SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ลม ฟ้า อากาศ 
วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 
สอนโดย : อ.รัตนาภรณ์ วามะสุรีย์ 
จัด ทาโดย : น.ส. พัชรีภูผิวผา
เมนูหลัก 
วัตถุประสงค์ 
คาถามก่อนเรียน 
เข้าสู่บทเรียน 
เกมทบทวน 
??? 
...
วัตถุประสงค์ 
1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของปรากฏการณ์การเกิดเมฆ หมอก ฝน 
ลูกเห็บ นา้ค้างและหิมะได้ 
2. นักเรียนสามารถบอกความเหมือนและความแตกต่างของเมฆชนิดต่าง ๆ ได้ 
3. นักเรียนสามารถบอกความแตกต่างของลูกเห็บ นา้ค้างและหิมะได้
คาถามก่อนเรียน นักเรียนรู้หรือไม่ว่าปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ? 
เมฆ 
หมอก 
ฝน 
ลูกเห็บ 
นา้ค้าง 
หิมะ
เข้าสู่บทเรียน 
เมฆ ฝน 
หิมะ 
ลม ฟ้า อากาศ 
ลูกเห็บ 
หมอก 
น้าค้าง
การเกิดเมฆ 
 เมฆ 
แผนภาพการเกิดเมฆ 
เกิดขึ้นเมื่อในแหล่ง น้าต่างๆ 
ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ 
แล้วระเหยกลายเป็นไอลอยตัว 
ขึ้นไปในอากาศ เมื่อผลกระทบ 
กับความเย็นก็จะกลั่นตัวเป็น 
ละออง น้าเล็กๆ และจับตัวกับ 
ฝุ่น เป็นก้อนเมฆ 
M
ภาพถ่ายท้องฟ้าและเมฆ วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน 2553 
ลักษณะของเมฆในท้องฟ้า 
 เมฆ 
เวลา 7.25 น. 
เวลา 12.10 น. 
เวลา 14.30 น. 
เปรียบเทียบ 
สามเวลา 
M
Cloud Time Lapse 
 เมฆ 
M
ระดับของเมฆ 
 เมฆ 
 เมฆยิ่งสูง ก้อนยิ่งเล็ก แผ่นยิ่งบาง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
คลิกที่ภาพเพื่อดูชนิดของเมฆ 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Cirrus : Ci ริ้วสีขาวเป็นเส้นบาง โปร่งแสง มีลักษณะ คล้าย 
ขนนก เนื่องจากถูกกระแสลมชั้นบนพัด 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Cirrostratus : Cs แผ่นบางสีขาวโปร่งแสง ปกคลุมท้องฟ้า 
กินอาณาบริเวณกว้าง ทาให้เกิดดวงอาทิตย์ทรงกลด 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Cirrocumulus : Cc เป็นเกร็ดบาง หรือระลอกคลื่นเล็กๆ 
โปร่งแสง เรียงรายกันอย่างมีระเบียบ 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Altocumulus : Ac เป็นแผ่น มองเห็นคล้ายกับก้อน สาลี 
แบนๆ ก้อนเล็กๆ มาเรียงต่อ ๆ กัน เป็นคลื่นหรือเป็นรอน 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Altostratus : As เมฆแผ่นหนา สีเทา ปกคลุมท้องฟ้าเป็น 
บริเวณกว้าง บางครั้งหนามากจนบดบังดวงอาทิตย์ได้ 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Nimbostratus : Ns อาจ ทาให้เกิดฝน หรือหิมะตกหนัก 
ติดต่อกันนานเป็นชั่วโมงๆ จึงมักเรียกกันว่า "เมฆฝน" 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Stratus : St ก่อตัวเป็นชั้นบาง ๆ มักเห็นเป็นเมฆสีเทาไม่มี 
รูปร่าง และมักแผ่เป็นแผ่นกว้างใหญ่ออกไปทุกทิศทุกทาง 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Stratocumulus : Sc รูปทรงไม่ชัดเจน มักมีสีเทา มีช่อง 
ว่างระหว่างก้อนไม่มาก มักพบเห็นเมื่อสภาพอากาศไม่ดี 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Cumulonimbus : Cb เมฆชนิดนี้มีรูปร่างเป็นหอคอยสูง 
เสียดฟ้า ทาให้เกิดฝนฟ้าคะนอง หรือพายุได้ 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
ชนิดของเมฆ 
 เมฆ 
Cumulus : Cu มีลักษณะเป็นก้อนคล้ายปุยฝ้ายสีขาว มัก 
พบเห็น ในวันที่อากาศดี ท้องฟ้าแจ่มใส 
เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) 
เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) 
เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) 
เมฆก่อตัว 
ในแนวตั้ง 
M
 หมอก 
การเกิดหมอก 
ค ล้า ย กับ ก า ร เ กิด เ ม ฆ 
เ พีย ง แ ต่เ ม ฆ เ กิด จ า ก ก า ร 
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเนื่องจาก 
การยกตัวของกลุ่มอากาศ แต่ 
หมอกเกิดขึ้นจากความเย็นของ 
พื้นผิว หรือการเพิ่มปริมาณไอ น้า 
ในอากาศ 
M
 ฝน 
แผนภาพการเกิดฝน 
การเกิดฝน 
เกิดจากไอ น้า ลอยขึ้นไปใน 
อากาศ เมื่อไอ น้ามากขึ้นจะ 
รวมตัวกันเป็นละออง น้าเล็ก ๆ 
หากปริมาณของละออง น้ามาก 
จนอากาศไม่สามารถพยุงละออง 
น้าเหล่านี้ต่อไปได้ น้าก็จะตกลง 
มายังผืนโลก เกิดเป็นฝน 
M
 ลูกเห็บ 
การเกิดลูกเห็บ 
เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ฝนที่ 
เกิดในเมฆคิวมูโลนิมบัสที่เย็นจัด 
จะเป็นเม็ด น้าแข็ง เมื่อถูกลมพายุ 
พัดขึ้นลงในเมฆ ทาให้เกิดการ 
พอกตัวของ น้าแข็งเป็นชั้น ๆ จน 
มีขนาดใหญ่ขึ้น ตกลงมาถึงพื้น 
M
 น้าค้าง 
การเกิด น้าค้าง 
เกิดจากไอ น้าหรือความชื้น 
ในอากาศที่จับตัวกันกลายเป็น 
หยด นา้แล้วตกลงมาสู่พื้น น้าค้าง 
จะเกิดในเวลากลางคืน เพราะ 
เป็นช่วงที่มีอุณหภูมิของอากาศ 
ในขณะนั้น ตา่ 
M
 หิมะ 
การเกิดหิมะ 
เกิดขึ้นในบริเวณที่มีอุณหภูมิ 
ของอากาศลด ต่ากว่า 0 °C ไอ น้า 
ในอากาศจะกลายเป็นผลึก น้าแข็ง 
และตกลงสู่พื้นโลกในลักษณะที่ยัง 
เป็นผลึก น้าแข็ง หากอุณหภูมิพื้น 
โลกบริเวณนั้น ตา่กว่าจุดเยือกแข็ง 
M
ภาพเปรียบเทียบลูกเห็บ น้าค้าง หิมะ 
ลูกเห็บ น้าค้าง หิมะ 
M
HOW TO PLAY 
1. แบ่งนักเรียนออกเป็นสองทีม 
2. แข่งกันตอบ คาถาม ตามที่อาจารย์ได้ 
เตรียมไว้ให้ 
3. ทีมที่ตอบถูกจะมีสิทธิ์โจมตีฝ่ายตรงข้าม และจะได้ 
คะแนนสะสม 
4. ทีมไหนได้คะแนนมากกว่าเป็นฝ่ายชนะ  
START ! 
เกมทบทวน
HP HP 
VS 
โจมตี โจมตี 
X X
You are the 
Winner ! 
Home
You are the 
Winner ! 
Home

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 

What's hot (20)

ดิน
ดินดิน
ดิน
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 

Viewers also liked

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pagePrachoom Rangkasikorn
 

Viewers also liked (8)

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
 
SMMS Rainfall
SMMS  RainfallSMMS  Rainfall
SMMS Rainfall
 

Similar to ลม ฟ้า อากาศ

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 

Similar to ลม ฟ้า อากาศ (7)

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
_cloud__rain.pptx
_cloud__rain.pptx_cloud__rain.pptx
_cloud__rain.pptx
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 

ลม ฟ้า อากาศ

  • 1. ลม ฟ้า อากาศ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สอนโดย : อ.รัตนาภรณ์ วามะสุรีย์ จัด ทาโดย : น.ส. พัชรีภูผิวผา
  • 2. เมนูหลัก วัตถุประสงค์ คาถามก่อนเรียน เข้าสู่บทเรียน เกมทบทวน ??? ...
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของปรากฏการณ์การเกิดเมฆ หมอก ฝน ลูกเห็บ นา้ค้างและหิมะได้ 2. นักเรียนสามารถบอกความเหมือนและความแตกต่างของเมฆชนิดต่าง ๆ ได้ 3. นักเรียนสามารถบอกความแตกต่างของลูกเห็บ นา้ค้างและหิมะได้
  • 5. เข้าสู่บทเรียน เมฆ ฝน หิมะ ลม ฟ้า อากาศ ลูกเห็บ หมอก น้าค้าง
  • 6. การเกิดเมฆ  เมฆ แผนภาพการเกิดเมฆ เกิดขึ้นเมื่อในแหล่ง น้าต่างๆ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ แล้วระเหยกลายเป็นไอลอยตัว ขึ้นไปในอากาศ เมื่อผลกระทบ กับความเย็นก็จะกลั่นตัวเป็น ละออง น้าเล็กๆ และจับตัวกับ ฝุ่น เป็นก้อนเมฆ M
  • 7. ภาพถ่ายท้องฟ้าและเมฆ วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน 2553 ลักษณะของเมฆในท้องฟ้า  เมฆ เวลา 7.25 น. เวลา 12.10 น. เวลา 14.30 น. เปรียบเทียบ สามเวลา M
  • 8. Cloud Time Lapse  เมฆ M
  • 9. ระดับของเมฆ  เมฆ  เมฆยิ่งสูง ก้อนยิ่งเล็ก แผ่นยิ่งบาง M
  • 10. ชนิดของเมฆ  เมฆ เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง คลิกที่ภาพเพื่อดูชนิดของเมฆ M
  • 11. ชนิดของเมฆ  เมฆ Cirrus : Ci ริ้วสีขาวเป็นเส้นบาง โปร่งแสง มีลักษณะ คล้าย ขนนก เนื่องจากถูกกระแสลมชั้นบนพัด เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 12. ชนิดของเมฆ  เมฆ Cirrostratus : Cs แผ่นบางสีขาวโปร่งแสง ปกคลุมท้องฟ้า กินอาณาบริเวณกว้าง ทาให้เกิดดวงอาทิตย์ทรงกลด เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 13. ชนิดของเมฆ  เมฆ Cirrocumulus : Cc เป็นเกร็ดบาง หรือระลอกคลื่นเล็กๆ โปร่งแสง เรียงรายกันอย่างมีระเบียบ เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 14. ชนิดของเมฆ  เมฆ Altocumulus : Ac เป็นแผ่น มองเห็นคล้ายกับก้อน สาลี แบนๆ ก้อนเล็กๆ มาเรียงต่อ ๆ กัน เป็นคลื่นหรือเป็นรอน เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 15. ชนิดของเมฆ  เมฆ Altostratus : As เมฆแผ่นหนา สีเทา ปกคลุมท้องฟ้าเป็น บริเวณกว้าง บางครั้งหนามากจนบดบังดวงอาทิตย์ได้ เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 16. ชนิดของเมฆ  เมฆ Nimbostratus : Ns อาจ ทาให้เกิดฝน หรือหิมะตกหนัก ติดต่อกันนานเป็นชั่วโมงๆ จึงมักเรียกกันว่า "เมฆฝน" เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 17. ชนิดของเมฆ  เมฆ Stratus : St ก่อตัวเป็นชั้นบาง ๆ มักเห็นเป็นเมฆสีเทาไม่มี รูปร่าง และมักแผ่เป็นแผ่นกว้างใหญ่ออกไปทุกทิศทุกทาง เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 18. ชนิดของเมฆ  เมฆ Stratocumulus : Sc รูปทรงไม่ชัดเจน มักมีสีเทา มีช่อง ว่างระหว่างก้อนไม่มาก มักพบเห็นเมื่อสภาพอากาศไม่ดี เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 19. ชนิดของเมฆ  เมฆ Cumulonimbus : Cb เมฆชนิดนี้มีรูปร่างเป็นหอคอยสูง เสียดฟ้า ทาให้เกิดฝนฟ้าคะนอง หรือพายุได้ เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 20. ชนิดของเมฆ  เมฆ Cumulus : Cu มีลักษณะเป็นก้อนคล้ายปุยฝ้ายสีขาว มัก พบเห็น ในวันที่อากาศดี ท้องฟ้าแจ่มใส เมฆชั้นสูง (6 - 18 km) เมฆชั้นกลาง (2 - 6 km) เมฆชั้น่ตา (พื้น - 2 km) เมฆก่อตัว ในแนวตั้ง M
  • 21.  หมอก การเกิดหมอก ค ล้า ย กับ ก า ร เ กิด เ ม ฆ เ พีย ง แ ต่เ ม ฆ เ กิด จ า ก ก า ร เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเนื่องจาก การยกตัวของกลุ่มอากาศ แต่ หมอกเกิดขึ้นจากความเย็นของ พื้นผิว หรือการเพิ่มปริมาณไอ น้า ในอากาศ M
  • 22.  ฝน แผนภาพการเกิดฝน การเกิดฝน เกิดจากไอ น้า ลอยขึ้นไปใน อากาศ เมื่อไอ น้ามากขึ้นจะ รวมตัวกันเป็นละออง น้าเล็ก ๆ หากปริมาณของละออง น้ามาก จนอากาศไม่สามารถพยุงละออง น้าเหล่านี้ต่อไปได้ น้าก็จะตกลง มายังผืนโลก เกิดเป็นฝน M
  • 23.  ลูกเห็บ การเกิดลูกเห็บ เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ฝนที่ เกิดในเมฆคิวมูโลนิมบัสที่เย็นจัด จะเป็นเม็ด น้าแข็ง เมื่อถูกลมพายุ พัดขึ้นลงในเมฆ ทาให้เกิดการ พอกตัวของ น้าแข็งเป็นชั้น ๆ จน มีขนาดใหญ่ขึ้น ตกลงมาถึงพื้น M
  • 24.  น้าค้าง การเกิด น้าค้าง เกิดจากไอ น้าหรือความชื้น ในอากาศที่จับตัวกันกลายเป็น หยด นา้แล้วตกลงมาสู่พื้น น้าค้าง จะเกิดในเวลากลางคืน เพราะ เป็นช่วงที่มีอุณหภูมิของอากาศ ในขณะนั้น ตา่ M
  • 25.  หิมะ การเกิดหิมะ เกิดขึ้นในบริเวณที่มีอุณหภูมิ ของอากาศลด ต่ากว่า 0 °C ไอ น้า ในอากาศจะกลายเป็นผลึก น้าแข็ง และตกลงสู่พื้นโลกในลักษณะที่ยัง เป็นผลึก น้าแข็ง หากอุณหภูมิพื้น โลกบริเวณนั้น ตา่กว่าจุดเยือกแข็ง M
  • 27. HOW TO PLAY 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นสองทีม 2. แข่งกันตอบ คาถาม ตามที่อาจารย์ได้ เตรียมไว้ให้ 3. ทีมที่ตอบถูกจะมีสิทธิ์โจมตีฝ่ายตรงข้าม และจะได้ คะแนนสะสม 4. ทีมไหนได้คะแนนมากกว่าเป็นฝ่ายชนะ  START ! เกมทบทวน
  • 28. HP HP VS โจมตี โจมตี X X
  • 29. You are the Winner ! Home
  • 30. You are the Winner ! Home