SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
3. เครืองมือ
มีเครืองป้องกันอันตรายส่วนบุคลอย่างเพียงพอพร้อมใช้งาน (MT 3.1.4)
โอกาสพัฒนา
 ไม่ควรนํานํายาทีหมดอายุมาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ (พบนํายาตรวจ Leptospira lg M Exp.
2013/03) (MT3.1.1)
-งานชันสูตรได้มีการจัดทําบันทึกวัสดุนํายา เพือจดบันทึก lot . วันหมดอายุ และวันเปิดใช้เพือเป็นการ
ตรวจสอบนํายา อุปกรณ์ต่าง
 ควรระบุช่วงค่าใช้งานของเครืองมือ เกณฑ์การยอมรับใช้งานได้(%error) ผู้รับผิดชอบในแผนสอบ
เทียบและควรทําการสอบเทียบเครืองมือให้ครบถ้วน เช่น เครืองตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ CBC ,และ
ควรนํา ตู้ปลอดเชือ BSC Class II, เครืองปัน Hct เข้าแผนสอบเทียบ เพือป้ องกันการนําเครืองมือที
ไม่ได้คุณภาพมาใช้งาน (MT 3.1.5)
-เนืองจากงานชันสูตรมีการสอบเทียบเครืองมือพร้อมกับทีมเครืองมือของโรงพยาบาลกับศูนย์วิศวกรรม
ทางการแพทย์แต่เนืองจากห้องปฏิบัติการต้องการเกณฑ์การยอมรับได้ในการสอบเทียบให้เหมาะสมกับ
การใช้งานในห้องปฏิบัติการ งานชันสูตรจึงกําหนดเกณฑ์การยอมรับได้ในแผนการสอบเทียบเครืองมือ
 ควรทําการตรวจสอบเครืองสํารองไฟ (UPS) ให้ครบทุกเครืองกําหนดความถีให้เหมาะสม อย่าง
น้อยทุก 3 เดือนและบันทึกผลการทดสอบไว้เป็นหลักฐาน (MT.1.6)
-ตามทีอาจารย์ได้ให้คําแนะนํา งานชันสูตรได้ทําการได้ทําการทดสอบเครืองสํารองไฟ เป็นประจําทุกสองเดือนเพือ
ทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของเครืองสํารองไฟและบันทึกผลในแบบฟอร์มสํารวจเครืองสํารองไฟ
 ควรนําคู่มือการใช้งานเครืองต่างๆจดทะเบียนมีรหัสเอกสารให้เป็นเอกสารคุณภาพ(MT3.1.7)
- งานชันสูตรนําคูมือการใช้งานต่างๆ มาขึนทะเบียนและใส่รหัสเอกสารคุณภาพ ตัวอย่างเช่น คู่มือการใช้งาน
เครือง Daytona เป็นต้น
 ควรทําการการชีบ่งรอบของการปันเลือดและปัสสาวะของเครืองปันทีใช้ร่วมกัน (MT3.2.1)
-งานชันสูตรได้ทําการติดเครืองหมาย เพือบ่งชีรอบการปันเลือด และการปันปัสสาวะเพือความ
เหมาะสมของการปันชนิดต่าง ตามเอกสารแนบ (การบ่งชีรอบการปันเลือดและปันปัสสาวะ)
 ควรมีระบบป้องกันการปรับเปลียนคุณลักษณะของเครืองมือทีมีผลต่อการรายงานผล ควรมีบันทึก
การปรับเปลียนค่าต่างๆของเครืองมือไว้(MT3.3.2)
-งานชันสูตรมีวิธีปฏิบัติการปรับเปลียนลักษณะของเครืองมือ (WI-LAB-11-022) ซึงอาจส่งผลกระทบ
ต่อการตรวจวิเคราะห์
 ควรทบทวนการบันทึกประวัติครุภัณฑ์เครืองมือหลักให้ครบถ้วน ลงบันทึกการซ่อม การ
บํารุงรักษา เปลียนอะไหล่ในประวัติครุภัณฑ์(MT3.4)
-งานชันสูตรมีการทบทวนประวัติครุภัณฑ์ให้ครบถ้วน มีการลงบันทึกการบํารุงรักษาให้ครบถ้วน ตาม
เอกสารแนบ
 5.1 สถานทีและภาวะแวดล้อม
 แยกพืนทีส่วนปฏิบัติงานทีไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้แยกพืนทีส่วนเอกสารและมีส่วนพักของ
บุคลากร (MT 5.1.1 ข,ค)
-งานชันสูตรมีการแบ่งพืนทีอย่างชัดเจนในการปฏิบัติงาน พืนทีเอกสาร และพืนทีพักเจ้าหน้าทีตาม
ความขนาดพืนทีทีมีอยู่อย่างจํากัด ตามเอกสารแนบ
 ควรเพิมวิธีปฏิบัติการแก้ไขเมืออุณหภูมิออกนอกเกณฑ์ทีกําหนดในแบบบันทึกอุณหภูมิ และจัดหา
เทอรโมมิเตอร์ทีสอบเทียบแล้วไว้ตรวจสอบอุณหภูมิช่องแช่แข็งของตู้เย็นทีเก็บสารคุณภาพ และ
สารเทียบของงานเคมีคลินิก (MT5.1.2)
- งานชันสูตรได้เพิมวิธีการแก้ไขเมืออุณหภูมิ อยู่นอกเกณฑ์ทีกําหนด ในแบบบันทึกอุณหภูมิตู้เย็น และจัดหาเท
อรโมมิเตอร์ ในช่องแช่แข็ง ตามเอกสารแนบ
 ควรจัดหาสถานทีในการจัดเก็บเสมหะให้ผู้ป่วย โดยมีสิงอํานวยความสะดวก เช่นอ่างล้างมือ ถัง
ขยะติดเชือ และวิธีการเก็บเสมหะทีชัดเจน และควรจัดทําป้ ายบอกวิธีเก็บปัสสาวะทีถูกต้องไว้ที
ห้องนําสําหรับเก็บปัสสาวะชายและหญิง (MT5.1.3)
-งานชันสูตรได้จัดทําป้ ายเพือบอกการเก็บปัสสาวะทีถูกต้องไว้ในห้องนําจุดต่างๆ เพือให้ผู้ป่วยทราบถึง
วิธีการเก็บทีถูกต้อง (ป้ายบอกวิธีการเก็บปัสสาวะ)และจัดทําบันทึกข้อความเพือจัดหาสถานทีเก็บ
เสมหะทีถูกต้อง(ตามเอกสารแนบ)
 ควรทบทวนการล้างหลอดปันปัสสาวะและอุปกรณ์ทีนํากลับมาใช้ใหม่ ควรแช่นํายาฆ่าเชือก่อนล้าง
อย่างถูกวิธี (MT5.1.5)
-งานชันสูตรได้มีการทบทวนการล้างหลอดปันปัสสาวะโดยขอจัดซือนํายาฆ่าเชือเพือใช้แช่ฆ่าเชือก่อนล้าง (ตาม
เอกสารแนบ)
 ควรหาจุด Spill kit ไว้ใช้งานในห้องปฏิบัติการ และควรดําเนินการแก้ไขการตรวจติดตามความ
ปลอดภัยประเด็นทีไม่ผ่านเกณฑ์และสรุปผลการตรวจติดตามความปลอดภัยรายงานต่อผู้บริหาร
เพือการพัฒนาระบบความปลอดภัย ลดความเสียง ป้องกันการเกิดซํา (MT5.1.8,MT5.1.9)
-งานชันสูตรได้ทําการจัดซือ ชุด spill kitt เพือไว้ใช้งานในห้องปฏิบัติการ (ตามเอกสารแนบ) และ งานชันสูตรได้ทํา
การสํารวจความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการโดยใช้ แบบประเมินระบบความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ของสภา
เทคนิคการแพทย์ และนําเสนอต่อผู้บริหารเพือดําเนินการแก้ไข
5.2 การประกันคุณภาพการวิเคราะห์
โอกาสพัฒนา
 ควรทบทวนการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ (IQC) ให้ถูกต้องตามมาตรฐาน ดังนี
(MT 5.2.1ก, MT5.2.1ข, MT5.2.1ค)
 ควรจัดทํา IQC ให้ครอบคลุมทุกรายการตรวจ เช่น สีย้อมต่างๆ Wright, Trop-I, OF,
DCIP, Occulte Blood เป็นต้น
 Strip test ควรทํา IQC ทังค่า normal และ abnormal เดือนละครัง และเมือเปิดกล่อง
ใหม่ เช่น pregnancy test, Amphetamine, Anti HCV, HBs Ag, Anti HBs, Anti HIV-
Determine, AFP, PSA เป็นต้น
- งานชันสูตรได้ทําการ การประกันคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ เพือให้ครอบคลุมทุก
รายการตรวจวิเคราะห์ (ตามเอกสารแนบ)
 ควรติดตาม IQC ของ Electrolyte ในรูปแบบกราฟ
 ควรใช้ Lab mean, Standard Deviation (SD) ของห้องปฏิบัติการ และหา %CV จาก
การทํา IQC และมาติดตามผลทุกเดือนเพือใช้ประเมินประสิทธิภาพของเครืองตรวจ
วิเคราะห์
 ควรใช้ Lab mean, Standard Deviation (SD) ของห้องปฏิบัติการ และหา %CV จาก
การทํา IQC และมาติดตามผลทุกเดือนเพือใช้ประเมินประสิทธิภาพของเครืองตรวจ
วิเคราะห์
- งานชันสูตรได้มีการ จัดทํา IQCในรูปแบบกราฟ โดยใช้Lab mean, Standard
Deviation (SD) ของห้องปฏิบัติการ และหา %CV จากการทํา IQC และมาติดตามผล
ทุกเดือนเพือใช้ประเมินประสิทธิภาพของเครืองตรวจวิเคราะห์ (ตามเอกสารแนบ)
 ควรทบทวนวิธีปฏิบัติการควบคุมคุณภาพภายใน การกําหนดเกณฑ์ควบคุมคุณภาพ
โดยใช้Multi rule/West guard rule
- งานชันสูตรได้ทําการทบทวน วิธีปฏิบัติในการควบคุมคุณภาพภายในและได้ดําเนินการ
แก้ไข แนวทางการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ (WI-LAB-11-001)โดยใช้หลัก
Shewhart ‘ s law เป็นแนวทางในการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ
 ควรบันทึกข้อมูลวัสดุ หรือปัจจัยทีเกียวข้องกับการควบคุมคุณภาพให้ครบถ้วน ควร
บันทึก lot. ทีใช้วันทีหมดอายุ และวันทีเปิดใช้ของสารควบคุมคุณภาพในแฟ้ มเอกสาร
ให้ครบถ้วน โดยเฉพาะสารควบคุมคุณภาพทางภูมิคุ้มกันวิทยาทีนํา serum จากผู้ป่วย
หรือ EQA มาใช้กับ strip test ต่างๆ
- งานชันสูตรได้ทําการจัดทําแบบบันทึกนํายาวัสดุอุปกรณ์ เพือเป็นการบันทึกข้อมูล lot . นํายา
วันทีเปิดใช้ และวันหมดอายุ
 ควรสรุปผล EQA ทุกครังทีได้รับ และทําการแก้ไข EQA เป็นราย test ทีไม่ผ่านเกฌฑ์ให้
ครบถ้วนในทุกสาขางาน เช่น ในงานเคมีคลินิก EQA center เดือน กพ. 56 และกรมวิทย์ครังที
1/2556 test Creatinine และ protein ออกนอกเกณฑ์, งานจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิคทีไม่พบไข่
พยาธิ และควรเปลียนเป้ าหมายให้เกิดการพัฒนาขึนอย่างต่อเนือง (MT5.2.2)
- งานชันสูตรได้ทําการแก้ไข EQA ทุกครังทีได้รับและทําการแก้ไข ในบันทึกการแก้ไขการควบคุม
คุณภาพโดยองค์กรภายนอก เป็นราย test ยกตัวอย่างเช่น ในงานเคมีคลินิก Test Ceatinine ครังที
1/2556 ได้ค่า VIS=170.98 จึงได้ทําการปรึกษากับผู้เชียวชาญผลิตภัณฑ์และจนพบสาเหตุว่าอาจเกิดจาก
การทีใช้ Calibration ทีละลายนานเกินไป (ตามเอกสารแนบ)จึงได้ทําการแก้ไข และในการทดสอบครังที
2/2556 Test Ceatinine ได้เกิดการพัฒนาทําให้ได้ค่า VIS = 16.01 ส่วนในงานจุลทรรศน์ศาสตร์
คลินิค ได้ทําการบันทึกการแก้ไขแล้ว แต่เนืองจากยังไม่ได้ผล การประเมินคุณภาพการวิเคราะห์ครังต่อมา
 ในรายการวิเคราะห์ทีไม่มี EQA ควรดําเนินการทํา Inter lab compare ให้ครบทุกรายการตรวจที
เปิดให้บริการ เช่น Anti HCV, DCIP, MB, RF, Amphetamine, AFP, PSA และ Pregnancy test
เป็นต้น (MT5.2.3)
- ในรายการทีไม่มี EQA .ได้ร่วมกับเครือข่ายห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์จังหวัดชยภูมิในการ
ทํา Inter lab ให้ครบตามรายการทีเปิดให้บริการ(ตามเอกสารแนบ)
 วัสดุอ้างอิงควรมีใบรับรองหรือข้อมูลอ้างอิงจากผู้ผลิต ควรมีข้อมูลของสารสอบเทียบของ
เครืองตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ CBC (MT5.2.4)
- งานชันสูตรแจ้งให้บริษัทให้ทําการสอบเทียบเครืองตรวจนับเม็ดเลือดอัตโนมัติ (CBC) (ตาม
เอกสารแนบ)
 ควรทําการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์เดียวกันแต่ใช้หลายเครือง เช่น Hct โดยใช้จํานวน
ตัวอย่างทีเหมาะสม (40 ตัวอย่าง) ตัวอย่างทีใช้ควรมีค่าสูง ค่าปกติและค่าตํา และทําการ
วิเคราะห์ค่าทางสถิติ (MT5.2.5)
ยังหาค่า R ไม่ได้
 5.3 ขันตอนก่อนการวิเคราะห์
 มีบันทึกการรับตัวอย่างในสมุดหรือระบบคอมพิวเตอร์ (MT5.3.2 ง) กําหนดเกณฑ์การ
ปฏิเสธตัวอย่างทีไม่เหมาะสม (MT 5.3.3 ก) กรณีทียังไม่ทําการวิเคราะห์ทันที มีการเก็บรักษา
ตัวอย่างทีเหมาะสม (MT5.3.1 จ)
- งานชันสูตรมีวิธีปฏิบัติในการรับตัวอย่าง (WI-LAB-01-008) และมีวิธีปฏิบัติในการปฏิเสธสิงส่ง
ตรวจ (WI-LAB-11-008) และเกณฑ์การปฏิเสธตัวอย่างทีไม่เหมาะสม ในแบบ แบบบันทึกการ
ปฏิเสธตัวอย่างตรวจ และมีวิธีปฏิบัติการเก็บรักษาสิงส่งตรวจทียังไม่ได้ทําการตรวจวิเคราะห์อย่าง
เหมาะสม (WI-LAB-11-013)
 ควรกําหนดวิธีการเพิมแลบลงในคู่มือการใช้บริการห้องปฏิบัติการให้บริการทราบว่ารายกา
วิเคราะห์ใดทีสามารถเพิมได้ในเวลาทีกําหนด (MT5.3.1 ง)
-- งานชันสูตรได้มีการกําหนดวิธีการและรายการเพิม Lab ในคู่มือการใช้ห้องปฏิบัติการ(ตามเอกสาร
แนบ) เพือให้ผู้รับบริการได้เข้าใจและสามารถรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ควรทบทวน WI การตรวจวิเคราะห์ให้มีรายละเอียดให้ครบ เช่น WI-LAB-03-001 การตรวจ
ปัสสาวะด้วยเครือง Dirui H 500 ขาดการรายงานผลด้วยกล้องจุลทรรศน์ การ grading cell, cast,
epithelium, WI-LAB-03-007 การตรวจมาเลเรีย Thick&Thin ขาดวิธีการรายงานผลเช่นเดียว ส่วน
WI Bleeding Time WI-LAB-02-08 ใช้เจาะติงหูไม่ใช่วิธีมาตรฐาน ต้องใช้วิธีเจาะหน้าแขน (Ivy
method) และควรมีแนวทางการตรวจ Anti HIV ตาม guild line ของกระทรวงสาธารณสุข ใน WI
การตรวจวิเคราะห์ HIV (MT5.4.1 ก)
- งานชันสูตรได้มีการทบทวน วิธีปฏิบัติให้มีรายละเอียดครบถ้วนและสมบูรณ์เช่น การตรวจวิเคราะห์
ปัสสาวะ ด้วยเครือง DIRUI H-500(WI-LAB-03-001) การตรวจ มาลาเรีย (WI-LAB-03-007) และ WI
Bleeding Time ใช้วิธี Duke method ซึงไม่ใช้วิธีมาตรฐานแต่ทางห้องปฏิบัติการมีการสอบถามไปยัง
ผู้รับบริการว่า มีความเหมาะสมกับบริบทของห้องปฏิบัติการ และสะดวก และมีผลกระทบต่อการ
วินิจฉัยของแพทย์และผู้ป่วยก็เจ็บน้อยกว่าและใน การตรวจวิเคราะห์ Anti HIV (WI-LAB-06-002) ได้
มีการเพิม Gride line ของกระทรวงเข้าไปในวิธีปฏิบัติ
 ควรทบทวนหลักการวิเคราะห์ให้ถูกต้องและครบถ้วนในทุกรายการวิเคราะห์ทีเปิดให้บริการอย่าง
น้อยปีละครัง (MT5.4.1 ข)
 ควรแจ้งวิธีวิเคราะห์ให้ผู้ใช้บริการทราบ ถ้าเปลียนแปลงวิธีการต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์และมีบันทึก
การแจ้ง (MT5.4.1 ง,จ)
-เรามีการทบทวนรายการตรวจวิเคราะห์ต่างๆ และหลักการวิเคราะห์ เพือให้เหมาะสมกับผู้ใช้บริการ
อย่างน้อยปีล่ะครัง(ตามเอกสารแนบ) และได้มีการไปยังผู้ใช้บริการเพือให้ทราบการเปลียนแปลงการ
วิเคราะห์(ตามเอกสารแนบ)
 ควรจัดทําวิธีปฏิบัติงานฉบับย่อไว้ณ จุดปฏิบัติงานการตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยาและเอกสาฉบับย่อ
ควรสือไปถึงฉบับเต็มทีมีรหัสเอกสาร (MT5.4.3)
-งานชันสูตรได้จัดทําเอกสารฉบับย่องานภูมิคุ้มกัน ณ จุดปฏิบัติงาน(ตามเอกสารแนบ)
5.5 ขันตอนหลังการวิเคราะห์
ตัวอย่างหลังวิเคราะห์ มีการระบุระยะเวลาในการจัดเก็บ (MT5.5.2) มีการทําลายตัวอย่าง ทีเหลือ
จากการวิเคราะห์อย่างถูกวิธี (MT5.5.3)
-งานชันสูตรมีวิธีปฏิบัติในการจัดเก็บ และการทําลายตัวอย่าง ทีเหลือจากการวิเคราะห์อย่างถูกวิธี (WI-
LAB-11-014 )
-โอกาสพัฒนา
 ควรจัดทําวิธีปฏิบัติ แนวทางการตรวจสอบผล เพือให้เจ้าหน้าทีทุกคนปฏิบัติให้ตรงกัน และควรสุ่ม
ตรวจผลที key in เพือลดการรายงานผลผิด (MT5.5.1)
- งานชันสูตรมีระเบียบปฏิบัติในการตรวจสอบ ผลการ Key in เพือตรวจสอบการรายผล(WI-LAB-11-
022 )
ข้อเสนอแนะ
 ควรจัดระบบสารสนเทศในห้องปฏิบัติการ (LIS) มาใช้เพือพัฒนาระบบงานของห้องปฏิบัติการและ
ลดการรายงานผลผิด
5.6 การรายงานผล
 มีระเบียบปฏิบัติเกียวกับขันตอนรายงานผล (MT5.6.1 ก) มีการกําหนดค่าวิกฤติกับองค์กรแพทย์
(MT5.6.1 ง,จ ) เก็บสําเนารายงานผล ในช่วงเวลาทีเหมาะสม เรียกมาใช้งานได้อีก (MT5.6.2 ค) มี
การระบุสภาพตัวอย่างทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ในใบรายงานผล (MT 5.6.2 ง)
- งานชันสูตรมีมีวิธีปฏิบัติเกียวกับการรายงานค่าวิกฤติ (WI-LAB-11-006) และมีการเก็บสําเนาผลแลบ
ในช่วงเวลาทีเหมาะสม ในคู่มือคุณภาพห้องปฏิบัติการ หน้าที 38(QP-LAB-01) และมีการระบุสภาพสิงส่ง
ตรวจทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ในใบรายงานผล (WI-LAB-11-020)
 ควรทบทวนหน่วยทีใช้ในการรายงานผลโดยใช้ศัพท์การเรียกชือหน่วยทีเป็นสากลนิยม เช่น BUN
หน่วย mg%-----ควรเป็น mg/dL (MT 5.6.1 ข)
- งานชันสูตรมีการทบทวนแก้ไขใบรายงานผลแลบใหม่ให้เป็นปัจจุบัน โดยขอจัดพิมพ์ใบรายผลแลบใหม่เพือให้ถูกต้อง
(ตามเอกสารแนบ)
 ควรทบทวนการกําหนดระยะเวลารายงานผลแต่ละรายการวิเคราะห์ในคู่มือให้บริการ หน้า
ห้องปฏิบัติการและใน (WI-LAB-11-020) การรายงานผลการวิเคราะห์ ให้สามารถปฏิบัติได้ตาม
ความจริง และบันทึกปฏิบัติการแก้ไขกรณีล่าช้ากว่าทีกําหนด (MT5.6.1 ค)
- งานชันสูตรมีการแก้ไขปรับปรุงระยะเวลาในการรายงานผลเพือให้มีความเหมาะสม (WI-LAB-11-020)
และมีบันทึกในกรณีทีรายงานผลแลบล่าช้า (F-LAB-11-105)
 ควรเพิมเติมวิธีปฏิบัติเกียวกับการเปลียนแปลงแก้ไขรายงานผลในระบบคอมพิวเตอร์ ทีสามารถ
สอบกลับได้ถึงผู้แก้ไขลงใน WI-LAB-110-012 (MT 5.6.3)
- งานชันสูตรได้เพิมวิธีปฏิบัติเกียวกับการเปลียนแปลงแก้ไขการรายงาน ผลในระบบคอมพิวเตอร์ (WI-LAB-11-012)
 Worksheet ต่างๆทีเก็บอยู่ 5 ปี ควรระบุระยะเวลาจัดเก็บและทําลายทีเหมาะสม เนืองจากพืนทีอาจ
ไม่มีทีเก็บ
- งานชันสูตรได้มีการปรับปรุงระยะเวลาในการเก็บเอกสาร Worksheet ต่างๆเพือความเหมาะสมอยู่ที 3
ปี กําหนดใน ในคู่มือคุณภาพห้องปฏิบัติการ หน้าที 38 (QP-LAB-01)
ส่งการบ้าน La.

More Related Content

Viewers also liked

นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560tungmsu
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationSirinoot Jantharangkul
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
Intestinal Parasite Infections Affect Billions of People Worldwide
Intestinal Parasite Infections Affect Billions of People WorldwideIntestinal Parasite Infections Affect Billions of People Worldwide
Intestinal Parasite Infections Affect Billions of People WorldwideMediterranea Pte Ltd
 
Fecal examination lab report
Fecal examination lab reportFecal examination lab report
Fecal examination lab reportBrian Musalo
 

Viewers also liked (20)

นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
ywc12
ywc12ywc12
ywc12
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
2016 comment guidelines
2016 comment guidelines2016 comment guidelines
2016 comment guidelines
 
Intestinal Parasite Infections Affect Billions of People Worldwide
Intestinal Parasite Infections Affect Billions of People WorldwideIntestinal Parasite Infections Affect Billions of People Worldwide
Intestinal Parasite Infections Affect Billions of People Worldwide
 
Fecal examination lab report
Fecal examination lab reportFecal examination lab report
Fecal examination lab report
 
Diagnosis
DiagnosisDiagnosis
Diagnosis
 
STOOL EXAMINATION
STOOL EXAMINATIONSTOOL EXAMINATION
STOOL EXAMINATION
 

ส่งการบ้าน La.

  • 1. 3. เครืองมือ มีเครืองป้องกันอันตรายส่วนบุคลอย่างเพียงพอพร้อมใช้งาน (MT 3.1.4) โอกาสพัฒนา  ไม่ควรนํานํายาทีหมดอายุมาใช้ในการตรวจวิเคราะห์ (พบนํายาตรวจ Leptospira lg M Exp. 2013/03) (MT3.1.1) -งานชันสูตรได้มีการจัดทําบันทึกวัสดุนํายา เพือจดบันทึก lot . วันหมดอายุ และวันเปิดใช้เพือเป็นการ ตรวจสอบนํายา อุปกรณ์ต่าง  ควรระบุช่วงค่าใช้งานของเครืองมือ เกณฑ์การยอมรับใช้งานได้(%error) ผู้รับผิดชอบในแผนสอบ เทียบและควรทําการสอบเทียบเครืองมือให้ครบถ้วน เช่น เครืองตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ CBC ,และ ควรนํา ตู้ปลอดเชือ BSC Class II, เครืองปัน Hct เข้าแผนสอบเทียบ เพือป้ องกันการนําเครืองมือที ไม่ได้คุณภาพมาใช้งาน (MT 3.1.5) -เนืองจากงานชันสูตรมีการสอบเทียบเครืองมือพร้อมกับทีมเครืองมือของโรงพยาบาลกับศูนย์วิศวกรรม ทางการแพทย์แต่เนืองจากห้องปฏิบัติการต้องการเกณฑ์การยอมรับได้ในการสอบเทียบให้เหมาะสมกับ การใช้งานในห้องปฏิบัติการ งานชันสูตรจึงกําหนดเกณฑ์การยอมรับได้ในแผนการสอบเทียบเครืองมือ  ควรทําการตรวจสอบเครืองสํารองไฟ (UPS) ให้ครบทุกเครืองกําหนดความถีให้เหมาะสม อย่าง น้อยทุก 3 เดือนและบันทึกผลการทดสอบไว้เป็นหลักฐาน (MT.1.6) -ตามทีอาจารย์ได้ให้คําแนะนํา งานชันสูตรได้ทําการได้ทําการทดสอบเครืองสํารองไฟ เป็นประจําทุกสองเดือนเพือ ทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของเครืองสํารองไฟและบันทึกผลในแบบฟอร์มสํารวจเครืองสํารองไฟ  ควรนําคู่มือการใช้งานเครืองต่างๆจดทะเบียนมีรหัสเอกสารให้เป็นเอกสารคุณภาพ(MT3.1.7) - งานชันสูตรนําคูมือการใช้งานต่างๆ มาขึนทะเบียนและใส่รหัสเอกสารคุณภาพ ตัวอย่างเช่น คู่มือการใช้งาน เครือง Daytona เป็นต้น  ควรทําการการชีบ่งรอบของการปันเลือดและปัสสาวะของเครืองปันทีใช้ร่วมกัน (MT3.2.1)
  • 2. -งานชันสูตรได้ทําการติดเครืองหมาย เพือบ่งชีรอบการปันเลือด และการปันปัสสาวะเพือความ เหมาะสมของการปันชนิดต่าง ตามเอกสารแนบ (การบ่งชีรอบการปันเลือดและปันปัสสาวะ)  ควรมีระบบป้องกันการปรับเปลียนคุณลักษณะของเครืองมือทีมีผลต่อการรายงานผล ควรมีบันทึก การปรับเปลียนค่าต่างๆของเครืองมือไว้(MT3.3.2) -งานชันสูตรมีวิธีปฏิบัติการปรับเปลียนลักษณะของเครืองมือ (WI-LAB-11-022) ซึงอาจส่งผลกระทบ ต่อการตรวจวิเคราะห์  ควรทบทวนการบันทึกประวัติครุภัณฑ์เครืองมือหลักให้ครบถ้วน ลงบันทึกการซ่อม การ บํารุงรักษา เปลียนอะไหล่ในประวัติครุภัณฑ์(MT3.4) -งานชันสูตรมีการทบทวนประวัติครุภัณฑ์ให้ครบถ้วน มีการลงบันทึกการบํารุงรักษาให้ครบถ้วน ตาม เอกสารแนบ  5.1 สถานทีและภาวะแวดล้อม  แยกพืนทีส่วนปฏิบัติงานทีไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้แยกพืนทีส่วนเอกสารและมีส่วนพักของ บุคลากร (MT 5.1.1 ข,ค) -งานชันสูตรมีการแบ่งพืนทีอย่างชัดเจนในการปฏิบัติงาน พืนทีเอกสาร และพืนทีพักเจ้าหน้าทีตาม ความขนาดพืนทีทีมีอยู่อย่างจํากัด ตามเอกสารแนบ  ควรเพิมวิธีปฏิบัติการแก้ไขเมืออุณหภูมิออกนอกเกณฑ์ทีกําหนดในแบบบันทึกอุณหภูมิ และจัดหา เทอรโมมิเตอร์ทีสอบเทียบแล้วไว้ตรวจสอบอุณหภูมิช่องแช่แข็งของตู้เย็นทีเก็บสารคุณภาพ และ สารเทียบของงานเคมีคลินิก (MT5.1.2) - งานชันสูตรได้เพิมวิธีการแก้ไขเมืออุณหภูมิ อยู่นอกเกณฑ์ทีกําหนด ในแบบบันทึกอุณหภูมิตู้เย็น และจัดหาเท อรโมมิเตอร์ ในช่องแช่แข็ง ตามเอกสารแนบ
  • 3.  ควรจัดหาสถานทีในการจัดเก็บเสมหะให้ผู้ป่วย โดยมีสิงอํานวยความสะดวก เช่นอ่างล้างมือ ถัง ขยะติดเชือ และวิธีการเก็บเสมหะทีชัดเจน และควรจัดทําป้ ายบอกวิธีเก็บปัสสาวะทีถูกต้องไว้ที ห้องนําสําหรับเก็บปัสสาวะชายและหญิง (MT5.1.3) -งานชันสูตรได้จัดทําป้ ายเพือบอกการเก็บปัสสาวะทีถูกต้องไว้ในห้องนําจุดต่างๆ เพือให้ผู้ป่วยทราบถึง วิธีการเก็บทีถูกต้อง (ป้ายบอกวิธีการเก็บปัสสาวะ)และจัดทําบันทึกข้อความเพือจัดหาสถานทีเก็บ เสมหะทีถูกต้อง(ตามเอกสารแนบ)  ควรทบทวนการล้างหลอดปันปัสสาวะและอุปกรณ์ทีนํากลับมาใช้ใหม่ ควรแช่นํายาฆ่าเชือก่อนล้าง อย่างถูกวิธี (MT5.1.5) -งานชันสูตรได้มีการทบทวนการล้างหลอดปันปัสสาวะโดยขอจัดซือนํายาฆ่าเชือเพือใช้แช่ฆ่าเชือก่อนล้าง (ตาม เอกสารแนบ)  ควรหาจุด Spill kit ไว้ใช้งานในห้องปฏิบัติการ และควรดําเนินการแก้ไขการตรวจติดตามความ ปลอดภัยประเด็นทีไม่ผ่านเกณฑ์และสรุปผลการตรวจติดตามความปลอดภัยรายงานต่อผู้บริหาร เพือการพัฒนาระบบความปลอดภัย ลดความเสียง ป้องกันการเกิดซํา (MT5.1.8,MT5.1.9) -งานชันสูตรได้ทําการจัดซือ ชุด spill kitt เพือไว้ใช้งานในห้องปฏิบัติการ (ตามเอกสารแนบ) และ งานชันสูตรได้ทํา การสํารวจความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการโดยใช้ แบบประเมินระบบความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ของสภา เทคนิคการแพทย์ และนําเสนอต่อผู้บริหารเพือดําเนินการแก้ไข 5.2 การประกันคุณภาพการวิเคราะห์ โอกาสพัฒนา  ควรทบทวนการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ (IQC) ให้ถูกต้องตามมาตรฐาน ดังนี (MT 5.2.1ก, MT5.2.1ข, MT5.2.1ค)  ควรจัดทํา IQC ให้ครอบคลุมทุกรายการตรวจ เช่น สีย้อมต่างๆ Wright, Trop-I, OF, DCIP, Occulte Blood เป็นต้น  Strip test ควรทํา IQC ทังค่า normal และ abnormal เดือนละครัง และเมือเปิดกล่อง ใหม่ เช่น pregnancy test, Amphetamine, Anti HCV, HBs Ag, Anti HBs, Anti HIV- Determine, AFP, PSA เป็นต้น
  • 4. - งานชันสูตรได้ทําการ การประกันคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ เพือให้ครอบคลุมทุก รายการตรวจวิเคราะห์ (ตามเอกสารแนบ)  ควรติดตาม IQC ของ Electrolyte ในรูปแบบกราฟ  ควรใช้ Lab mean, Standard Deviation (SD) ของห้องปฏิบัติการ และหา %CV จาก การทํา IQC และมาติดตามผลทุกเดือนเพือใช้ประเมินประสิทธิภาพของเครืองตรวจ วิเคราะห์  ควรใช้ Lab mean, Standard Deviation (SD) ของห้องปฏิบัติการ และหา %CV จาก การทํา IQC และมาติดตามผลทุกเดือนเพือใช้ประเมินประสิทธิภาพของเครืองตรวจ วิเคราะห์ - งานชันสูตรได้มีการ จัดทํา IQCในรูปแบบกราฟ โดยใช้Lab mean, Standard Deviation (SD) ของห้องปฏิบัติการ และหา %CV จากการทํา IQC และมาติดตามผล ทุกเดือนเพือใช้ประเมินประสิทธิภาพของเครืองตรวจวิเคราะห์ (ตามเอกสารแนบ)  ควรทบทวนวิธีปฏิบัติการควบคุมคุณภาพภายใน การกําหนดเกณฑ์ควบคุมคุณภาพ โดยใช้Multi rule/West guard rule - งานชันสูตรได้ทําการทบทวน วิธีปฏิบัติในการควบคุมคุณภาพภายในและได้ดําเนินการ แก้ไข แนวทางการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ (WI-LAB-11-001)โดยใช้หลัก Shewhart ‘ s law เป็นแนวทางในการควบคุมคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ  ควรบันทึกข้อมูลวัสดุ หรือปัจจัยทีเกียวข้องกับการควบคุมคุณภาพให้ครบถ้วน ควร บันทึก lot. ทีใช้วันทีหมดอายุ และวันทีเปิดใช้ของสารควบคุมคุณภาพในแฟ้ มเอกสาร ให้ครบถ้วน โดยเฉพาะสารควบคุมคุณภาพทางภูมิคุ้มกันวิทยาทีนํา serum จากผู้ป่วย หรือ EQA มาใช้กับ strip test ต่างๆ - งานชันสูตรได้ทําการจัดทําแบบบันทึกนํายาวัสดุอุปกรณ์ เพือเป็นการบันทึกข้อมูล lot . นํายา วันทีเปิดใช้ และวันหมดอายุ
  • 5.  ควรสรุปผล EQA ทุกครังทีได้รับ และทําการแก้ไข EQA เป็นราย test ทีไม่ผ่านเกฌฑ์ให้ ครบถ้วนในทุกสาขางาน เช่น ในงานเคมีคลินิก EQA center เดือน กพ. 56 และกรมวิทย์ครังที 1/2556 test Creatinine และ protein ออกนอกเกณฑ์, งานจุลทรรศน์ศาสตร์คลินิคทีไม่พบไข่ พยาธิ และควรเปลียนเป้ าหมายให้เกิดการพัฒนาขึนอย่างต่อเนือง (MT5.2.2) - งานชันสูตรได้ทําการแก้ไข EQA ทุกครังทีได้รับและทําการแก้ไข ในบันทึกการแก้ไขการควบคุม คุณภาพโดยองค์กรภายนอก เป็นราย test ยกตัวอย่างเช่น ในงานเคมีคลินิก Test Ceatinine ครังที 1/2556 ได้ค่า VIS=170.98 จึงได้ทําการปรึกษากับผู้เชียวชาญผลิตภัณฑ์และจนพบสาเหตุว่าอาจเกิดจาก การทีใช้ Calibration ทีละลายนานเกินไป (ตามเอกสารแนบ)จึงได้ทําการแก้ไข และในการทดสอบครังที 2/2556 Test Ceatinine ได้เกิดการพัฒนาทําให้ได้ค่า VIS = 16.01 ส่วนในงานจุลทรรศน์ศาสตร์ คลินิค ได้ทําการบันทึกการแก้ไขแล้ว แต่เนืองจากยังไม่ได้ผล การประเมินคุณภาพการวิเคราะห์ครังต่อมา  ในรายการวิเคราะห์ทีไม่มี EQA ควรดําเนินการทํา Inter lab compare ให้ครบทุกรายการตรวจที เปิดให้บริการ เช่น Anti HCV, DCIP, MB, RF, Amphetamine, AFP, PSA และ Pregnancy test เป็นต้น (MT5.2.3) - ในรายการทีไม่มี EQA .ได้ร่วมกับเครือข่ายห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์จังหวัดชยภูมิในการ ทํา Inter lab ให้ครบตามรายการทีเปิดให้บริการ(ตามเอกสารแนบ)  วัสดุอ้างอิงควรมีใบรับรองหรือข้อมูลอ้างอิงจากผู้ผลิต ควรมีข้อมูลของสารสอบเทียบของ เครืองตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติ CBC (MT5.2.4) - งานชันสูตรแจ้งให้บริษัทให้ทําการสอบเทียบเครืองตรวจนับเม็ดเลือดอัตโนมัติ (CBC) (ตาม เอกสารแนบ)  ควรทําการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์เดียวกันแต่ใช้หลายเครือง เช่น Hct โดยใช้จํานวน ตัวอย่างทีเหมาะสม (40 ตัวอย่าง) ตัวอย่างทีใช้ควรมีค่าสูง ค่าปกติและค่าตํา และทําการ วิเคราะห์ค่าทางสถิติ (MT5.2.5) ยังหาค่า R ไม่ได้  5.3 ขันตอนก่อนการวิเคราะห์
  • 6.  มีบันทึกการรับตัวอย่างในสมุดหรือระบบคอมพิวเตอร์ (MT5.3.2 ง) กําหนดเกณฑ์การ ปฏิเสธตัวอย่างทีไม่เหมาะสม (MT 5.3.3 ก) กรณีทียังไม่ทําการวิเคราะห์ทันที มีการเก็บรักษา ตัวอย่างทีเหมาะสม (MT5.3.1 จ) - งานชันสูตรมีวิธีปฏิบัติในการรับตัวอย่าง (WI-LAB-01-008) และมีวิธีปฏิบัติในการปฏิเสธสิงส่ง ตรวจ (WI-LAB-11-008) และเกณฑ์การปฏิเสธตัวอย่างทีไม่เหมาะสม ในแบบ แบบบันทึกการ ปฏิเสธตัวอย่างตรวจ และมีวิธีปฏิบัติการเก็บรักษาสิงส่งตรวจทียังไม่ได้ทําการตรวจวิเคราะห์อย่าง เหมาะสม (WI-LAB-11-013)  ควรกําหนดวิธีการเพิมแลบลงในคู่มือการใช้บริการห้องปฏิบัติการให้บริการทราบว่ารายกา วิเคราะห์ใดทีสามารถเพิมได้ในเวลาทีกําหนด (MT5.3.1 ง) -- งานชันสูตรได้มีการกําหนดวิธีการและรายการเพิม Lab ในคู่มือการใช้ห้องปฏิบัติการ(ตามเอกสาร แนบ) เพือให้ผู้รับบริการได้เข้าใจและสามารถรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ควรทบทวน WI การตรวจวิเคราะห์ให้มีรายละเอียดให้ครบ เช่น WI-LAB-03-001 การตรวจ ปัสสาวะด้วยเครือง Dirui H 500 ขาดการรายงานผลด้วยกล้องจุลทรรศน์ การ grading cell, cast, epithelium, WI-LAB-03-007 การตรวจมาเลเรีย Thick&Thin ขาดวิธีการรายงานผลเช่นเดียว ส่วน WI Bleeding Time WI-LAB-02-08 ใช้เจาะติงหูไม่ใช่วิธีมาตรฐาน ต้องใช้วิธีเจาะหน้าแขน (Ivy method) และควรมีแนวทางการตรวจ Anti HIV ตาม guild line ของกระทรวงสาธารณสุข ใน WI การตรวจวิเคราะห์ HIV (MT5.4.1 ก) - งานชันสูตรได้มีการทบทวน วิธีปฏิบัติให้มีรายละเอียดครบถ้วนและสมบูรณ์เช่น การตรวจวิเคราะห์ ปัสสาวะ ด้วยเครือง DIRUI H-500(WI-LAB-03-001) การตรวจ มาลาเรีย (WI-LAB-03-007) และ WI Bleeding Time ใช้วิธี Duke method ซึงไม่ใช้วิธีมาตรฐานแต่ทางห้องปฏิบัติการมีการสอบถามไปยัง ผู้รับบริการว่า มีความเหมาะสมกับบริบทของห้องปฏิบัติการ และสะดวก และมีผลกระทบต่อการ วินิจฉัยของแพทย์และผู้ป่วยก็เจ็บน้อยกว่าและใน การตรวจวิเคราะห์ Anti HIV (WI-LAB-06-002) ได้ มีการเพิม Gride line ของกระทรวงเข้าไปในวิธีปฏิบัติ  ควรทบทวนหลักการวิเคราะห์ให้ถูกต้องและครบถ้วนในทุกรายการวิเคราะห์ทีเปิดให้บริการอย่าง น้อยปีละครัง (MT5.4.1 ข)
  • 7.  ควรแจ้งวิธีวิเคราะห์ให้ผู้ใช้บริการทราบ ถ้าเปลียนแปลงวิธีการต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์และมีบันทึก การแจ้ง (MT5.4.1 ง,จ) -เรามีการทบทวนรายการตรวจวิเคราะห์ต่างๆ และหลักการวิเคราะห์ เพือให้เหมาะสมกับผู้ใช้บริการ อย่างน้อยปีล่ะครัง(ตามเอกสารแนบ) และได้มีการไปยังผู้ใช้บริการเพือให้ทราบการเปลียนแปลงการ วิเคราะห์(ตามเอกสารแนบ)  ควรจัดทําวิธีปฏิบัติงานฉบับย่อไว้ณ จุดปฏิบัติงานการตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยาและเอกสาฉบับย่อ ควรสือไปถึงฉบับเต็มทีมีรหัสเอกสาร (MT5.4.3) -งานชันสูตรได้จัดทําเอกสารฉบับย่องานภูมิคุ้มกัน ณ จุดปฏิบัติงาน(ตามเอกสารแนบ) 5.5 ขันตอนหลังการวิเคราะห์ ตัวอย่างหลังวิเคราะห์ มีการระบุระยะเวลาในการจัดเก็บ (MT5.5.2) มีการทําลายตัวอย่าง ทีเหลือ จากการวิเคราะห์อย่างถูกวิธี (MT5.5.3) -งานชันสูตรมีวิธีปฏิบัติในการจัดเก็บ และการทําลายตัวอย่าง ทีเหลือจากการวิเคราะห์อย่างถูกวิธี (WI- LAB-11-014 ) -โอกาสพัฒนา  ควรจัดทําวิธีปฏิบัติ แนวทางการตรวจสอบผล เพือให้เจ้าหน้าทีทุกคนปฏิบัติให้ตรงกัน และควรสุ่ม ตรวจผลที key in เพือลดการรายงานผลผิด (MT5.5.1) - งานชันสูตรมีระเบียบปฏิบัติในการตรวจสอบ ผลการ Key in เพือตรวจสอบการรายผล(WI-LAB-11- 022 ) ข้อเสนอแนะ  ควรจัดระบบสารสนเทศในห้องปฏิบัติการ (LIS) มาใช้เพือพัฒนาระบบงานของห้องปฏิบัติการและ ลดการรายงานผลผิด
  • 8. 5.6 การรายงานผล  มีระเบียบปฏิบัติเกียวกับขันตอนรายงานผล (MT5.6.1 ก) มีการกําหนดค่าวิกฤติกับองค์กรแพทย์ (MT5.6.1 ง,จ ) เก็บสําเนารายงานผล ในช่วงเวลาทีเหมาะสม เรียกมาใช้งานได้อีก (MT5.6.2 ค) มี การระบุสภาพตัวอย่างทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ในใบรายงานผล (MT 5.6.2 ง) - งานชันสูตรมีมีวิธีปฏิบัติเกียวกับการรายงานค่าวิกฤติ (WI-LAB-11-006) และมีการเก็บสําเนาผลแลบ ในช่วงเวลาทีเหมาะสม ในคู่มือคุณภาพห้องปฏิบัติการ หน้าที 38(QP-LAB-01) และมีการระบุสภาพสิงส่ง ตรวจทีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ในใบรายงานผล (WI-LAB-11-020)  ควรทบทวนหน่วยทีใช้ในการรายงานผลโดยใช้ศัพท์การเรียกชือหน่วยทีเป็นสากลนิยม เช่น BUN หน่วย mg%-----ควรเป็น mg/dL (MT 5.6.1 ข) - งานชันสูตรมีการทบทวนแก้ไขใบรายงานผลแลบใหม่ให้เป็นปัจจุบัน โดยขอจัดพิมพ์ใบรายผลแลบใหม่เพือให้ถูกต้อง (ตามเอกสารแนบ)  ควรทบทวนการกําหนดระยะเวลารายงานผลแต่ละรายการวิเคราะห์ในคู่มือให้บริการ หน้า ห้องปฏิบัติการและใน (WI-LAB-11-020) การรายงานผลการวิเคราะห์ ให้สามารถปฏิบัติได้ตาม ความจริง และบันทึกปฏิบัติการแก้ไขกรณีล่าช้ากว่าทีกําหนด (MT5.6.1 ค) - งานชันสูตรมีการแก้ไขปรับปรุงระยะเวลาในการรายงานผลเพือให้มีความเหมาะสม (WI-LAB-11-020) และมีบันทึกในกรณีทีรายงานผลแลบล่าช้า (F-LAB-11-105)  ควรเพิมเติมวิธีปฏิบัติเกียวกับการเปลียนแปลงแก้ไขรายงานผลในระบบคอมพิวเตอร์ ทีสามารถ สอบกลับได้ถึงผู้แก้ไขลงใน WI-LAB-110-012 (MT 5.6.3) - งานชันสูตรได้เพิมวิธีปฏิบัติเกียวกับการเปลียนแปลงแก้ไขการรายงาน ผลในระบบคอมพิวเตอร์ (WI-LAB-11-012)  Worksheet ต่างๆทีเก็บอยู่ 5 ปี ควรระบุระยะเวลาจัดเก็บและทําลายทีเหมาะสม เนืองจากพืนทีอาจ ไม่มีทีเก็บ - งานชันสูตรได้มีการปรับปรุงระยะเวลาในการเก็บเอกสาร Worksheet ต่างๆเพือความเหมาะสมอยู่ที 3 ปี กําหนดใน ในคู่มือคุณภาพห้องปฏิบัติการ หน้าที 38 (QP-LAB-01)