 2543 ดวยจุดมุงหมายเพื่อ
                    ั                                                    ่
ใหบริการศูนยบริการขอมูลลูกคา (Contact Center) ใหกับองคกรภาครัฐและเอกชน โดยมีบริการที่หลากหลาย
พรั่งพรอมดวยเทคโนโลยีอนทันสมัย บริหารงานโดยทีมงานมืออาชีพภายใตแนวคิด “ตอบสนองทุกดานดวย
                          ั

บริการครบวงจร” (Total Solution with Customize Services) ซึ่งสามารถพัฒนาและปรับเปลี่ยนรูปแบบการ
บริการใหสอดคลองกับความตองการของแตละองคกรไดอยางลงตัว

ลักษณะการใหบริการ
1.) บริการ ศูนยบริการขอมูลลูกคาแบบครบวงจร
เปนการใหบริการลูกคาแบบครบวงจร ตังแตเริ่มเปนลูกคาโดยจัดการบริหารฐานขอมูลลูกคา ดูแลการใหบริการ
                                       ้
หลังการขาย บันทึกกิจกรรมการติดตอประสานงานลูกคากับองคกร และดูแลสรางความสัมพันธกบลูกคาระยะั
ยาว ซึ่งประกอบดวย
      ศูนยบริการลูกคาสัมพันธ(Customer Care ) บริการรับแจงเรื่อง ดําเนินการ และ ติดตามเรื่องตางๆ เพื่อ
      สราง ความพึงพอใจใหลูกคา
      บริการรับคําสังซื้อสินคาและบริการ (Order Taking)
                     ่
      บริการรับเรื่องรองเรียน (Complaint Handling)
      บริการรับแจงและแกไขปญหาเรงดวน (Help Desk)

2.) บริการ ศูนยบริการขอมูลลูกคาแบบ รายโครงการ
เหมาะสําหรับลูกคาที่ทํากิจกรรมพิเศษซึงมีระยะเวลาที่ชัดเจนหรือดูแลบริหารกิจกรรมการตลาดตางๆ ในการ
                                      ่
ใหบริการขอมูลของกิจกรรมนั้นๆ ไดอยางมืออาชีพ ซึ่งประกอบดวย
      บริการสํารวจและจัดเก็บขอมูลทางโทรศัพท (Tele-survey)
      บริการจําหนายสินคาทางโทรศัพท (Tele-sales)
      บริการงานสนับสนุนกิจกรรมการตลาด (Direct Marketing Support)
      บริการบริหารกิจกรรมสงเสริมการขาย (Campaign Management)
      บริการติดตามหนี้ (Debt Collection)
      บริการตรวจสอบและปรับปรุงฐานขอมูล (Database Clean up)




                                                                                                       13
3.) บริการใหเชาระบบ
บริการใหเชาระบบ Contact Center ทังในและนอกสถานที่ ครอบคลุมถึงการสงเจาหนาที่ท่มีความชํานาญไป
                                       ้                                          ี
ปฏิบัติการใหบริการขอมูลในสถานที่แตละองคกรอยางเหมาะสม ชวยใหองคกรมีศนยบริการขอมูลลูกคาทีได
                                                                            ู                    ่
มาตรฐาน โดยไมตองลงทุนเอง เปนการแบงเบาภาระคาใชจาย ในการจัดจางบุคลากรและยังสรางความ
คลองตัวในการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพซึ่งประกอบดวย
      บริการใหเชาสถานที่ (Location) เปนศูนยประสานงานบริการลูกคา
      บริการใหเชาอุปกรณที่ทันสมัยไดมาตรฐานระดับสากล (Hardware)
      บริการใหเชาซอฟตแวร (Software) ทั้งซอฟตแวรสําเร็จรูปและซอฟตแวรระบบ Call Center ที่
      ปรับเปลี่ยนระบบการทํางานใหเหมาะสมกับธุรกิจขององคกร
      บริการการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Management) สามารถเลือกใชบริการจัดหาและฝกอบรม
      พนักงานใหบริการขอมูลทางโทรศัพท

4.) บริการวางระบบ Call Center ทั้งระบบ
บริการใหคาปรึกษารวมไปถึงการออกแบบวางระบบ Call Center และ Contact Center ครบวงจรทั้งระบบ
          ํ
(Turnkey Total Solution) โดยเนนออกแบบใหสอดรับกับการดําเนินธุรกิจแตละองคกร เปนบริการที่ชวยให
                                                                                            
องคกรสามารถเก็บรักษาขอมูลที่สําคัญ และไมตองการเปดเผยไวไดเปนอยางดี และสามารถปรับเปลี่ยน
                                             
ลักษณะการงานอุปกรณคอมพิวเตอรตาง ๆ ตามความตองการไดอยางอิสระ ซึ่งประกอบดวย
      บริการออกแบบและติดตั้งระบบ (Solution Design & Integration)
      บริการบริหารจัดการโครงการ (Project Management)
      บริการบริหารงานบุคลากร (Call Agent Management)
      บริการตรวจสอบคุณภาพบริการ (Overall Service Monitoring)
      บริการรักษาระบบ (System Maintenance)

Strengths & Weaknesses
จุดแข็ง
1. ดวยความทีเขามาทําตลาดธุรกิจ Call Center เปนรายแรก ทําใหบริษัท วันทูวัน คอนแทคส จํากัด เปนที่
                  ่
     รูจักของผูบริโภคสวนใหญ มีสวนแบงตลาดเปนอันดับ 1 และมีเงินทุนสูงในการทําการตลาดสูงกวาเมื่อ
     เทียบกับผูใหบริการรายอื่นๆ

จุดออน
1. การไมมีโครงขายพื้นฐานเปนของตนเอง จะตองเชาใชจากผูใหบริการรายใหญ เชนจาก เชน TOT,
      TRUE เปนตนจึงทําใหมีตนทุนในเรื่องดังกลาสูงกลาว เมื่อเปรียบเทียบกับ TOT ซึ่งคาใชจายดังกลาวถือ


                                                                                                         14
วาเปนคาใชจายสวนหนึ่งทีสําคัญสําหรับการใหบริการทางดาน Call Center ที่ตองตอสายผานทาง
                                ่
      โทรศัพท จึงทําใหอาจเสียเปรียบในเรื่องของราคาบริการได


บริษัท ทรู ทัช จํากัด


เปนหนึ่งในบริษัทชั้นนําของกลุม ทรูคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) จัดแถลงขาว เปดตัวอยางเปนทางการเมื่อ
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2549 ณ อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก เพื่อใหบริการศูนยบริการลูกคาครบวงจร
สมบูรณแบบ (Outsourcing Contact Center) ทั้งดาน Voice และ Non-Voice ตอบสนองความตองการของ
กลุมลูกคาองคกรที่ดําเนินธุรกิจดานประกัน การธนาคาร สายการบิน ธุรกิจเอสเอ็มอี และ Food Delivery ตอก
ย้ําการเปนผูนานวัตกรรมเพือการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย
               ํ              ่                                               โดยใหบริการเชาระบบและ
อุปกรณดาน Call Center บริการจัดหาอุปกรณและระบบตาง ๆ ที่ใชใน Call Center บริหารทรัพยากรบุคคลที่
มีคณสมบัติตามที่ตองการ นอกจากนี้ยังใหบริการออกแบบวางระบบดานองคความรูภายในองคกร ระบบการ
    ุ
บริหารความสัมพันธลูกคา รวมถึง หลักสูตรการจัดฝกอบรมที่หลากหลาย เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการ
พัฒนาธุรกิจ


ลักษณะการใหบริการ
1.) บริการศูนยลูกคาสัมพันธครบวงจร
    1.1 ศูนยบริการขอมูลลูกคา
        o บริการใหขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการ
        o บริการใหขอมูลเกี่ยวกับการชําระเงิน
        o บริการรับคําติชมหรือเรื่องรองเรียน
        o บริการใหคําปรึกษาดานเทคนิคและแกปญหาเรงดวน
                                                 
        o บริการงานลงทะเบียนตางๆ
        o บริการรับคําสังซื้อสินคาและบริการ
                         ่
    1.2 ศูนยบริการติดตอลูกคา
        o บริการแนะนําสินคาหรือบริการสงเสริมการขายใหมๆ
        o บริการดานเรงรัดหนี้สิน
        o บริการสํารวจขอมูลการตลาดทางโทรศัพท
        o โปรแกรมรักษาฐานขอมูลลูกคา
        o โปรแกรมรักษาความภักดีของลูกคาตอสินคาและบริการ
        o การจูงใจลูกคาเกาใหกลับมาใชบริการ

                                                                                                    15
o บริการ Direct Mail และติดตามผล
       o สํารวจความพึงพอใจของลูกคา

2.) บริการใหเชาระบบและสถานที่
    2.1 บริการใหเชาระบบ Call Center และสถานที่ทํางาน
        o บริการใหเชาระบบ Call Center และอุปกรณตาง ๆ
        o บริการใหเชาซอฟตแวร

3.) บริการพนักงานลูกคาสัมพันธ
    3.1 บริการพนักงานลูกคาสัมพันธ
    3.2 บริการจัดหาพนักงานลูกคาสัมพันธ

4.) บริการจัดการธุรกรรมภายในในสํานักงาน
    4.1 บริการปอนขอมูลลูกคาเขาสูระบบคอมพิวเตอร
    4.2 บริการปรับปรุงและจัดฐานขอมูลลูกคา
    4.3 บริการ Scan เอกสารและจัดเก็บเปนหมวดหมูในระบบคอมพิวเตอร
    4.4 บริการจัดการรับ-สง E-mail
    4.5 บริการรับสงเอกสาร พัสดุภัณฑ

5.) บริการใหคําปรึกษาและฝกอบรม
    5.1 บริการจัดฝกอบรมใหกับเจาหนาที่และหนวยงานตางๆ
    5.2 บริการทีปรึกษาดานการบริหารความสัมพันธลูกคาและการบริหาร
                ่

6.) บริการวางระบบและบริหาร Call Center
    6.1 บริการจัดหาและวางระบบ Call Center
        o บริการจัดหาและวางระบบ Hardware และอุปกรณตางๆ
        o บริการจัดหาและวางระบบ Software
    6.2 บริการบริหารจัดการระบบ Call Center เพื่อใหสามารถทํางานอยางสอดคลอง และสนับสนุน
        กระบวนการทํางานของศูนยลูกคาสัมพันธ




                                                                                     16
Strengths & Weaknesses
จุดแข็ง
1. บริษัท ทรู ทัช จํากัด เปนบริษัทหนึ่งในบริษัทชั้นนําของกลุมบริษท ทรูคอรปอรเรชั่น จํากัด(มหาชน) ซึ่ง
                                                                   ั
    เปนบริษทฯ ที่เปนผูนําในเรื่องของการนําเอาเทคโนโลยี Convergence ในการรรวมกลุมของบริการตางๆ
            ั
    บนอินเทอรเน็ตเพื่อสรางความแข็งแกรงของการใหบริการ
2. ความสามารถในการสื่อสารบริการ ที่สามารถปรับเปลี่ยนไดตามไลฟสไตลของกลุมผูบริโภคโดยเฉพาะกลุม
                                                                               
    ของคนรุนใหม

จุดออน
1. ยังไมไดรับสัมปทานในเขตตางจังหวัดจากทางรัฐบาลโดยตรง ทําใหตองเสียคาใชจายที่สูงใหกบทาง กสท.
                                                                                         ั



3. การวิเคราะหผูบริโภค (Customer Analysis)
ทัศนคติ
สิ่งที่ลูกคาใหความสําคัญเมื่อตองรับบริการ Call Center ผานโทรศัพท หรือ 3R ไดแก
Response การตอบสนองตอคําถามของลูกคาอยางรวดเร็ว ทันใจมีขั้นตอนวิธีการที่เปนมาตรฐาน
Resolution การแกปญหาใหลกคาไดอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด โดยพนักงานบริการลูกคาตองมีความรูความ
                                     ู
                   เขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการตางๆ
Respect            การยอมรับนับถือและใหเกียรติลูกคา มีทัศนคติที่ดีมีจิตใจพรอมใหบริการ พูดจาดวยถอยคําที่
                   สุภาพ ออนโยน

พฤติกรรมการซื้อ
สามารถแบงออกเปนกลุมๆไดดังนี้
1. กลุมลูกคาภาครัฐ
     ขึ้นอยูกับงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรในแตละป และความเรงดวนในการจัดตั้งศูนย Call center เพื่อใช
     สําหรับเปนหนวยงานสนับสนุนงานโครงการตางๆ ที่ภาครัฐกําหนดขึ้น

2.    กลุมลูกคาเอกชน
      เนนการครอบคลุมในเรื่องของการใหบริการ (One Stop Services), ความเปนมืออาชีพที่สามารถรองรับ
      การเปลี่ยนแแปลง และออกแบบระบบทีตรงกับความตองการของลูกคาแตละรายไดในมากที่สุด
                                         ่




                                                                                                           17
4. การวิเคราะหผูบริโภคเชิงลึกของ TOT Call center
เหตุผลที่ผูบริโภคเลือกซื้อ (Why)
     เปนหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีกระทรวงการคลังเปนผูถือหุนรายใหญ ทําใหในกรณีเรงดวนทีจะตองมีการ
                                                                                             ่
     จัดตั้งศูนย Call Center ไวเพื่อรองรับโครงการที่มีความสําคัญระดับประเทศ ที่คูสัญญาเปนหนวยงาน
     ภาครัฐดวยกันเองนั้น จะสามารถใชวธการจัดซื้อ-จัดจาง ดวยวิธีพิเศษ (ไมตองใชวิธยื่นซองเปดประมูล)
                                        ิี                                            ี
     TOT มีความไดเปรียบทางดานการมีภาพลักษณดานความปลอดภัยทางดานขอมูล สูงกวาผูใหบริการที่ 
     เปนเอกชน ทั้งนี้เนื่องมากจากปจจุบันผูใชงานทีตระหนักถึงความปลอดภัยของขอมูลภายในหนวยงาน
                                                      ่
     ของตน ทําใหสนใจที่จะใชบริการ Call Center ของ ทีโอที ที่สามารถชวยตอบสนองความตองการดาน
     การปองกันความปลอดภัยของขอมูล และเครือขายไดดีกวาการใชบริการของบริษัทคูแขงขันที่เปนของ
     เอกชน และมีบริษัทในครือที่ดําเนินธุรกิจใหลเคียงกัน

เหตุผลที่ผูบริโภคไมเลือกซื้อ (Why Not)
     ประสบการณที่ไมดีที่ไดรับจากการใชบริการ Call Center ของ ทีโอที ในอดีต
     ดาน Switching Cost การเปลี่ยนแปลงผูใหบริการคอนขางยุงยากในดานการโยกยายและการกําหนดคา
     ตางๆ (Configuration) ใหกับเครื่อง และเรื่องของการเชื่อมตอฐานขอมูลสนับสนุน ทําใหผูใชบริการไม
     นิยมเปลี่ยนผูใหบริการมากนัก
                    


5. การวิเคราะหสภาพแวดลอมของทีโอที Call center (Environmental Analysis)
เพื่อใหเห็นถึงสภาพแวดลอมภายในขององคกรของ TOT อยางชัดเจน สามารถอธิบายไดดวยแนวคิดของ ของ
R. Waterman ที่เรียกวา 7’s Mckinsey Model มาใชในการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในของ TOT ดังนี้




                                                                                                     18
7’s Mckinsey Model

                                               Strategy
                                               กลยุทธ
                        Structure                                       Skill
                        โครงสราง                                      ทักษะ
                                                Shared
                                                Values
                                              คานิยมรวม

                         System                                        Style
                          ระบบ                                        รูปแบบ
                                                 Staff
                                               บุคลากร



Strategy: นโยบาย วิสัยทัศน และกลยุทธการดําเนินงานขององคกร
      TOT มีวิสัยทัศนที่ชดเจน และสอดคลองกับการวางตําแหนงผลิตภัณฑ (Positioning) ของบริการ Call
                          ั
      Center คือ “การเปนผูใหบริการโครงขายหลักของประเทศดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยคํานึงถึงความ
      มั่นคงของชาติดานขอมูลขาวสาร ทําใหเกิดการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม และใหประชาชนสามารถ
      เขาถึงขอมูลขาวสารรวมถึงบริการสาธารณะรูปแบบตางๆ อยางเทาเทียมและทั่วถึง” ทําใหสามารถ
      นํามาใชประโยชนในการการกําหนดแนวทางการจัดทําแผนกลยุทธทางการตลาดทีสามารถนําไปสูการ
                                                                                ่
      ปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมและชัดเจน

Structure: โครงสรางองคกร
     TOT ถือเปนองคกรที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบองคกรคอนขางบอยภายในชวงระยะเวลาการดําเนินงานที่
     ผานมา ซึ่งทําใหตองมีการปรับเปลี่ยนโครงสรางองคกรใหสอดคลองกับรูปแบบองคกรดังกลาว โดยการ
     ปรับเปลี่ยนโครงสรางองคกรบอยครั้ง อาจกอใหเกิดความสับสนในแกบุคลากรในองคกร

Services: สินคาและบริการขององคกร
     ในสวนของการดําเนินงานและใหบริการแกหนวยงานตางๆ นั้น TOT มีทีมงานที่มีความรูความสามารถ
     และมีความยืดหยุนในการใหบริการ เพื่อสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาใหไดมากที่สุด


                                                                                                19
อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน TOT ยังขาดกลยุทธเชิงรุกในการประชาสัมพันธหนวยงานและบริการที่มีอยู ทํา
     ใหหนวยงานตางๆ อาจจะยังไมเขาใจถึงบทบาทการดําเนินงานและบริการที่มีอยูของ TOT

Style: ลักษณะการบริหารงาน แนวคิด และพฤติกรรมการบริหารงานของผูบริหาร
      ผูบริหารของ TOT Contract Center ไดมีการกระจายอํานาจใหหัวหนากลุมตางๆ และใหมีสวนรวมใน
      การตัดสินใจ ซึ่งเปนรูปแบบของผูบริหารยุคใหม แตในขณะเดียวกันในภาพรวมขององคกร ซึ่งแตเดิม
      เคยเปนหนวยงานราชการ รูปแบบและวัฒนธรรมการทํางานยังมีการทํางานโดยยึดกฎ ระเบียบของทาง
      ราชการเปนหลัก การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาจึงตองใชเวลาพอสมควร

Staff: บุคลากรภายในองคกร
      ปจจุบน TOT เปนหนวยงานที่มีบุคลากรที่มีความรูและความเชียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
            ั                                                   ่
      หลายสาขาจํานวนมาก     แตอยางไรก็ตามในสวนของพนักงานใหมที่จะเขามาเสริมนั้น TOT ยังมี
      ระยะเวลาในการพัฒนาความรู ความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของพนักงานใหมคอนขางนานดวย

Skill: ความรู ความสามารถขององคกร
       TOT มีจุดยืนในการใชความสามารถหลัก (Core Competency) ในการดําเนินธุรกิจโดยสะทอนใหเห็นถึง
       พฤติกรรมทีเกี่ยวของกับความรู (Knowledge) ทักษะ (Skills) และความสามารถดานเทคนิคเฉพาะงาน
                  ่

     หรือที่เรียกวา Technical Competency ที่เนนทักษะความรูเกี่ยวกับสินคา (Product Knowledge)
     ทางดาน Call Center โดยเฉพาะ

Shared Values: แนวคิด คานิยม และความคาดหวังของบุคลากรในองคกร
     วัฒนธรรมองคกร (Corporate Culture) ของ TOT มีทั้งดี และไมดี เปนปจจัยที่ตองใชเวลา ในการ
     เปลี่ยนแปลงมากที่สุดปจจัยหนึ่ง เนื่องจากบุคครลากรที่ทํางานมานาน มักจะยึดติดกับการทํางานแบบ
     ระบบราชการ ทําใหมีบางสวนที่มีความรูสึกการยึดติด กลัวการเปลี่ยนแปลง และกลัวสูญเสียประโยชน




                                                                                                  20
การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดทางการตลาด

(SWOT Analysis)
จุดแข็ง – Strengths
1. TOT มีเครือขายโทรศัพทเปนของตนเอง และครอบคลุมการใหบริการทั่วทั้งประเทศไทย และมีระบบ
    ฐานขอมูลที่จดเก็บขอมูลพืนฐานสวนบุคคลของผูใชบริการโทรศัพท
                  ั           ้
2. นอกเหนือจากระบบ Call Center แลว TOT ยังมีบริการที่หลากหลายที่สามารถทําการ Convergence ไปสู
    ลูกคาได เชน ระบบโทรศัพทพื้นฐาน ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง บริการสื่อสาร
    ขอมูล และอื่นๆ
3. TOT มีความมั่นคง และนาเชื่อถือเนื่องจากเปนหนวยงานขององคกรของภาครัฐบาล มีประสบการณ และมี
    ผูเชี่ยวชาญทีมความรู ความสามารถเฉพาะทาง
                    ่ ี

จุดออน – Weaknesses
1. เจาหนาที่ในสวนที่ใหบริการสอบถามขอมูล (Operator) ขาด Loyalty กับองคกร มีการเปลียนแปลงงาน
                                                                                         ่
    บอยๆ ทําใหองคกรขาดเจาหนาที่ที่มีความรูเรื่อง Know how และความสามารถในการตอบปญหาตางๆ ได
    อยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสวนงานดังกลาวจะใหบริการขอมูลแกผูใชบริการไดดี จําเปนตองอาศัย
    เจาหนาที่ท่มีประสบการณ และเคยผานการแกไขปญหาตางๆ มาพอสมควร
                 ี
2. ขาดการโฆษณาประชาสัมพันธบริการตางๆที่มีอยู ใหเปนที่รูจักในวงกวาง
3. การสงเสริมการตลาดไมมีจุดยืน และไมคํานึงถึงการสราง Product Image / Product Selling การโฆษณา
    สวนใหญจะเนนทางดานการสราง Corporate Image (ยังไมมีการเนนที่ตว Smart TOT Call Center เพียง
                                                                        ั
    อยางเดียว) และภาพลักษณสวนใหญยังถูกมองวาเปนระบบราชการที่ขาดประสิทธิภาพเมื่อเปรียบเทียบกับ
    คูแขงรายอื่นๆ

โอกาส – Opportunities
1. จากสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน ทําใหลูกคาหันมาใหความสนใจกับใหใชบริการ Call Center มากขึ้น ดวย
   เห็นชองทางที่จะทําใหสามารถลดคาใชจายในการบริการจัดการ Call Center ของตนเอง
                                            
2. ประเทศไทยยังมีสดสวนของผูใหบริการ Call Center คอนขางต่ํา เมื่อเปรียบเทียบกับกับตางประเทศ
                     ั
   ประกอบกับการขยายตัวทางธุรกิจและการแขงขันทางธุรกิจที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น          ทําใหองคกร
   ตลอดจนหนวยงานตางๆมองเห็นโอกาสของการนําเอาระบบงาน Call Center เขามาเสริมการในการ
   ใหบริการหลักเพิ่มมากขึ้น จึงนับไดวาธุรกิจ Call Center ยังมีชองวางในตลาดทีสามารถเจริญเติบโตไดอีก
                                                                               ่
   มาก จึงแสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่ดีของการขยายตัวของในธุรกิจ Call Center ในอนาคต




                                                                                                    21
3. จากการกระแสของการบริหารลูกคาสัมพันธ (CRM) ทําใหปจจุบันมีธุรกิจหลายแขนงที่ตองการการ
   สนับสนุนงานในสวนของการใหบริการลูกคาสัมพันธ (Call Center) ดังนั้นจึงนับไดวามีฐานลูกคาคอนขาง
   จะกวาง และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

ขอจํากัด – Threats
1. ลูกคาสวนใหญมีปญหาในเรื่องของระบบฐาน (Database) ที่ยังไมดีพอ ทําใหการเขาไปดําเนินการจัดการ
    กับระบบ Call Center ของลูกคากระทําไดคอนขางจะยากลําบาก และทําใหระบบที่ไดติดตั้งไปไมสามารถ
                                             
    ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพเทาที่ควร
2. ลูกคาผูใชบริการมีความกังวลเรื่องความปลอดภัยของขอมูล ทําใหการเขาไปทํางานในสวนดังกลาวกระทํา
    ไดไมไดเต็มทีมากนัก
                   ่
3. จากพฤติกรรมของคนไทย ที่ไมเชื่อมั่นในการมอบหมายงานใหบริษทอื่นเขามาทําแทนในสวนทีตนไมถนัด
                                                                 ั                       ่
4. จากการเปดเสรีสื่อสารโทรคมนาคม อาจทําใหมีผูประกอบการจากตางประเทศทีมีความเขมแข็งทางเงินทุน
                                                                             ่
    และเทคโนโลยีเขามาแขงขันในตลาด




                                                                                                   22
วัตถุประสงคทางการตลาด (MARKETING OBJECTIVES)

1. เพิ่มยอดขายขึ้นจากยอดขายเดิม 100% จากยอดขายมูลคา 250 ลานบาท เปน 500 ลานบาท ภายใน 1
   ป
2. เพิ่มสวนแบงตลาด จาก 5% เปน 10% ของ Market Share รวมของอุตสาหกรรมนี้ ภายใน 1 ป
3. สรางฐานลูกคาของทีโอที Call center ในระยะยาว โดยแผนการตลาดจะเนนการแกไขจุดออนทางดานการ
   กําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ โครงสรางราคา การจัดสัดสวนของชองทางการจําหนาย ตลอดจนกิจกรรม
   สงเสริมการขายในดานตางๆ




                                                                                          23
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan

More Related Content

What's hot

สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limitedNew Evo'v
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 

What's hot (20)

ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
True corporation public company limited
True corporation public company limitedTrue corporation public company limited
True corporation public company limited
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 

Similar to TOT Contact Center Marketing Plan

20 marketing trend 2011
20 marketing trend 201120 marketing trend 2011
20 marketing trend 2011HIPO_Training
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ TrueTn' Nam
 
6 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 20126 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 2012HIPO_Training
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด201221 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012HIPO_Training
 
22 full power with budget planning management monitoring and control
22 full power with budget planning management monitoring and control22 full power with budget planning management monitoring and control
22 full power with budget planning management monitoring and controlHIPO_Training
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังNattakorn Sunkdon
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
การศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าว
การศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าวการศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าว
การศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าวWanida Kook
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technologypantapong
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)Puff Pie
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่ รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่ DrDanai Thienphut
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)Love Plukkie Zaa
 

Similar to TOT Contact Center Marketing Plan (20)

20 marketing trend 2011
20 marketing trend 201120 marketing trend 2011
20 marketing trend 2011
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ True
 
D T A C
D T A CD T A C
D T A C
 
6 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 20126 marketing & sales forecast 2012
6 marketing & sales forecast 2012
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด201221 ล้วง ลับ  ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
21 ล้วง ลับ ความต้องการลูกค้าใน…ตลาด2012
 
22 full power with budget planning management monitoring and control
22 full power with budget planning management monitoring and control22 full power with budget planning management monitoring and control
22 full power with budget planning management monitoring and control
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
การศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าว
การศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าวการศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าว
การศึกษาการจัดการสภาพคล่องทางการเงินของโรงสีข้าว
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
1. กองทุนเปิดกรุงศรีทุนทวี 3 (kftw3)
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
 
รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่ รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
รายงานธุรกิจท่องเที่ยวเชียงใหม่
 
ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)
 

More from siriporn pongvinyoo

ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2siriporn pongvinyoo
 
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)siriporn pongvinyoo
 
Social Media Start with the Listening
Social Media Start with the ListeningSocial Media Start with the Listening
Social Media Start with the Listeningsiriporn pongvinyoo
 
What You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government AgenciesWhat You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government Agenciessiriporn pongvinyoo
 
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทยข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทยsiriporn pongvinyoo
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 
ICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case StudyICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case Studysiriporn pongvinyoo
 
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to StrategyIntegrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategysiriporn pongvinyoo
 
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...siriporn pongvinyoo
 
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for ThailandThink Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailandsiriporn pongvinyoo
 
Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?siriporn pongvinyoo
 

More from siriporn pongvinyoo (20)

ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
 
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
 
Social Media Start with the Listening
Social Media Start with the ListeningSocial Media Start with the Listening
Social Media Start with the Listening
 
What You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government AgenciesWhat You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government Agencies
 
Type of Social Media
Type of Social MediaType of Social Media
Type of Social Media
 
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทยข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
 
Understanding Strategies
Understanding StrategiesUnderstanding Strategies
Understanding Strategies
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
Mama Marketing Plan
Mama Marketing PlanMama Marketing Plan
Mama Marketing Plan
 
ICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case StudyICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case Study
 
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to StrategyIntegrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
 
WAL-MARKT: Case Study
WAL-MARKT: Case StudyWAL-MARKT: Case Study
WAL-MARKT: Case Study
 
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
 
HYBRID CAR IMC Plan
HYBRID CAR IMC PlanHYBRID CAR IMC Plan
HYBRID CAR IMC Plan
 
Philip Morris: Case Study
Philip Morris: Case StudyPhilip Morris: Case Study
Philip Morris: Case Study
 
Starbucks Coffee: Case Study
Starbucks Coffee: Case StudyStarbucks Coffee: Case Study
Starbucks Coffee: Case Study
 
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for ThailandThink Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
 
Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?
 
Marketing Management
Marketing ManagementMarketing Management
Marketing Management
 
Wal-Mart: Case Study
Wal-Mart: Case StudyWal-Mart: Case Study
Wal-Mart: Case Study
 

TOT Contact Center Marketing Plan

  • 1.
  • 2. รายงานแผนการตลาด TOT CALL CENTER เสนอ รองศาสตราจารย เพลินทิพย โกเมศโสภา ผูชวยศาสตราจารย ดร. สมเกียรติ เอียมกาญจนาลัย ่ จัดทําโดย นายทักษิณ ดวงนอย 508 26572 26 นางสาวธูปทิพย มีเจริญ 508 26600 26 นางสาววัชรี ศิริมหัทธโน 508 26806 26 นางสาววาราดา โตงามรักษ 508 26812 26 นางสาวศิริพร พงศวญู ิ 508 26841 26 นางสาวสิรลดา บุรณศิริ ิ 508 26864 26 นายสุพจน ชวลิตรุจิวงษ 508 26870 26 นางสาวอตินุช ทองปุสสะ 508 26909 26 นายพัฒน ดํารงรัตน 508 27028 26 2
  • 3. สารบัญ หัวขอ หนา บทสรุปผูบริหาร (Executive Summary)  4 ขอมูลบริษท (Company Profile) ั 5 ประวัติบริษัท (Company Background) 6 ที่มาของผลิตภัณฑ (Product Background) 7 จุดเดนของผลิตภัณฑ (Unique Selling Point) 8 การวิเคราะหสถานการณ (Situation Analysis) 9 การวิเคราะหตลาดCall center (Market Analysis) การวิเคราะหคูแขงที่สําคัญ (Competitor Analysis) การวิเคราะหผูบริโภค (Customer Analysis) การวิเคราะหผูบริโภคเชิงลึกของทีโอที Call center การวิเคราะหสภาพแวดลอมของทีโอที Call center (Environmental Analysis) การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดทางการตลาด (SWOT Analysis) 21 วัตถุประสงคทางการตลาด (Marketing Objectives) 23 แผนกลยุทธ STP (STP Strategies) 24 การแบงสวนตลาด (Segmentation) การกําหนดตลาดเปาหมาย (Target Market) การวางตําแหนงผลิตภัณฑ (Positioning) กลยุทธ (Key Strategy) กลยุทธสวนผสมทางการตลาด (Marketing Mixes) 28 กลยุทธผลิตภัณฑ (Product Strategy) กลยุทธราคา (Price Strategy) กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย (Place Strategy) กลยุทธการสงเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ (Promotion Strategy) แผนปฏิบัติการ (Action Plans) 36 แผนปฏิบัติการดานชองทางการจัดจําหนาย แผนปฏิบัติการดานการสงเสริมการขาย ประมาณการงบประมาณ (Budget) 46 การประเมินและควบคุมผลทางการตลาด (Evaluation and Control) 48 บรรณานุกรม 51 3
  • 4. บทสรุปผูบริหาร (EXECUTIVE SUMMARY) ระบบศูนยบริการลูกคา (Call center) เปนระบบหนึ่งที่ชวยสงเสริมการบริหารงานลูกคาสัมพันธ (Customer Relationship Management : CRM) ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงทําใหองคกรธุรกิจ และองคกรรัฐบาลสวน ใหญทาการจัดตั้ง Call Center ขึ้น ซึ่งบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ก็เชนเดียวกันในป 2547 มีการจัดตั้ง ํ Call Center 1111 เพื่อเปนการใหบริการขอมูลของแกประชาชนให และ Call Center 1100 ซึ่งลูกคาสามารถ สอบถามขอมูลที่เกี่ยวกับ ทีโอที ไดทุกเรื่อง ทั้งขอมูลสินคาและบริการ ขอมูลเกี่ยวกับใบแจงคาบริการ บริการ รับแจงโทรศัพทขัดของ บริการรับเรื่องรองเรียนตางๆของ ทีโอที แตเนี่องดวยยุคโลกาภิวัฒนที่สังคมและธุรกิจ มีการเคลื่อนไหวและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ทั้งทางดานเทคโนโลยี ขอมูลขาวสาร การจัดการองคกรและลูกคา จึงทําใหองคกรธุรกิจตางๆทีตองการสรางความไดเปรียบเชิงการแขงขันแตไมสามารถจัดทํา Call Center ที่เทา ่ ทันเทคโนโลยี และบริหารดวยความชํานาญดวยตนเองได ไมวาจะดวยปญหา ดานการเงินที่จะตองลงทุนเปน จํานวนเงินที่สง ดานคุณภาพและความยืดหยุนของการทํางาน ดานกลยุทธที่ดําเนินตามวัตถุประสงคของ ู องคกร ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนเหตุปจจัยที่ทําใหธุรกิจรับทํา Call Center หรือที่เรียกกันวา Call Center Outsourcing เกิดขึ้น ตลาด Outsourcing ของ call center มี บริษัท วันทูวัน คอนแทคส จํากัด เปนผูนาตลาด โดยครองสวนแบง ํ ตลาด 25% รองลงมาคือ บริษัท ทรูทช จํากัด มีสวนแบงตลาด คิดเปน 10% และ บริษัท ทีโอที จํากัด ั (มหาชน) เปนอันดับสามดวยสวนแบงตลาด 5% แตอยางไรก็ดี สวนแบงการตลาดของบริษัท ทีโอที ยังมี โอกาสเพิ่มขึ้นไดอีก เนื่องจากมีคแขงหลักนอยราย และแตละรายไมไดใหความสําคัญในการทําตลาดอยาง ู จริงจัง ทางทีโอทีไดเล็งเห็นชองวางของโอกาสนี้ จึงหันมาทบทวนแผนการตลาดของทีโอที Call center โดย พิจารณาจุดออนและจุดแข็ง พบวา ทีโอที Call center มีจุดแข็งที่สําคัญคือ เปนระบบทีครอบคลุมการใหบริการ ่ ทั่วประเทศไทย รวมทั้งมีความมั่นคง และนาเชือถือ เนื่องจากเปนหนวยงานขององคกรของภาครัฐบาล ่ ขณะเดียวกันก็มีจดออนที่ตองแกไขคือ ความไมชัดเจนในการกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑในกลุม รวมถึงเรื่อง ุ ของการสงเสริมการขายและประชาสัมพันธ หลังจากที่ทําการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลทังหมดจึงไดจัดทํา ้ แผนการตลาดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค คือ 1. เพิ่มยอดขายขึ้นจากยอดขายเดิม 100% ภายใน 1 ป (จาก 250 ลานเปน 500 ลาน) 2. เพิ่มสวนแบงตลาด จาก 5% เปน 10% ภายใน 1 ป 3. สรางฐานลูกคาของทีโอที Call center ในระยะยาว โดยแผนการตลาดจะเนนการแกไขจุดออนทางดานการ กําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ , โครงสรางราคา , การจัดสัดสวนของชองทางการจําหนาย ตลอดจนกิจกรรม สงเสริมการขายในดานตางๆ 4
  • 5. ขอมูลของบริษท (COMPANY PROFILE) ั ชื่อบริษัท บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) เลขทะเบียน ทีโอที 0107545000161 ที่ตั้งสํานักงานใหญ 89/2 หมู 3 ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 ที่ตั้งศูนยลูกคาสัมพันธ 3658 ถนนพระราม4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 ประเภทธุรกิจ ใหบริการโทรคมนาคมและธุรกิจเกี่ยวเนือง ่ โดยดําเนินการเองและ / หรือรวมกับผูอื่น นอกจากนี้ยังดําเนินการลงทุนโดยการถือหุน ในบริษทอื่น ั เลขหมายโทรศัพทศูนยลูกคาสัมพันธ 1100 เว็บไซต www.tot.co.th ทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 6,000 ลานบาท ชําระแลว 6,000 ลานบาท เปนหุนสามัญทั้งสิ้น จํานวน 600 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมี กระทรวงการคลังเปนผูถือหุนทั้งหมด วิสัยทัศน เปนบริษทโทรคมนาคมแหงชาติ ที่มีการบริหารจัดการที่โปรงใส และ ั มีประสิทธิภาพในระดับสากล พันธกิจ เปนผูใหบริการโครงขายหลักของประเทศ ดวยเทคโนโลยีที่ทนสมัย ั โดยคํานึงถึงความมั่นคงของชาติดานขอมูลขาวสาร ทําใหเกิดการ แขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม และใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูล ขาวสารรวมถึงบริการสาธารณะรูปแบบตางๆ อยางเทาเทียมและ ทั่วถึง 5
  • 6. ประวัติบริษท (COMPANY BACKGROUND) ั บริษัท ทีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) หรือเรียกโดยยอวา ทีโอที เดิมมีสภาพเปนรัฐวิสาหกิจสังกัด กระทรวงคมนาคม คือ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย กอตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ.2497 แตไดแปลง สภาพเปน บริษัท มหาชน จํากัด ตั้งแตวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ตามขอผูกพันในการเปดการคาเสรีของ องคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) ที่ประเทศไทยจะตองเปดเสรีบริการโทรคมนาคม พื้นฐาน โดยหนาที่ความรับผิดชอบเดิมขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทยกอนการแปรรูปนั้น มีหนาที่ กําหนดกฎระเบียบควบคุม และพัฒนาธุรกิจโทรคมนาคมของไทย ตลอดจนใหบริการโทรคมนาคมตางๆ อัน ประกอบดวย การใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ประกอบดวย โทรศัพทภายในประเทศ โทรศัพททางไกล ภายในประเทศ และโทรศัพททางไกลระหวางประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย การใหบริการโทรศัพทสาธารณะในประเทศ การใหบริการโทรศัพทเคลือนที่ ่ การใหบริการรับสงขอมูล การใหบริการที่มีมูลคาเพิ่ม (เชน พันธบัตร ) ดังนั้นจากรูปแบบการดําเนินธุรกิจของ ทีโอที ที่จําตองเปลี่ยนแปลงบทบาทลงมาเปนผูใหบริการรายหนึ่งใน ธุรกิจโทรคมนาคมทําให ทีโอที ตองเผชิญกับปจจัยแวดลอมที่เปนทั้งอุปสรรคและโอกาสตอการดําเนินงาน และสงผลให ทีโอที ตองปรับเปลี่ยนทิศทางการดําเนินธุรกิจใหมใหอยูในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น เชน บริการโครงขาย บริการอินเตอรเนท บริการเกมออนไลน และ อื่นๆ อีกมากมาย ตลอดจนปรับเปลี่ยนเปาหมาย ขององคกรใหมใหสามารถรองรับการแขงขันในธุรกิจโทรคมนาคมไดอยางมีศักยภาพ การปรับเปลี่ยนการดําเนินธุรกิจของ ทีโอที ทําใหเกิดการพัฒนากลยุทธโดยเนนที่ลูกคาเปนจุดศูนยกลาง (Customer Centric) จึงเปนการปรับเปลี่ยนและพัฒนาอยางหนึ่งในหลายๆ สวนที่มีผลกับการดําเนินธุรกิจของ ทีโอที โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาระบบจัดการลูกคาสัมพันธ โดยการประยุกตนาระบบบริหารความสัมพันธ ํ ลูกคาหรือ Customer Relationship Management เขามาใช จนทําใหเกิดเปน ผลิตภัณฑการใหบริการ Contact Center Outsourcing ขึ้น 6
  • 7. ที่มาของผลิตภัณฑ (PRODUCT BACKGROUND) Call Center ของ บริษัท ทีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เริ่มตนมาจากการเปนศูนยรบแจงเหตุโทรศัพท ั ขัดของ ผานหมายเลข 17 (ภายหลังเปลี่ยนเปน 1177, ปจจุบนรวมอยูใน 1100 ) โดยเริ่มกอตั้งขึ้นพรอมๆกับ ั องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2497 ตอมาในชวงตนป พ. ศ. 2534 ดวยแนวคิดจุดบริการ ขอมูลของบริษทจึงมีการจัดตั้งศูนยประชาสัมพันธและสอบถามขอมูลตามสาย ผานหมายเลข 505 –1000 ขึ้น ั และหลังจากนั้นอีก 10 ปตอมา คือ พ. ศ. 2544 ทีโอที ไดตั้ง ศูนยลูกคาสัมพันธ หรือ Call Center ขึ้นในชวง เวลาที่มีการดําเนินการปรับเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพททวประเทศจาก 7 หลักเปน 9 หลัก เพื่อเปนการเพิ่ม ั่ จํานวนเลขหมายโทรศัพทใหสามารถรองรับปริมาณความตองการในอนาคต การปรับเปลียนการกระทําที่ ่ คุนเคยอันยาวนานไปสูสิ่งใหมนั้น เปนเรื่องที่ตองอาศัยการประชาสัมพันธ การสรางความเขาใจที่ถูกตองแก ลูกคา จึงไดมีการเตรียมมาตรการรองรับปญหาที่จะเกิดขึ้น ศูนยลกคาสัมพันธ Call Center 1100 จึงเกิดขึ้น ู เพื่อใหเปนศูนยกลางชองทางสําคัญในการตอบขอซักถามตางๆ แกประชาชนผูใชบริการ ในขณะที่การใหบริการ Contact Center Outsourcing ของ ทีโอที นั้น แทจริงแลว ก็เริ่มตนครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2544 เชนเดียวกัน เพียงแตวาการรับทํา Outsource ในครั้งนั้นเปนการทําใหภาครัฐเพื่อสังคม คือ ในการจัด งานปรากฏการณทางดาราศาสน ฝนดาวตก “ วันครอบครัวรวมตัวดูฝนดาวสิงโต “ โดยที่สํานักงานใหญแจง วัฒนะ Call Center 1100 ไดทําหนาที่ในการใหขอมูลแกประชาชนทีมีความสนใจในปรากฏการณธรรมชาติครั้ง ่ สําคัญ รวมถึงการเปนศูนยรับรายงานผลการนับดาว รวมกับ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (NECTEC) และ สมาคมดาราศาสนแหงประเทศไทย เพือรายงานผลไปยังองคการบริหารการบิน และ ่ อวกาศสากล (NASA) ซึ่งนับเปนการเริมตนในการประชาสัมพันธเลขหมาย Call Center 1100 ออกไปอยาง ่ แพรหลาย จนกระทั่งเมื่อเริ่มเขาสูยุคทีมีการตื่นตัวเรือง CRM อยางสูงในประเทศไทย บวกกับการที่ ทีโอที ไดเปนผู ่ ่ ใหบริการ Contact Center ภาครัฐ คือ GCC Contact Center 1111 จึงทําให บริษัท ทีโอที คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ไดทําการขยาย Call Center จากสวนสํานักงานใหญแจงวัฒนะ มาตั้งเปนศูนยขอมูลครบวงจร Contact Center ณ ที่ทาการคลองเตย ในเดือน เมษายน พ. ศ. 2547 โดยมีการนําเอาระบบ Call Center ที่ ํ ทันสมัยที่สดในโลกเขามาใชในทุกสวนของ Contact Center และ ในที่สุดจึงไดเริ่มมีการเปดใหบริการ Contact ุ Center Outsourcing ขึ้นเมื่อเดือน มกราคม พ. ศ. 2550 ที่ผานมา 7
  • 8. จุดเดนของผลิตภัณฑ (UNIQUE SELLING POINT) ทางดานเทคโนโลยี บริษัทฯ ไดมการลงทุนในเรื่องของการติดตั้งระบบตางๆ ไดแก ี Siebel ระบบเก็บฐานขอมูล จัดสรรและกระจาย ที่มีความแมนยําและสามารถสืบคนได Nice Monitor สําหรับฟงและดูภาพหนาจอขณะที่พนักงานปฏิบัติงาน โดยสามารถดูไดทั้งแบบ Real- Time และ Historical Avaya ระบบ Call Center และ การสื่อสารทั้งหมด ( เชน CTI, PABX, Head-Set เปนตน ) CMS ของ Avaya เหมือนกัน เปน ตัวตรวจสอบคุณภาพแบบ Real-time และ Historical Blue pumpkin ระบบทําโครงสรางและจัดการ Workforce ทุกระดับ (Operator, Chief, Supervisor) ทั้ง เชิง Operation และ HR โดยประกอบดวย 2 สวน คือ Director Enterprise และ Web-Tool โดยระบบดังที่กลาวมาขางตนนั้นมีมูลคาสูงถึง 800 ลานบาท ซึ่งปจจุบันนี้ถือไดวาเปนเทคโนโลยีที่มี ความทันสมัยที่สุดในประเทศไทย โดย TOT เลือกเอาระบบทีไดรับความนิยมและยอมรับจากทั่วโลก 5 ่ อันดับแรก ซึ่งยังไมมีผูใหบริการรายใดในไทยนํามาใช ทางดานราคา ปจจุบันบริษทฯ มีความพรอมในดานตางๆ ทั้งบุคลากร และการบริหารจัดการระบบที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงมี ั ความสามารถในการจัดการระบบ Call Center ใหแกลูกคา ภายใตงบประมาณที่ลูกคาพึงพอใจ กลาวคือ สามารถควบคุมคาใชจายใหกับลูกคาได โดยทาง TOT Call Center นําเสนอบริการในราคาประหยัด ความสะดวกในการใชงาน ปจจุบันยังไมมีผูใหบริการรายใดในไทย ที่นําเสนอบริการ Call Center ในรูปแบบ Package พรอมใช ซึ่งสราง ความยุงยากใหแกลูกคาที่สนใจใชบริการ จึงเปนโอกาสใหทาง TOT นําเสนอบริการ Call Center พรอมใชเปน เจาแรกของประเทศไทย ชองทางในการจัดจําหนายและใหบริการ จากจุดแข็งของ TOT ที่มีศูนยบริการลูกคาสัมพันธกระจายอยูท่วประเทศ ทําให TOT สามารถสื่อสาร นําเสนอ ั บริการ Call Center ไปยังลูกคาเปาหมายไดอยางกวางขวางครอบคลุมกวาผูใหบริการรายอื่นๆ 8
  • 9. การวิเคราะหสถานการณ (SITUATION ANALYSIS) 1. การวิเคราะหตลาด (MARKET ANALYSIS) ปจจุบันศูนยบริการลูกคาสัมพันธ (Call Center) เปนชองทางไดรับความนิยมคอนขางสูงอีกชองทางหนึ่ง ใน การติดตอ ประสานงานระหวางองคกรกับลูกคา รวมถึงกับผูขายหรือ ผูสงมอบ ตลอดจนการรับขาวสารขอมูล  จากลูกคาทั้งที่เปนกระแสตอบรับ หรือ การรองเรียน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดแกองคกร ลูกคา ผูสงมอบ และประชาชนทั่วไป โดยในป 2549 ธุรกิจ Outsourcing Call Center ในประเทศไทย มีมูลคาตลาดรวมประมาณ 5,000 ลานบาท โดยมีผูนําในตลาด คือ บริษัท วันทูวัน คอนแทคส จํากัด โดยรายไดประมาณ 1,250 ลานบาท มีสวนแบง การตลาด 25% รองลงมาคือ บริษัท ทรู ทัช จํากัด มีรายไดประมาณ 500 ลานบาท มีสวนแบงการตลาดคิดเปน 10% สําหรับ ทีโอที มีรายไดประมาณ 250 ลานบาท มีสวนแบงการตลาด 5% แผนภาพแสดงสว นแบงการตลาด ธุรกิจ Call center ป 2549 TOT TRUE TOUCH 5% 10% OTHER ONE TO ONE 60% 25% แนวโนมตลาด (Market Trend) ทิศทางธุรกิจ Call Center ในชวงครึ่งปหลัง (ป 2550) วาจะมีความชัดเจนในโครงการตางๆมากขึ้น โดยเฉพาะ ในภาครัฐ เนืองจากปญหาทางดานเศรษฐกิจ และการเมืองเริ่มคลี่คลาย และชัดเจนขึ้นแลว ประกอบกับหลาย ่ องคกรเริ่มหันมาสนใจในการพัฒนาการใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ธุรกิจในภาคเอกชนเองก็มีความ ตื่นตัวมากขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคธุรกิจประกันภัย และบริการทางการเงิน ที่มีการใช Call Center 9
  • 10. เปนชองทางหลักอีกหนึ่งชองทางในการขยายฐานลูกคาและสรางรายได ทําใหคาดการณวาจะมีแนวโนมการ เติบโตสูงขึ้น โดยป 2551-2553 เปนตนไป สําหรับภาพรวมตลาด Call Center ในประเทศไทยนั้น ถือวายังอยูในระยะเริ่มตน แตมีอัตราการเติบโตคอนขาง สูง โดยปจจุบันคาดวามีมูลคาตลาดรวม 3-5 พันลานบาท ในอนาคต ระบบ Call Center มีแนวโนมที่จะพัฒนาไปสูส่งที่เรียกวา Contact Center มากขึ้น เนื่องจากการ ิ ใหบริการ จะไมผกติดกับการใชโทรศัพทเพียงอยางเดียว แตจะรวมถึงการติดตอผานทาง อีเมล เว็บ เชน ลูกคา ู ดูเว็บไซตแลวไมเขาใจก็สามารถคลิกปุมที่กําหนด เพื่อติดตอ Call Center แบบออนไลนได สิ่งเหลานี้สามารถ ทําไดภายใต Platform ที่ใช IP ในการรวมเทคโนโลยีทกอยางเขาดวยกัน เทคโนโลยี IP จะกลายเปนจุดเดนใน ุ การ Convergence ทุกอยางเขาดวยกัน ทั้งโทรศัพท อินเทอรเน็ต ทั้งนี้ ในอดีตการใหบริการ Call Center ตอง มีพนักงานคอยรับสายใหคําชี้แนะ ดังนั้นจึงจําเปนตองอยูในพื้นที่ทสายโทรศัพทเขาถึง ทําใหตองมีพื้นที่หรือ ี่ หองทํางานโดยเฉพาะเพื่อใหบริการ แตทวาหากใช IP ในการพัฒนาระบบ พนักงานก็จะสามารถทํางานจากที่ ใดก็ไดตลอดเวลา จึงเปนการลดตนทุนเกี่ยวกับและการสรางสํานักงาน ไดอีกทางหนึ่ง การวิเคราะธุรกิจผาน FIVE FORCE MODEL เปนการวิเคราะหสถานะและความนาสนใจของธุรกิจที่บริษัทดําเนินธุรกิจอยู และความสามารถในการทํากําไร ในระยะยาวของบริษัท โดยแบงการวิเคราะหออกเปน 5 ดานดังนี้ คูแขงใหมในธุรกิจ อํานาจตอ อํานาจตอ สภาวะการแขงขัน รองผูขาย รองผูซื้อ สินคาทดแทน 10
  • 11. 1.) ภาวะการแขงขันในธุรกิจ Call center ปจจุบนนี้ธุรกิจ Call center Outsource มีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้น และเปนธุรกิจที่มีความนาสนใจ ั เนื่องจากสามารถชวยบริษทตางๆ ในการบริหารงานลูกคาสัมพันธไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพมาก ั ขึ้น อีกทั้งยังเปนการลดตนทุนในการบริหารงานลูกคาสัมพันธของแตละบริษท เนื่องจากการทํา Call ั center นั้นตองใชเงินลงทุนเปนจํานวนมาก จึงมีแนวโนมของการใชบริการ Outsourcing Call Center เพิ่มสูงขึ้น 2.) แนวโนมคูแขงใหมที่จะเขามาในธุรกิจ Call center  คูแขงใหมที่จะเขามาในธุรกิจ Call center นั้นเปนไปไดคอนขางยาก เนื่องมาจากอุปสรรคในการเขาสู ตลาดดังตอไปนี้ 2.1 ความแตกตางของผลิตภัณฑ ดวยเหตุท่ผลิตภัณฑในตลาดไมคอยมีความแตกตางกันมาก ี ดังนันสินคาที่เขาสูตลาดเปนราย แรกๆจะสรางความประทับใจ และการจดจําตอตราสินคาของลูกคาไดกอน ซึ่งเปนอุปสรรคตอการ เขามาของคูแขงรายใหม เพราะตองมีคาใชจายจํานวนมากทั้งในเรื่องของการพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อ สรางความแตกตางจากผลิตภัณฑเดิมในที่มีอยูในตลาด รวมไปถึงการโฆษณาประชาสัมพันธ เพื่อใหสนคาเปนที่รูจักของผูบริโภค ิ 2.2 เงินลงทุน ธุรกิจ Call center เปนธุรกิจที่มีการลงทุนที่คอนขางสูง อันไดแก การวิจัยและพัฒนาระบบ การ สรางระบบ การจัดจําหนาย และการโฆษณา โดยตองจัดหาแหลงเงินทุนจากที่ตางๆ ตลอดจนมี  การวางแผนและกระจายความเสี่ยงในการลงทุน จึงเปนการสรางอุปสรรคในการเขามาของคูแขง รายใหมอยางอัตโนมัติ 2.3 การเขาสูชองทางการจัดจําหนาย เนื่องจากธุรกิจ Call center เปนธุรกิจแบบ B2B (Business to Business) ดังนั้นถาผูใหบริการราย เดิมสามารถทําใหบริษทตางๆใชบริการ Call center ของตนเองไดกอน การที่ผูใหบริการรายใหม ั จะชักจูงบริษทตางๆ ใหเปลี่ยนมาใชบริการ Call center ของตนเองนั้นเปนไปไดยาก ตองใชความ ั พยายามในการชักจูงลูกคา เชน จัดโปรโมชั่นลดราคาอยางมาก เพื่อชี้ใหลูกคาเห็นความคุมคาใน การเปลี่ยนระบบ Call center ไปใชของผูใหบริการรายใหม ดังนั้นผูใหบริการรายใหมที่จะเขามาใน ตลาดตองใชทั้งเวลาและเงินลงทุนที่สูง 3.) อํานาจตอรองกับผูขาย เนื่องจากทีโอที Call center ใชระบบคอมพิวเตอรและเครือขายของบริษัททีโอที รวมถึงมีบคลากรที่มี ุ ความชํานาญในการดําเนินการดาน Call center อยูแลว ไมวาจะเปนพนักงานรับโทรศัพท หรือ ชางซอม 11
  • 12. บํารุงเครือขาย แมวาการเปดใหบริการ Outsourcing Call Center จะตองใชเงินลงทุนในการขยายระบบ และรับพนักงานเพิ่มเติม แตก็จะไดเปรียบในดานตนทุน เนื่องจากมีทรัพยากรหลักรองรับอยูแลว 4.) อํานาจตอรองกับผูซื้อ กลุมของลูกคาบริการ Call center นั้น คือ กลุมบริษัทที่ตองการทําการบริหารงานลูกคาสัมพันธ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในขายสินคา และ เพิ่มความนาเชื่อถือขององคกร ดังนั้นการเลือกใชบริการ Outsourcing Call Center จะพิจารณาจากความนาเชือถือของผูใหบริการ และ ความมีเสถียรภาพของระบบที่ใช และ ่ ราคาคาบริการที่คุมคา แมวาทีโอที Call center จะมีความนาเชื่อถือในแงขององคกร รวมถึงมีระบบทีมีเสถียรภาพ แตหากวา ่ ราคาคาบริการของคูแขงต่ํากวา ลูกคาก็จะมีอํานาจในการตอรองในเรื่องของราคา รวมถึงระยะเวลาการ ใหบริการได 5.) ความเสี่ยงจากสินคาทดแทน ปจจุบนมีหลายบริษทที่จัดตังแผนก Call Center ขึ้นมาเอง ซึ่งอาจมีผลดีในการใหขอมูลตางๆของบริษท ั ั ้ ั ไดละเอียดกวา แตก็แลกมาดวยตนทุนทีสูง เนื่องจากตองลงทุนในการวางระบบ ทั้งทางดานเทคนิคและ ่ การจัดการ รวมทั้งการมีเว็บไซต หรือ เว็บบอรด ของบริษัทเพื่อใหลูกคาสามารถสอบถามขอมูลโดยตรง ผานทางเว็บไซต อยางไรก็ดี การลงทุนเองของบริษัทตางๆ ก็ไมสะดวกสบาย และไมกอใหเกิดผลกําไร  ตอบริษทโดยตรง ดังนั้นการ Outsource Call Center จึงเปนทางเลือกที่นาสนใจมากกวาการลงทุนจัดตั้ง ั แผนก Call Center ขึ้นมาเอง จึงทําให “ทีโอที Call center” มีความเสี่ยงจากสินคาทดแทนนอย Key Trends and Threats แนวโนมของธุรกิจ Call center นั้นมีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีกระแสความนิยมในการ Outsource ที่เพิ่มขึ้น ทั้งการ Outsource ในสิ่งที่บริษัทไมชํานาญ หรือ การ Outsource ในขั้นตอนทีตองใชการลงทุนสูงใน ่ การติดตั้งระบบ ซึ่งในปจจุบัน ลูกคามีทางเลือกหลักๆ 2 – 3 ราย ในการใชบริการ Call Center ทําใหผูให บริการที่สามารถเขาถึงลูกคาหรือบริษัทเฉพาะกลุมไดกอนยอมไดเปรียบ 2. การวิเคราะหคแขงทีสําคัญ (COMPETITOR ANALYSIS) ู ่ อุตสาหกรรมนี้จัดไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนคอนขางสูง ในเรื่องของเทคโนโลยีที่จะนําเขามาใชในการ  ใหบริการลูกคา และจําเปนตองอาศัยความชํานาญในการใหบริการ ประกอบกับการขยายตัวของอุตสาหกรรม เอง ทําใหมีการแขงขันคอนขางสูงระหวางผูประกอบการรายใหญเพียง 3 ราย ที่มีอยูในอุตสาหกรรม ดังนั้นคู แขงขันรายสําคัญ จึงไดแก บริษัท วันทูวน คอนแทคส จํากัด และ บริษัท ทรู ทัช จํากัด ั 12
  • 13. บริษัท วันทูวน คอนแทคส จํากัด ั เปนหนึ่งในกลุมบริษท สามารถ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กอตั้งขึ้นเมือป 2543 ดวยจุดมุงหมายเพื่อ ั ่ ใหบริการศูนยบริการขอมูลลูกคา (Contact Center) ใหกับองคกรภาครัฐและเอกชน โดยมีบริการที่หลากหลาย พรั่งพรอมดวยเทคโนโลยีอนทันสมัย บริหารงานโดยทีมงานมืออาชีพภายใตแนวคิด “ตอบสนองทุกดานดวย ั บริการครบวงจร” (Total Solution with Customize Services) ซึ่งสามารถพัฒนาและปรับเปลี่ยนรูปแบบการ บริการใหสอดคลองกับความตองการของแตละองคกรไดอยางลงตัว ลักษณะการใหบริการ 1.) บริการ ศูนยบริการขอมูลลูกคาแบบครบวงจร เปนการใหบริการลูกคาแบบครบวงจร ตังแตเริ่มเปนลูกคาโดยจัดการบริหารฐานขอมูลลูกคา ดูแลการใหบริการ ้ หลังการขาย บันทึกกิจกรรมการติดตอประสานงานลูกคากับองคกร และดูแลสรางความสัมพันธกบลูกคาระยะั ยาว ซึ่งประกอบดวย ศูนยบริการลูกคาสัมพันธ(Customer Care ) บริการรับแจงเรื่อง ดําเนินการ และ ติดตามเรื่องตางๆ เพื่อ สราง ความพึงพอใจใหลูกคา บริการรับคําสังซื้อสินคาและบริการ (Order Taking) ่ บริการรับเรื่องรองเรียน (Complaint Handling) บริการรับแจงและแกไขปญหาเรงดวน (Help Desk) 2.) บริการ ศูนยบริการขอมูลลูกคาแบบ รายโครงการ เหมาะสําหรับลูกคาที่ทํากิจกรรมพิเศษซึงมีระยะเวลาที่ชัดเจนหรือดูแลบริหารกิจกรรมการตลาดตางๆ ในการ ่ ใหบริการขอมูลของกิจกรรมนั้นๆ ไดอยางมืออาชีพ ซึ่งประกอบดวย บริการสํารวจและจัดเก็บขอมูลทางโทรศัพท (Tele-survey) บริการจําหนายสินคาทางโทรศัพท (Tele-sales) บริการงานสนับสนุนกิจกรรมการตลาด (Direct Marketing Support) บริการบริหารกิจกรรมสงเสริมการขาย (Campaign Management) บริการติดตามหนี้ (Debt Collection) บริการตรวจสอบและปรับปรุงฐานขอมูล (Database Clean up) 13
  • 14. 3.) บริการใหเชาระบบ บริการใหเชาระบบ Contact Center ทังในและนอกสถานที่ ครอบคลุมถึงการสงเจาหนาที่ท่มีความชํานาญไป ้ ี ปฏิบัติการใหบริการขอมูลในสถานที่แตละองคกรอยางเหมาะสม ชวยใหองคกรมีศนยบริการขอมูลลูกคาทีได ู ่ มาตรฐาน โดยไมตองลงทุนเอง เปนการแบงเบาภาระคาใชจาย ในการจัดจางบุคลากรและยังสรางความ คลองตัวในการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพซึ่งประกอบดวย บริการใหเชาสถานที่ (Location) เปนศูนยประสานงานบริการลูกคา บริการใหเชาอุปกรณที่ทันสมัยไดมาตรฐานระดับสากล (Hardware) บริการใหเชาซอฟตแวร (Software) ทั้งซอฟตแวรสําเร็จรูปและซอฟตแวรระบบ Call Center ที่ ปรับเปลี่ยนระบบการทํางานใหเหมาะสมกับธุรกิจขององคกร บริการการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Management) สามารถเลือกใชบริการจัดหาและฝกอบรม พนักงานใหบริการขอมูลทางโทรศัพท 4.) บริการวางระบบ Call Center ทั้งระบบ บริการใหคาปรึกษารวมไปถึงการออกแบบวางระบบ Call Center และ Contact Center ครบวงจรทั้งระบบ ํ (Turnkey Total Solution) โดยเนนออกแบบใหสอดรับกับการดําเนินธุรกิจแตละองคกร เปนบริการที่ชวยให  องคกรสามารถเก็บรักษาขอมูลที่สําคัญ และไมตองการเปดเผยไวไดเปนอยางดี และสามารถปรับเปลี่ยน  ลักษณะการงานอุปกรณคอมพิวเตอรตาง ๆ ตามความตองการไดอยางอิสระ ซึ่งประกอบดวย บริการออกแบบและติดตั้งระบบ (Solution Design & Integration) บริการบริหารจัดการโครงการ (Project Management) บริการบริหารงานบุคลากร (Call Agent Management) บริการตรวจสอบคุณภาพบริการ (Overall Service Monitoring) บริการรักษาระบบ (System Maintenance) Strengths & Weaknesses จุดแข็ง 1. ดวยความทีเขามาทําตลาดธุรกิจ Call Center เปนรายแรก ทําใหบริษัท วันทูวัน คอนแทคส จํากัด เปนที่ ่ รูจักของผูบริโภคสวนใหญ มีสวนแบงตลาดเปนอันดับ 1 และมีเงินทุนสูงในการทําการตลาดสูงกวาเมื่อ เทียบกับผูใหบริการรายอื่นๆ จุดออน 1. การไมมีโครงขายพื้นฐานเปนของตนเอง จะตองเชาใชจากผูใหบริการรายใหญ เชนจาก เชน TOT, TRUE เปนตนจึงทําใหมีตนทุนในเรื่องดังกลาสูงกลาว เมื่อเปรียบเทียบกับ TOT ซึ่งคาใชจายดังกลาวถือ 14
  • 15. วาเปนคาใชจายสวนหนึ่งทีสําคัญสําหรับการใหบริการทางดาน Call Center ที่ตองตอสายผานทาง  ่ โทรศัพท จึงทําใหอาจเสียเปรียบในเรื่องของราคาบริการได บริษัท ทรู ทัช จํากัด เปนหนึ่งในบริษัทชั้นนําของกลุม ทรูคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) จัดแถลงขาว เปดตัวอยางเปนทางการเมื่อ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2549 ณ อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก เพื่อใหบริการศูนยบริการลูกคาครบวงจร สมบูรณแบบ (Outsourcing Contact Center) ทั้งดาน Voice และ Non-Voice ตอบสนองความตองการของ กลุมลูกคาองคกรที่ดําเนินธุรกิจดานประกัน การธนาคาร สายการบิน ธุรกิจเอสเอ็มอี และ Food Delivery ตอก ย้ําการเปนผูนานวัตกรรมเพือการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย ํ ่ โดยใหบริการเชาระบบและ อุปกรณดาน Call Center บริการจัดหาอุปกรณและระบบตาง ๆ ที่ใชใน Call Center บริหารทรัพยากรบุคคลที่ มีคณสมบัติตามที่ตองการ นอกจากนี้ยังใหบริการออกแบบวางระบบดานองคความรูภายในองคกร ระบบการ ุ บริหารความสัมพันธลูกคา รวมถึง หลักสูตรการจัดฝกอบรมที่หลากหลาย เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการ พัฒนาธุรกิจ ลักษณะการใหบริการ 1.) บริการศูนยลูกคาสัมพันธครบวงจร 1.1 ศูนยบริการขอมูลลูกคา o บริการใหขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการ o บริการใหขอมูลเกี่ยวกับการชําระเงิน o บริการรับคําติชมหรือเรื่องรองเรียน o บริการใหคําปรึกษาดานเทคนิคและแกปญหาเรงดวน  o บริการงานลงทะเบียนตางๆ o บริการรับคําสังซื้อสินคาและบริการ ่ 1.2 ศูนยบริการติดตอลูกคา o บริการแนะนําสินคาหรือบริการสงเสริมการขายใหมๆ o บริการดานเรงรัดหนี้สิน o บริการสํารวจขอมูลการตลาดทางโทรศัพท o โปรแกรมรักษาฐานขอมูลลูกคา o โปรแกรมรักษาความภักดีของลูกคาตอสินคาและบริการ o การจูงใจลูกคาเกาใหกลับมาใชบริการ 15
  • 16. o บริการ Direct Mail และติดตามผล o สํารวจความพึงพอใจของลูกคา 2.) บริการใหเชาระบบและสถานที่ 2.1 บริการใหเชาระบบ Call Center และสถานที่ทํางาน o บริการใหเชาระบบ Call Center และอุปกรณตาง ๆ o บริการใหเชาซอฟตแวร 3.) บริการพนักงานลูกคาสัมพันธ 3.1 บริการพนักงานลูกคาสัมพันธ 3.2 บริการจัดหาพนักงานลูกคาสัมพันธ 4.) บริการจัดการธุรกรรมภายในในสํานักงาน 4.1 บริการปอนขอมูลลูกคาเขาสูระบบคอมพิวเตอร 4.2 บริการปรับปรุงและจัดฐานขอมูลลูกคา 4.3 บริการ Scan เอกสารและจัดเก็บเปนหมวดหมูในระบบคอมพิวเตอร 4.4 บริการจัดการรับ-สง E-mail 4.5 บริการรับสงเอกสาร พัสดุภัณฑ 5.) บริการใหคําปรึกษาและฝกอบรม 5.1 บริการจัดฝกอบรมใหกับเจาหนาที่และหนวยงานตางๆ 5.2 บริการทีปรึกษาดานการบริหารความสัมพันธลูกคาและการบริหาร ่ 6.) บริการวางระบบและบริหาร Call Center 6.1 บริการจัดหาและวางระบบ Call Center o บริการจัดหาและวางระบบ Hardware และอุปกรณตางๆ o บริการจัดหาและวางระบบ Software 6.2 บริการบริหารจัดการระบบ Call Center เพื่อใหสามารถทํางานอยางสอดคลอง และสนับสนุน กระบวนการทํางานของศูนยลูกคาสัมพันธ 16
  • 17. Strengths & Weaknesses จุดแข็ง 1. บริษัท ทรู ทัช จํากัด เปนบริษัทหนึ่งในบริษัทชั้นนําของกลุมบริษท ทรูคอรปอรเรชั่น จํากัด(มหาชน) ซึ่ง ั เปนบริษทฯ ที่เปนผูนําในเรื่องของการนําเอาเทคโนโลยี Convergence ในการรรวมกลุมของบริการตางๆ ั บนอินเทอรเน็ตเพื่อสรางความแข็งแกรงของการใหบริการ 2. ความสามารถในการสื่อสารบริการ ที่สามารถปรับเปลี่ยนไดตามไลฟสไตลของกลุมผูบริโภคโดยเฉพาะกลุม  ของคนรุนใหม จุดออน 1. ยังไมไดรับสัมปทานในเขตตางจังหวัดจากทางรัฐบาลโดยตรง ทําใหตองเสียคาใชจายที่สูงใหกบทาง กสท.  ั 3. การวิเคราะหผูบริโภค (Customer Analysis) ทัศนคติ สิ่งที่ลูกคาใหความสําคัญเมื่อตองรับบริการ Call Center ผานโทรศัพท หรือ 3R ไดแก Response การตอบสนองตอคําถามของลูกคาอยางรวดเร็ว ทันใจมีขั้นตอนวิธีการที่เปนมาตรฐาน Resolution การแกปญหาใหลกคาไดอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด โดยพนักงานบริการลูกคาตองมีความรูความ ู เขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการตางๆ Respect การยอมรับนับถือและใหเกียรติลูกคา มีทัศนคติที่ดีมีจิตใจพรอมใหบริการ พูดจาดวยถอยคําที่ สุภาพ ออนโยน พฤติกรรมการซื้อ สามารถแบงออกเปนกลุมๆไดดังนี้ 1. กลุมลูกคาภาครัฐ ขึ้นอยูกับงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรในแตละป และความเรงดวนในการจัดตั้งศูนย Call center เพื่อใช สําหรับเปนหนวยงานสนับสนุนงานโครงการตางๆ ที่ภาครัฐกําหนดขึ้น 2. กลุมลูกคาเอกชน เนนการครอบคลุมในเรื่องของการใหบริการ (One Stop Services), ความเปนมืออาชีพที่สามารถรองรับ การเปลี่ยนแแปลง และออกแบบระบบทีตรงกับความตองการของลูกคาแตละรายไดในมากที่สุด ่ 17
  • 18. 4. การวิเคราะหผูบริโภคเชิงลึกของ TOT Call center เหตุผลที่ผูบริโภคเลือกซื้อ (Why) เปนหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีกระทรวงการคลังเปนผูถือหุนรายใหญ ทําใหในกรณีเรงดวนทีจะตองมีการ  ่ จัดตั้งศูนย Call Center ไวเพื่อรองรับโครงการที่มีความสําคัญระดับประเทศ ที่คูสัญญาเปนหนวยงาน ภาครัฐดวยกันเองนั้น จะสามารถใชวธการจัดซื้อ-จัดจาง ดวยวิธีพิเศษ (ไมตองใชวิธยื่นซองเปดประมูล) ิี ี TOT มีความไดเปรียบทางดานการมีภาพลักษณดานความปลอดภัยทางดานขอมูล สูงกวาผูใหบริการที่  เปนเอกชน ทั้งนี้เนื่องมากจากปจจุบันผูใชงานทีตระหนักถึงความปลอดภัยของขอมูลภายในหนวยงาน ่ ของตน ทําใหสนใจที่จะใชบริการ Call Center ของ ทีโอที ที่สามารถชวยตอบสนองความตองการดาน การปองกันความปลอดภัยของขอมูล และเครือขายไดดีกวาการใชบริการของบริษัทคูแขงขันที่เปนของ เอกชน และมีบริษัทในครือที่ดําเนินธุรกิจใหลเคียงกัน เหตุผลที่ผูบริโภคไมเลือกซื้อ (Why Not) ประสบการณที่ไมดีที่ไดรับจากการใชบริการ Call Center ของ ทีโอที ในอดีต ดาน Switching Cost การเปลี่ยนแปลงผูใหบริการคอนขางยุงยากในดานการโยกยายและการกําหนดคา ตางๆ (Configuration) ใหกับเครื่อง และเรื่องของการเชื่อมตอฐานขอมูลสนับสนุน ทําใหผูใชบริการไม นิยมเปลี่ยนผูใหบริการมากนัก  5. การวิเคราะหสภาพแวดลอมของทีโอที Call center (Environmental Analysis) เพื่อใหเห็นถึงสภาพแวดลอมภายในขององคกรของ TOT อยางชัดเจน สามารถอธิบายไดดวยแนวคิดของ ของ R. Waterman ที่เรียกวา 7’s Mckinsey Model มาใชในการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในของ TOT ดังนี้ 18
  • 19. 7’s Mckinsey Model Strategy กลยุทธ Structure Skill โครงสราง ทักษะ Shared Values คานิยมรวม System Style ระบบ รูปแบบ Staff บุคลากร Strategy: นโยบาย วิสัยทัศน และกลยุทธการดําเนินงานขององคกร TOT มีวิสัยทัศนที่ชดเจน และสอดคลองกับการวางตําแหนงผลิตภัณฑ (Positioning) ของบริการ Call ั Center คือ “การเปนผูใหบริการโครงขายหลักของประเทศดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยคํานึงถึงความ มั่นคงของชาติดานขอมูลขาวสาร ทําใหเกิดการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม และใหประชาชนสามารถ เขาถึงขอมูลขาวสารรวมถึงบริการสาธารณะรูปแบบตางๆ อยางเทาเทียมและทั่วถึง” ทําใหสามารถ นํามาใชประโยชนในการการกําหนดแนวทางการจัดทําแผนกลยุทธทางการตลาดทีสามารถนําไปสูการ ่ ปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมและชัดเจน Structure: โครงสรางองคกร TOT ถือเปนองคกรที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบองคกรคอนขางบอยภายในชวงระยะเวลาการดําเนินงานที่ ผานมา ซึ่งทําใหตองมีการปรับเปลี่ยนโครงสรางองคกรใหสอดคลองกับรูปแบบองคกรดังกลาว โดยการ ปรับเปลี่ยนโครงสรางองคกรบอยครั้ง อาจกอใหเกิดความสับสนในแกบุคลากรในองคกร Services: สินคาและบริการขององคกร ในสวนของการดําเนินงานและใหบริการแกหนวยงานตางๆ นั้น TOT มีทีมงานที่มีความรูความสามารถ และมีความยืดหยุนในการใหบริการ เพื่อสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาใหไดมากที่สุด 19
  • 20. อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน TOT ยังขาดกลยุทธเชิงรุกในการประชาสัมพันธหนวยงานและบริการที่มีอยู ทํา ใหหนวยงานตางๆ อาจจะยังไมเขาใจถึงบทบาทการดําเนินงานและบริการที่มีอยูของ TOT Style: ลักษณะการบริหารงาน แนวคิด และพฤติกรรมการบริหารงานของผูบริหาร ผูบริหารของ TOT Contract Center ไดมีการกระจายอํานาจใหหัวหนากลุมตางๆ และใหมีสวนรวมใน การตัดสินใจ ซึ่งเปนรูปแบบของผูบริหารยุคใหม แตในขณะเดียวกันในภาพรวมขององคกร ซึ่งแตเดิม เคยเปนหนวยงานราชการ รูปแบบและวัฒนธรรมการทํางานยังมีการทํางานโดยยึดกฎ ระเบียบของทาง ราชการเปนหลัก การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาจึงตองใชเวลาพอสมควร Staff: บุคลากรภายในองคกร ปจจุบน TOT เปนหนวยงานที่มีบุคลากรที่มีความรูและความเชียวชาญทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ั ่ หลายสาขาจํานวนมาก แตอยางไรก็ตามในสวนของพนักงานใหมที่จะเขามาเสริมนั้น TOT ยังมี ระยะเวลาในการพัฒนาความรู ความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของพนักงานใหมคอนขางนานดวย Skill: ความรู ความสามารถขององคกร TOT มีจุดยืนในการใชความสามารถหลัก (Core Competency) ในการดําเนินธุรกิจโดยสะทอนใหเห็นถึง พฤติกรรมทีเกี่ยวของกับความรู (Knowledge) ทักษะ (Skills) และความสามารถดานเทคนิคเฉพาะงาน ่ หรือที่เรียกวา Technical Competency ที่เนนทักษะความรูเกี่ยวกับสินคา (Product Knowledge) ทางดาน Call Center โดยเฉพาะ Shared Values: แนวคิด คานิยม และความคาดหวังของบุคลากรในองคกร วัฒนธรรมองคกร (Corporate Culture) ของ TOT มีทั้งดี และไมดี เปนปจจัยที่ตองใชเวลา ในการ เปลี่ยนแปลงมากที่สุดปจจัยหนึ่ง เนื่องจากบุคครลากรที่ทํางานมานาน มักจะยึดติดกับการทํางานแบบ ระบบราชการ ทําใหมีบางสวนที่มีความรูสึกการยึดติด กลัวการเปลี่ยนแปลง และกลัวสูญเสียประโยชน 20
  • 21. การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและขอจํากัดทางการตลาด (SWOT Analysis) จุดแข็ง – Strengths 1. TOT มีเครือขายโทรศัพทเปนของตนเอง และครอบคลุมการใหบริการทั่วทั้งประเทศไทย และมีระบบ ฐานขอมูลที่จดเก็บขอมูลพืนฐานสวนบุคคลของผูใชบริการโทรศัพท ั ้ 2. นอกเหนือจากระบบ Call Center แลว TOT ยังมีบริการที่หลากหลายที่สามารถทําการ Convergence ไปสู ลูกคาได เชน ระบบโทรศัพทพื้นฐาน ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง บริการสื่อสาร ขอมูล และอื่นๆ 3. TOT มีความมั่นคง และนาเชื่อถือเนื่องจากเปนหนวยงานขององคกรของภาครัฐบาล มีประสบการณ และมี ผูเชี่ยวชาญทีมความรู ความสามารถเฉพาะทาง ่ ี จุดออน – Weaknesses 1. เจาหนาที่ในสวนที่ใหบริการสอบถามขอมูล (Operator) ขาด Loyalty กับองคกร มีการเปลียนแปลงงาน ่ บอยๆ ทําใหองคกรขาดเจาหนาที่ที่มีความรูเรื่อง Know how และความสามารถในการตอบปญหาตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสวนงานดังกลาวจะใหบริการขอมูลแกผูใชบริการไดดี จําเปนตองอาศัย เจาหนาที่ท่มีประสบการณ และเคยผานการแกไขปญหาตางๆ มาพอสมควร ี 2. ขาดการโฆษณาประชาสัมพันธบริการตางๆที่มีอยู ใหเปนที่รูจักในวงกวาง 3. การสงเสริมการตลาดไมมีจุดยืน และไมคํานึงถึงการสราง Product Image / Product Selling การโฆษณา สวนใหญจะเนนทางดานการสราง Corporate Image (ยังไมมีการเนนที่ตว Smart TOT Call Center เพียง ั อยางเดียว) และภาพลักษณสวนใหญยังถูกมองวาเปนระบบราชการที่ขาดประสิทธิภาพเมื่อเปรียบเทียบกับ คูแขงรายอื่นๆ โอกาส – Opportunities 1. จากสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน ทําใหลูกคาหันมาใหความสนใจกับใหใชบริการ Call Center มากขึ้น ดวย เห็นชองทางที่จะทําใหสามารถลดคาใชจายในการบริการจัดการ Call Center ของตนเอง  2. ประเทศไทยยังมีสดสวนของผูใหบริการ Call Center คอนขางต่ํา เมื่อเปรียบเทียบกับกับตางประเทศ ั ประกอบกับการขยายตัวทางธุรกิจและการแขงขันทางธุรกิจที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทําใหองคกร ตลอดจนหนวยงานตางๆมองเห็นโอกาสของการนําเอาระบบงาน Call Center เขามาเสริมการในการ ใหบริการหลักเพิ่มมากขึ้น จึงนับไดวาธุรกิจ Call Center ยังมีชองวางในตลาดทีสามารถเจริญเติบโตไดอีก  ่ มาก จึงแสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่ดีของการขยายตัวของในธุรกิจ Call Center ในอนาคต 21
  • 22. 3. จากการกระแสของการบริหารลูกคาสัมพันธ (CRM) ทําใหปจจุบันมีธุรกิจหลายแขนงที่ตองการการ สนับสนุนงานในสวนของการใหบริการลูกคาสัมพันธ (Call Center) ดังนั้นจึงนับไดวามีฐานลูกคาคอนขาง จะกวาง และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขอจํากัด – Threats 1. ลูกคาสวนใหญมีปญหาในเรื่องของระบบฐาน (Database) ที่ยังไมดีพอ ทําใหการเขาไปดําเนินการจัดการ กับระบบ Call Center ของลูกคากระทําไดคอนขางจะยากลําบาก และทําใหระบบที่ไดติดตั้งไปไมสามารถ  ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพเทาที่ควร 2. ลูกคาผูใชบริการมีความกังวลเรื่องความปลอดภัยของขอมูล ทําใหการเขาไปทํางานในสวนดังกลาวกระทํา ไดไมไดเต็มทีมากนัก ่ 3. จากพฤติกรรมของคนไทย ที่ไมเชื่อมั่นในการมอบหมายงานใหบริษทอื่นเขามาทําแทนในสวนทีตนไมถนัด ั ่ 4. จากการเปดเสรีสื่อสารโทรคมนาคม อาจทําใหมีผูประกอบการจากตางประเทศทีมีความเขมแข็งทางเงินทุน ่ และเทคโนโลยีเขามาแขงขันในตลาด 22
  • 23. วัตถุประสงคทางการตลาด (MARKETING OBJECTIVES) 1. เพิ่มยอดขายขึ้นจากยอดขายเดิม 100% จากยอดขายมูลคา 250 ลานบาท เปน 500 ลานบาท ภายใน 1 ป 2. เพิ่มสวนแบงตลาด จาก 5% เปน 10% ของ Market Share รวมของอุตสาหกรรมนี้ ภายใน 1 ป 3. สรางฐานลูกคาของทีโอที Call center ในระยะยาว โดยแผนการตลาดจะเนนการแกไขจุดออนทางดานการ กําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ โครงสรางราคา การจัดสัดสวนของชองทางการจําหนาย ตลอดจนกิจกรรม สงเสริมการขายในดานตางๆ 23