SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
EDITING VIDEO
BASIC
Pisit Noiwangklang
การลําดับภาพ
Video Editing
การตัดต่อคืออะไร
– การตัดต่อ คือ การเชื่อมระหว่างช็อต 2 ช็อต
– การตัดต่อหรือว่าการลําดับภาพเป็นขั้นตอนที่ 3 ในกระบวนการโปร
ดักชั่นคือโพสต์โปรดักชั่น ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายสําหรับการปรุงแต่งงาน
ให้ชวนลิ้มรสต่อคนดู
– อย่าเข้าใจผิดว่าห้องตัดต่อเป็นที่สร้างเรื่อง เพราะ สตอรี่ คือการคิดมา
ก่อนการเข้าห้องตัด
– การเป็นนักตัดต่อนั้นจะต้องมีความรู้ความเข้าใจใน 2 ส่วน คือในส่วน
ของเครื่องตัด และในส่วนของความเข้าใจในการตัด
หลักการตัดต่อ
Principles of Editing
ประเภทของการตัดต่อ
ตัดต่อการกระทํา action edit
ตัดต่อตําแหน่งจอ screen position edit
ตัดต่อรูปแบบ form edit
ตัดต่อที่มีเรื่องราว concept edit
ตัดต่อแบบผนวก combined edit
Type of Editing
หลักการตัดต่อ 1.แรงจูงใจ Motivation ควรต้องมีเหตุผลในการผสม
ภาพเสมอ
2.ข้อมูล Information ภาพใหม่ควรมีข้อมูลใหม่เสมอ
3.องค์ประกอบภาพ Composition ช็อต 2 ช็อตที่ผสม
เข้าด้วยกัน ควรมีองค์ประกอบภาพที่เกยทับกันได้ง่าย
และหลีกเลี่ยงภาพที่จะขัดกัน
4.เสียง Sound เสียงของทั้ง 2 ช็อต ควรจะผสานเข้า
ด้วยกัน
5.มุมกล้อง Camera angle ช็อตที่ผสมกันควรมีมุม
กล้องที่ต่างกัน
6.เวลา Time การผสมภาพ ใช้เวลาอย่างน้อย 1
วินาทีและมากสุด 3 วินาที
Principles of Editing
หลักการตัดต่อ
1. แรงจูงใจ Motivation ในการตัดต่อ ไม่ว่า
จะการ cut, mix หรือ fade ควรมีเหตุผลที่ดี
หรือมีแรงจูงใจเสมอ ซึ่งแรงจูงใจนี้อาจเป็น
ภาพ เสียง หรือทั้งสองอย่างผสมกันก็ได้ ใน
ส่วนของภาพอาจเป็นการกระทําอย่างใด
อย่างหนึ่ง แม้นักแสดงจะแสดงเพียง
เล็กน้อย เช่น การขยับร่างกายหรือขยับส่วน
ของหน้าตา สําหรับเสียงอาจเป็นเสียงใด
เสียงหนึ่ง เช่น เสียงเคาะประตู หรือเสียง
โทรศัพท์ดัง หรืออาจเป็นเสียงที่ไม่ปรากฏ
ภาพในฉาก (off scene)
2. ข้อมูล Information ข้อมูลในที่นี้คือข้อมูล
ที่เป็นภาพ ช็อตใหม่ หมายถึงข้อมูลใหม่ คือ
ถ้าไม่มีข้อมูลอะไรใหม่ในช็อตนั้น ๆ ก็ไม่
จําเป็นต้องนํามาตัดต่อ ไม่ว่าภาพจะมีความ
งดงามเพียงไร ก็ควรที่จะเป็นข้อมูลภาพที่
แตกต่างจากช็อตที่แล้ว ยิ่งมีข้อมูลภาพที่คน
ดูเห็นและเข้าใจมากขึ้น ผู้ชมก็ยิ่งได้รับ
ข้อมูลและมีอารมณ์ร่วมมากขึ้น
เป็นหน้าที่ของคนตัดที่จะนําข้อมูลภาพมา
ร้อยให้มากที่สุดโดยไม่เป็นการยัดเยียดให้
คนดู
หลักการตัดต่อ
3.องค์ประกอบภาพในช็อต Shot
Composition ผู้ตัดไม่สามารถกําหนด
องค์ประกอบภาพในช็อตได้ แต่งานของผู้
ตัดคือควรให้มีองค์ประกอบภาพในช็อต
ที่สมเหตุสมผลและเป็นที่ยอมรับปรากฏ
อยู่ องค์ประกอบภาพในช็อตที่ไม่ดีมา
จากการถ่ายทําที่แย่ ซึ่งทําให้การตัดต่อ
ทําได้ลําบากมากขึ้น
4.เสียง Sound เสียงคือส่วนสําคัญใน
การตัดต่ออีกประการหนึ่ง เสียงรวดเร็ว
และลึกลํ้ากว่าภาพ เสียงสามารถใส่มา
ก่อนภาพหรือมาทีหลังภาพเพื่อสร้าง
บรรยากาศ สร้างความกดดันอันรุนแรง
และอีกหลากหลายอารมณ์ เสียงเป็นการ
เตรียมให้ผู้ชมเตรียมพร้อมสําหรับการ
เปลี่ยนฉาก สถานที่ หรือแม้แต่
ประวัติศาสตร์
หลักการตัดต่อ
5.มุมกล้อง Camera Angle เมื่อผู้กํากับ
ฯ ถ่ายทําฉาก จะทําโดยเริ่มจากตําแหน่ง
ต่าง ๆ (มุมกล้อง) และจากตําแหน่งต่าง
ๆ เหล่านี้ผู้กํากับฯ จะให้ถ่ายช็อตหลาย
ๆ ช็อต คําว่า “มุม” ถูกใช้เพื่ออธิบาย
ตําแหน่งของกล้องเหล่านี้ซึ่งสัมพันธ์กับ
วัตถุหรือบุคคล
6.ความต่อเนื่อง Continuity ทุกครั้งที่
ถ่ายทําในมุมกล้องใหม่ (ในซีเควนส์
เดียวกัน) นักแสดงหรือคนนําเสนอ
จะต้องแสดงการเคลื่อนไหวหรือทําท่า
เหมือนเดิมทุกประการกับช็อตที่แล้ว
วิธีการนี้ยังปรับใช้กับ take ที่แปลก
ออกไปด้วย
หลักการตัดต่อ
– ความต่อเนื่องของเนื้อหา Continuity of
content ควรมีความต่อเนื่องของเนื้อหา เช่น
นักแสดงยกหูโทรศัพท์ด้วยมือขวาในช็อตแรก
ดังนั้นก็คาดเดาได้ว่าหูโทรศัพท์ยังคงอยู่ในมือ
ขวาในช็อตต่อมา งานของคนตัดคือ ทําให้แน่ใจ
ว่าความต่อเนื่องยังคงมีอยู่ทุกครั้งที่ทําการตัด
ต่อในซีเควนส์ของช็อต
– ความต่อเนื่องของการเคลื่อนไหว Continuity of
movementความต่อเนื่องยังเกี่ยวข้องกับทิศ
ทางการเคลื่อนไหว หากนักแสดงหรือบุคคล
เคลื่อนที่จากขวาไปซ้ายในช็อตแรก ช็อตต่อมา
ก็คาดเดาว่านักแสดงหรือบุคคลจะเคลื่อนไหว
ไปในทิศทางเดียวกัน เว้นแต่ในช็อตจะให้เห็น
การเปลี่ยนทิศทางจริง ๆ
– ความต่อเนื่องของตําแหน่ง Continuity of
position ความต่อเนื่องยังคงความสําคัญใน
เรื่องของตําแหน่งนักแสดงหรือบุคคลในฉาก
หากนักแสดงอยู่ทางขวามือของฉากในช็อตแรก
ดังนั้นเขาจะต้องอยู่ขวามือในช็อตต่อมาด้วย
เว้นแต่มีการเคลื่อนไหวไปมาให้เห็นในฉากถึง
จะมีการเปลี่ยนไป
– ความต่อเนื่องของเสียง Continuity of sound
ความต่อเนื่องของเสียงและสัดส่วนของเสียง
เป็นส่วนที่สําคัญมาก ถ้าการกระทํากําลัง
เกิดขึ้นในที่เดียวกันและเวลาเดียวกัน เสียง
จะต้องต่อเนื่องจากช็อตหนึ่งไปยังช็อตต่อไป
ชนิดของวิดีโอ
The type of video
The type of video
Analog Video
เป็นวีดีโอที่ทําการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงให้
อยู่ในรูปของสัญญาณอนาลอก (รูปของคลื่น)
สําหรับวีดีโอประเภทนี้เช่น VHS (Video Home
System) ซึ่งเป็นม้วนเทปวีดีโอที่ใช้ดูกันตาม
บ้าน เมื่อทําการตัดต่อข้อมูลของวีดีโอชนิดนี้
อาจจะทําให้คุณภาพลดน้อยลง
Digital Video
เป็นวีดีโอที่ทําการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงที่
ได้มาจากกล้องดิจิตอล ส่วนการตัดต่อข้อมูล
ของภาพและเสียงที่ได้มาจากวีดีโอดิจิตอลนั้น
จะแตกต่างจากวีดีโออนาลอก เพราะข้อมูลที่ได้
จะยังคงคุณภาพความคมชัดเหมือนกับข้อมูล
ต้นฉบับ ในการผลิตมัลติมีเดียบนคอมพิวเตอร์
สามารถเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณอนาลอก
เป็นสัญญาณดิจิตอลได้ เพียงแต่ผู้ผลิตมี
ทรัพยากรทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่
เหมาะสมเท่านั้น
ลักษณะการทํางานของวีดีโอ
กล้องวีดีโอเป็นการนําเอาหลักการของแสงนําหลักการ “แสงตกกระทบกับวัตถุแล้วสะท้อนสู่เลนส์ใน
ดวงตาของมนุษย์ทําให้เกิดการมองเห็น” มาใช้ในการสร้างภาพร่วมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพที่ได้จะถูก
บันทึกเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า “สัญญาณอนาลอก” ประกอบด้วยข้อมูลสี 3 ชนิด คือ แดง
เขียว นํ้าเงิน (Red, Green, Blue : สีRGB) และสัญญาณสําหรับเชื่อมความสัมพันธ์ของข้อมูล
(Synchronization Plus : สัญญาณ SYNC) สัญญาณวีดีโอจะถูกส่งไปบันทึกยังตลับวีดีโอ (Video Cassette
Recorder : VCR) โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เป็นสัญญาณดิจิตอลและบันทึกลงบนอุปกรณ์บันทึก
ข้อมูลด้วยหลักการของสนามแม่เหล็ก การบันทึกจะต้องบันทึกผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า “หัวเทปวีดีโอ” ที่
สามารถบันทึกได้ทั้งภาพ เสียง และข้อมูลควบคุมการแสดงภาพ นอกจากบันทึกเป็นม้วนเทปวีดีโอแล้วยัง
สามารถบันทึกในรูปของสัญญาณวิทยุได้อีกด้วย โดยอาศัย NTSC, PAL หรือ SECAM เพื่อช่วยในการส่ง
สัญญาณให้สามารถแพร่ภาพทางโทรทัศน์ได้
มาตรฐานการแพร่ภาพวีดีโอ
มาตรฐานการแพร่แบ่งออกเป็นสามแบบ ได้แก่ NTSC, PAL และ SECAM
เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันในหลายพื้นที่ทั่วโลก และปัจจุบันได้มีการพัฒนา
มาตรฐานใหม่ขึ้นมา เรียกว่า “HDTV (High-Definition Television”
มาตรฐานการแพร่ภาพวีดีโอ
National Television System
Committee (NTSC)
เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการตั้งมาตรฐานที่
เกี่ยวกับโทรทัศน์และวีดีโอในสหรัฐ มาตรฐานนี้
เป็นการเข้ารหัสข้อมูลแบบสัญญาณ
อิเล็กทรอนิกส์ กําหนดให้สร้างภาพด้วยเส้นใน
แนวนอน 525 เส้นต่อเฟรม ในอัตรา 30 เฟรม
ต่อวินาที มีสี 16 ล้านสีที่แตกต่างกันและอัตรารี
เฟรช เป็น 60 Halt-Frame (Interlace) ต่อวินาที
แต่บนจอภาพคอมพิวเตอร์นั้นจะใช้วิธีการที่
เรียกว่า “Progressive-Scan” ซึ่งมีความแตกต่าง
จากจอภาพโทรทัศน์ตรงที่สามารถสร้างภาพ
เป็นแบบเฟรมต่อเฟรม โดยไม่มีการ Interlacing
Phase Alternate Line (PAL)
เป็นมาตรฐานของโทรทัศน์และวีดีโอที่นิยมใน
แถบยุโรป รวมถึงไทยด้วย เป็นการสร้างภาพ
จากแนวนอน 625 เส้นต่อเฟรม ในอัตรา 25
เฟรมต่อวินาทีและทําการแสดงภาพด้วยวิธี
Interlacing เช่นกันแต่จะแสดงภาพในอัตรารี
เฟรช เป็น 50 Halt-Frame ต่อนาที
มาตรฐานการแพร่ภาพวีดีโอ
Sequential Color and Memory
(SECAM)
เป็นมาตรฐานของการแพร่สัญญาณโทรทัศน์
และวีดีโอที่ใช้กันในฝรั่งเศส ยุโรปตะวันออก
ตะวันออกกลาง และประเทศในพื้นที่ใกล้เคียง
ทําการแพร่สัญญาณแบบอนาลอก ส่วนการ
สร้างภาพจะเป็น 819 เส้น ด้วยอัตรารีเฟรช 25
เฟรมต่อวินาที ซึ่งจะแตกต่างจากมาตรฐาน
NTCS และ PAL ในเรื่องการผลิต วิธีการแพร่
ภาพออกอากาศ และจากสาเหตุที่ระบบนี้ไม่
แตกต่างจากระบบ PAL มากนัก เครื่องรับ
โทรทัศน์ในยุโรปจึงทําการพัฒนาให้สามารถใช้
งานได้ทั้งระบบ PAL และ SECAM
High Definition Television
(HDTV)
เป็นเทคโนโลยีของการแพร่ภาพโทรทัศน์ที่ถูก
พัฒนาขึ้นมา เพื่อแสดงภาพที่มีความละเอียด
สูง คือ 1280x720 ซึ่งเป็นความละเอียดสําหรับ
การแสดงภาพเช่นเดียวกับโรงภาพยนต์ แต่
ในขณะพัฒนานั้นได้มีการโต้เถียงกันระหว่าง
กลุ่มอุตสาหกรรมโทรทัศน์กับกลุ่มอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์ ว่าจะใช้ความละเอียดจอภาพเป็น
1920x1080 พิกเซล หลังจากนั้นสรุปได้ว่า
ความละเอียดนี้ไม่เหมาะสม ดังนั้นมาตรฐาน
HDTV จึงได้กําหนดให้มีความละเอียดของ
จอภาพเป็น 1280x720
การตัดต่อ
การตัดต่อ คือการนําไฟล์หลาย ๆ ไฟล์ที่จัดเก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์มาเรียงต่อกัน โดยทํา
การเลือกภาพและเสียงที่ต้องการ จากนั้นจึงทําการตกแต่งภาพ โดยการเพิ่มเติมข้อมูลต่าง ๆ
เช่น สีสัน ความสวยงาม ข้อความ เพิ่มความเร็วหรือลดความเร็วในการแสดงภาพเคลื่อนไหว ลด
เหลี่ยมของภาพ หรือจะทําการปรับเปลี่ยนความยาวของข้อมูลก็ได้ เช่นการตัดต่อวีดีโอด้วย
Adobe Premiere ปัจจุบันการตัดต่อวีดีโอด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์จะได้งานที่มีคุณภาพดีกว่า
เนื่องจากสามารถเพิ่มเทคนิคพิเศษ ปรับแต่งภาพให้สวยงามได้ จึงได้รับความนิยม แต่ผู้ที่
ต้องการตัดต่ออย่างมืออาชีพต้องไม่ลืมว่างบประมาณในการเตรียมอุปกรณ์ตัดต่อนั้นมีราคา
แพง หากจะทําการตัดต่อเพื่อเพิ่มความรู้ก็ควรใช้อุปกรณ์ที่มีราคาเหมาะกับงานที่จะทํา เพื่อ
ป้ องกันความสิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์
การบีบอัดวีดีโอ
Video compression
การบีบอัดวีดีโอ
เป็นการจัดเก็บข้อมูลภาพและเสียงของไฟล์ต้นฉบับให้มีขนาดลดน้อยลง
แต่ยังคงมีปริมาณของข้อมูลเท่าเดิม แต่ก็เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าไฟล์
อาจจะมีคุณภาพลดน้อยลงไปตามขนาดที่บีบอัด แต่เนื่องจากการบีบอัด
ข้อมูลมีประโยชน์เป็นอย่างมากจึงทําให้มีการพัฒนาต่อมาเรื่อย ๆ
การบีบอัดวีดีโอ
เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมูล เนื่องจากมี
ความต้องการที่จะย่อภาพสีโดยให้คง
รายละเอียดเดิมไว้ให้มากที่สุด ซึ่งคอมพิวเตอร์
จะทําการสุ่มตัวอย่างของจุดภาพในส่วนต่าง ๆ
ก่อนที่จะบีบอัดข้อมูล โดยตรวจสอบพื้นที่ว่าจะ
มีสีอะไรอยู่มากที่สุด จากนั้นจะยุบพื้นที่ให้เหลือ
เพียงสีที่ต้องการเพียงหนึ่งพิกเซล
ซึ่ง JPEG จะถูกนํามาใช้กับภาพนิ่งที่
อัตราส่วนการบีบประมาณ 25:1,
40:1 จนถึง 100:1
เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมูลที่สามารถบีบอัด
และขยายสัญญาณได้ตั้งแต่ 12:1,
5:1 และ 2:1 ทําให้ภาพที่ได้ออกมามีคุณภาพ
และเป็นที่น่าพอใจ สําหรับกลุ่มผู้ผลิตงานที่ไม่
ต้องการความละเอียดมากนัก จึงเป็นระบบที่
นิยมใช้ในการ์ตัดต่อ และการ์ดแคปเชอร์
(Capture Card) แบบต่าง แต่ในปัจจุบันเริ่ม
ความนิยมเนื่องจากระบบดิจิตอลของกล้อง
ดิจิตอลวีดีโอเข้ามาแทนที่
เจเพ็ก (JPEG) Motion – JPEG หรือ M – JPEG
การบีบอัดวีดีโอ
เป็นเทคโนโลยีการบีบอัดและการคลายข้อมูล
ซึ่งสามารถนําไปใช้กับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์
หรืออย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ โดยส่วนมาก
CODEC จะนิยมใช้กันในบีบอัดแบบ MPEG,
Indeo และ Cinepak
เป็นมาตรฐานการบีบอัดสัญญาณภาพและ
เสียง โดยใช้ระบบ DCT ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กับ
ระบบวีดีโอคุณภาพสูงทั่วไป จะมีความ
คล้ายคลึงกับการบีบอัดข้อมูลแบบ JPEG แต่จะ
ลดจํานวนข้อมูลที่ซํ้ากันของภาพต่อไปด้วย การ
บีบอัดข้อมูลแบบ MPEG นี้เป็นแบบไม่
สมมาตร เนื่องจากขั้นตอนในการเข้ารหัส
สัญญาณวีดีโอนานกว่าขั้นตอนการถอดรหัส
ข้อมูล โดย MPEG ได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่าง
ต่อเนื่องดังนี้
CODEC เอ็มเพ็ก (MPEG : Moving Picture Experts Group)
การบีบอัดวีดีโอ
MPEG-1 ใช้กับวีดีโอที่ดูตามบ้าน เป็นที่รู้จักกันดี
ในชื่อ VHS ซึ่งไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดข้อมูล
แบบนี้สามารถใช้เครื่องเล่น CD ทั่วไป อ่านหรือ
เขียนข้อมูลได้ แต่ยังให้ภาพที่ค่อนข้างหยาบ
สัญญาณสีแต่ละจุดไม่สามารถกําหนดเป็นสีที่
ถูกต้องได้ ถ้าเป็นระบบที่ใช้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
ช่วยในการถอดรหัสจะแสดงภาพที่ชัดเจนได้
เต็มจอภาพ แต่ถ้าใช้ซอฟต์แวร์อย่างเดียวจะ
แสดงภาพที่ชัดเจนได้เพียงครึ่งจอภาพ
MPEG-2 เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์
โดยเฉพาะการบีบอัดข้อมูลแบบนี้ก่อนที่
คอมพิวเตอร์จะคํานวณผลเพื่อแทนค่าจุดสีต่าง ๆ
ภาพจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ และจะคํานวณทีละ
หลาย ๆ ภาพ เรียกว่า “GOP (Group of Picture)
“ ซึ่งเป็นการมองภาพครั้งละ 8-24 ภาพ โดยจะดู
จากภาพที่หนึ่งของ GOP เป็นหลัก จากนั้นจะทํา
การเข้ารหัสภาพ แล้วมองภาพถัดไปว่ามีความ
แตกต่างจากภาพแรกที่จุดใด จากนั้นจะทําการ
เปรียบเทียบและเก็บเฉพาะที่แตกต่างของภาพไว้ใน
เฟรมนั้น ส่วนภาพต่อไปก็ทําการเปรียบเทียบกับ
ภาพติดกัน แล้วเก็บส่วนต่างไว้เช่นกัน ทําให้
สามารถลดจํานวนข้อมูลที่ต้องการเก็บ และเก็บ
บันทึกข้อมูลที่ต้องการถอดรหัสได้
การบีบอัดวีดีโอ
MPEG-3 เพื่อใช้งานกับโทรทัศน์ที่มีความคมชัดสูง
หรือเรียกว่า HDTV (High – Definition Television)
เป็นโทรทัศน์ดิจิตอลชนิดใหม่ที่ใช้ในสหรัฐ แต่ไม่ได้
นํามาใช้งานเนื่องจากไม่ประสบความสําเร็จ
MPEG-4 เป็นมาตรฐานที่ใกล้เคียงกับ Quick Time
เพื่อใช้งานทางด้านมัลติมีเดียที่มีแบนด์วิดท์
(Bandwidth) ตํ่า ซึ่งสามารถรวมภาพ เสียง และ
ส่วนประกอบอื่นที่คอมพิวเตอร์สร้างขึ้นได้ ที่สําคัญ
MPEG-4 ได้ถูกออกแบบให้มีความสามารถในเชิง
โต้ตอบกับวัตถุต่าง ๆ ในภาพได้
MPEG-7 เป็นตัวเชื่อมรายละเอียดเนื้อหามัลติมีเดีย
เข้าด้วยกัน (Multimedia Content Description
Interface) โดยมีจุดหมายที่จะสร้างมาตรฐานการ
อธิบายข้อมูลข่าวสารของมัลติมีเดีย เพื่อใช้ในการ
สนับสนุนความหมายของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ บน
สื่อ
Microsoft Video : ทํางานในขั้นตอนการบีบอัด
ข้อมูลที่อัตราส่วนการบีบอัดตํ่าได้อย่างรวดเร็ว
เหมาะสําหรับภาพที่มีความเคลื่อนไหวมาก ๆ แต่
ความละเอียดตํ่า (240x180 พิกเซล)
Microsoft RLE : ใช้อัตราส่วนในการบีบอัดตํ่า
เหมาะสําหรับภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ที่มีความ
ชัดเจน แต่ไม่เหมาะกับงานวีดีโอ
การบีบอัดวีดีโอ
DV Format : มีการสร้างระบบการเข้ารหัสเพื่อ
บันทึกเป็นสัญญาณดิจิตอลโดยตรง เพื่อใช้กับกล้อง
ถ่ายวีดีโอแบบดิจิตอล ซึ่งเรียกการเข้ารหัสแบบนี้ว่า
“DV Format” โดยสัญญาณที่ถูกบันทึกจะผ่านการ
บีบอัดข้อมูลเรียบร้อยแล้ว สามารถส่งผ่านเข้าสู่
คอมพิวเตอร์ได้โดยตรงไม่มีปัญหาการสูญเสียความ
คมชัดของภาพ แต่ข้อมูลภาพดิจิตอลวีดีโอค่อนข้าง
ใหญ่การส่งผ่านข้อมูลจะใช้เวลานาน จึงมีการ
พัฒนามาตรฐาน IEEE หรือที่เรียกว่า “Fire Wire” มา
รองรับการส่งข้อมูลแบบ DV จนกระทั่งได้กลายเป็น
มาตรฐานการเชื่อมต่อสําหรับกล้องดิจิตอลวีดีโอใน
ที่สุด
DivX : กลุ่มโปรแกรมเมอร์ใต้ดินได้ร่วมกันพัฒนาระบบ
ซอฟต์แวร์ซึ่งสามารถลดข้อมูลเหลือเพียง 10-20
เปอร์เซ็นต์ของปริมาณข้อมูลเดิม และยังสามารถเปิดชม
ภาพยนตร์ด้วยโปรแกรมธรรมดาได้อีกด้วย
DVI : เป็นเทคโนโลยี CODEC ที่ถูกพัฒนาซึ่งมีมาตรฐาน
NTST ในการแสดงภาพที่มีอัตรา 30 เฟรมต่อวินาที
สามารถบันทึกและแสดงภาพวีดีโอที่มีการเคลื่อนไหวที่
สมจริงเหมือนในโทรทัศน์ แต่บางครั้งมักจะเกิดปัญหา
เพราะเนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์ไม่เพียงพอ เนื่องจากสามารถ
บันทึกข้อมูลได้ในปริมาณมาก ดังนั้น DVI จึงแก้ปัญหานี้
โดยการบีบอัดข้อมูลและคลายข้อมูล DVI ด้วยอุปกรณ์ที่
เป็นฮารด์แวร์ทั้งหมด
การบีบอัดวีดีโอ
Cinepak : เป็นเทคโนโลยีการบีบอัดและการ
คลายข้อมูล สามารถส่งข้อมูลวีดีโอขนาด 24
บิต บนพื้นที่ขนาด 1 ต่อ 4 ของจอภาพวินโดว์
ซึ่งนิยมใช้ในรูปแบบของไฟล์วีดีโอที่เป็น *.avi
โดยสามารถบีบอัดข้อมูลได้ดีแต่มีข้อเสียตรงที่
ใช้เวลานานในการบีบอัดข้อมูล
Indeo : มีพื้นฐานมาจาก DVI ที่เป็นฮาร์ดแวร์
ล้วน ๆ ส่วนการเข้าและถอดรหัสของ Indeo จะ
เป็นซอฟต์แวร์ทั้งหมด โดยนิยมนํามา
ประยุกต์ใช้ในการประชุมด้วยภาพ
โปรแกรมตัดต่อ
Video editing software
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการผลิตวีดีโอ
- acromedia Flash โปรแกรมสําหรับสร้างงานอนิเมชั่น มัลติมีเดีย งานอินเตอร์เอคทีฟ และรองรับงานออนไลน์ต่าง ๆ
- Ulead Video Studio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ Capture ภาพที่นําสัญญาณผ่านเข้ามาสามารถตัดต่อวีดีโอให้อยู่ใน
ฟอร์แมต MPEG I, MPEG II, DV และ VCD ได้
- Adobe Photoshop CS โปรแกรมสําหรับตกแต่งรูปภาพ
- Windows Movie Maker โปรแกรมสําหรับใช้ในการตัดต่อภาพ เป็นมัลติมีเดียสตรีมมิ่งทั้งภาพและเสียงที่ได้จากการ
ตัดต่อวีดีโอ และสามารถนําเข้าไฟล์ไม่ว่าจะเป็น *.avi, *.afs, *.MPEG, *.MPG, *.MPA เป็นต้น
- VirtualDub เป็นโปรแกรมที่ช่วยใส่ Feeling ต่าง ๆ ให้แก่ภาพ ช่วยในการลดเม็ดสีที่คล้ายเม็ดหิมะที่เกิดจากการตัดต่อ
ภาพจาก TV หรือ TV จูนเนอร์ และสามารถทําการบีบอัดข้อมูลได้
- TMPGEnc หรือทีเอ็มเพ็ค 2 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการดัดแปลงไฟล์ VDO แบบ *.avi ให้เป็น *.MPEG ได้สามารถใช้
โปรแกรม TMPGEnc ร่วมกับ VirtualDub ได้
- Cyberlink Videolive Mail เป็นโปรแกรมที่สามารถปรับแต่งภาพ และสนับสนุนการรับชมรายการโทรทัศน์ วีดีโอ และ
บันทึกรายการโทรทัศน์หรือวีดีโอที่รับชมได้
- Flash เป็นโปรแกรมสําหรับพัฒนางานรูปแบบต่าง ๆ เช่น งานวีดีโอ งานมัลติมีเดีย งานเว็บแอพพลิเคชั่น ระบบE-
Learning และระบบแอพพลิเคชั่นขนาดใหญ่
คุณภาพของวีดีโอ
อัตราเฟรม (Frame Rate) คืออัตราความถี่ในการแสดงภาพ
จาก Timeline ออกทางหน้าจอ อัตราที่เฟรมถูกแสดงในวีดีโอมีหน่วยเป็น
เฟรมต่อวินาที (FPS ย่อมาจาก Frame Per Second เป็นหน่วยวัดปริมาณ
ข้อมูลที่ใช้ในการเก็บบันทึกและแสดงวีดีโอ นอกจากนี้ยังสามารถแสดง
เฟรมให้มีความต่อเนื่องในเวลาอันรวดเร็ว) โดยผู้จัดทําสามารถที่จะ
กําหนดอัตราเฟรมเองได้ เช่น อัตราเฟรมของภาพยนตร์เท่ากับ 24
fps อัตราเฟรมโทรทัศน์ระบบPAL เท่ากับ 25 fps และอัตราเฟรมโทรทัศน์
ระบบ NTSC เท่ากับ 30 fps
คุณภาพของวีดีโอ
ความละเอียด (Resolution) หมายถึง ความคมชัดของภาพที่แสดงผลออก
ทางจอภาพ ความละเอียดของจอภาพขึ้นอยู่กับจํานวนจุดทั้งหมดที่เกิดบน
จอ จุดต่าง ๆ นี้เรียกว่า พิกเซล (Pixel) นอกจากนี้ภาพที่มีขนาดเท่ากัน
บางครั้งก็อาจจะมีความละเอียดที่ต่างกันได้ เนื่องจากจํานวนพิกเซล
ต่างกันจะส่งผลให้ขนาดของพิกเซลต่างกันด้วย ยิ่งความละเอียดของ
จอภาพสูงจะยิ่งทําให้มองเห็นพื้นที่ใช้งานบนจอกว้างมากขึ้น แต่จะทําให้มี
ขนาดเล็กลง
รูปแบบของไฟล์วีดีโอออนไลน์
– *.rm/ *.ra/ *.ram เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท RealNetwork นิยมใช้นําเสนอข้อมูล
ไฟล์ผ่านอินเตอร์เน็ตโดยใช้โปรแกรม Real Player
– *.MPEG2 / *.MPEG4 เป็นฟอรแมตที่สามารถเปิดได้ด้วยโปรแกรม Windows Media Player
– *.asf/ *.wmv เป็นฟอร์แมตที่คล้ายคลึงกับ *.MPEG2/ *.MPEG4 สามารถเปิดไฟล์ทั้งสองได้
ด้วยโปรแกรมWindows Media Player เช่นกัน
– *.viv เป็นฟอร์แมตที่สามาถเปิดไฟล์ได้ด้วยโปรแกรม Vivo Active Player แต่ในปัจจุบันนี้ได้
เลิกใช้ไปแล้ว
– *.mov เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple นิยมใช้นําเสนอข้อมูลไฟล์ผ่านอินเตอร์เน็ต
โดยใช้โปรแกรมQuick Time
– *.avi (Audio / Video Interleave) เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์
เรียกว่า Video for Windowsมีนามสกุลเป็น *.avi ปัจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมา
พร้อมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player นั่นเอง
โปรแกรมตัดต่อ
– Adobe Premiere Pro: เป็นโปรแกรมตัดต่อ
วิดีโอในตํานานจากค่าย Adobe เป็นที่ยอมรับ
ในวงการตัดต่อวิดีโออย่างกว้างขวางมานานนับ
ปี เพราะเมื่อเอ่ยชื่อก็ต้องเป็นที่รู้จัก สําหรับเจ้า
ตํานานเจ้านี้เป็นโปรแกรมตัดต่อวิดีโอที่
ออกแบบเครื่องมือการใช้งานได้มาตราฐานมาก
เลยทีเดียว จนเป็นต้นแบบของโปรแกรมตัดต่อ
ทั่วๆไปไม่ว่าจะเป็น ตําแหน่งการ วางของ
windows ต่างๆเป็นต้น สําหรับ Adobe
Premiere Pro นั้นปัจจุบันออกมาหลายเวอร์ชั่น
แล้ว สําหรับเวอร์ชั่นใหม่ๆได้มีการพัฒนาใน
เรื่องของการใช้พลังโปรเซสเซอร์ได้เต็มที่ เช่น
effect และ transition บางตัวไม่จําเป็นต้อง
Render เพื่อแสดงผล Adobe Premiere Pro
โปรแกรมตัดต่อ
– Edius: เป็นโปรแกรมตัดต่อที่มีจุดเด่นมากมาย
เช่น ซ้อน วาง เลเยอร์ได้มากโขทีเดียวโดยไม่
ต้อง Render มีช่วงหนึ่งที่ Premiere Pro
ออกมาแรกๆทําไม่ได้แต่ Edius ทําได้ จนได้คํา
ว่า“ลื่นติดมือ” กับ “เรียลไทม์เอาต์พุต” ก็ทําให้
นักตัดต่อจํานวนมากเริ่มหันมามอง EDIUS เป็น
ทางเลือกใหม่กันแล้ว ยิ่ง EDIUS รุ่นต่อมามีการ
ปรับปรุงอีกหลายส่วน เช่น คุณสมบัติที่ทํา
ชื่อเสียงและกลายเป็นเอกลักษณ์ของ EDIUS
ไปเลยก็คือ การทํางานแบบ “มัลติฟอร์แมต” ซึ่ง
หมายถึงอิสระเสรีในการทํางานที่ไม่เคยมีมา
ก่อน อันนี้ไม่ได้บอกว่า Premiere ไม่ดีนะครับดี
กันคนละอย่างกัน ครับปรแกรม EDIUS เป็นที่
รู้จักและนิยมอย่างรวดเร็วในวงการเลยทีเดียว
ซึ่งโปรแกรมนี้ใช้ตัดต่อในหลายสตูดิโอ ใช้งาน
ง่าย การปรับแต่ง effect ไม่ยาก ย่อภาพ, ขยาย
ภาพ, ภาพวิ่ง, ทําไตเติ้ล
โปรแกรมตัดต่อ
– Sony Vegas: โปรแกรมตัดต่อแบบโฮมยูส แต่
เทียบชั้นระดับอาชีพมากับ Effect ที่น่าสนใจใน
ตัวเอง ตอนแรกๆก็ไม่ได้สนใจหรอกครับ ยังดู
ถูกว่ามันกระจอกด้วยซํ้า เพราะเราก็ตัดพวก
โปรแกรมไหญ่ๆมาก่อน Final Cur Pro แบบนี้
แต่เราสําคัญผิดถนัดเลย มันเป็นโปรแกรมที่
ยอดมาก แบบว่า เอฟเฟคเจ๋งๆ ทรานซิชั่นสวยๆ
แล้ว Render น้อยมาก และที่แน่ๆจัด ทํา
Karaoke ไปหลายเจ้าแว้วครับ Sony Vegas
หน้าตาการใช้งานไม่เหมือนโปรแกรมระดับโปร
แต่คุณภาพเทียบชั้นเลย อินเตอร์เฟส เครื่องมือ
นั้นเน้นลากใส่ๆไม่ต้องปรับแต่งอะไรมากแต่ดู
สวยครับเอาหัวเป็นประกัน เหมาะสําหรับคนที่
อยากจะตัดต่อเป็นงานอดิเรกจริงๆครับ หรือจะ
ตัดเป็นอาชีพก็ไม่ว่าถ้ามีการ์ดตัดต่อดีดีอย่าง
Black Magic
โปรแกรมตัดต่อ
– Sony Vegas: โปรแกรมตัดต่อแบบโฮมยูส แต่
เทียบชั้นระดับอาชีพมากับ Effect ที่น่าสนใจใน
ตัวเอง ตอนแรกๆก็ไม่ได้สนใจหรอกครับ ยังดู
ถูกว่ามันกระจอกด้วยซํ้า เพราะเราก็ตัดพวก
โปรแกรมไหญ่ๆมาก่อน Final Cur Pro แบบนี้
แต่เราสําคัญผิดถนัดเลย มันเป็นโปรแกรมที่
ยอดมาก แบบว่า เอฟเฟคเจ๋งๆ ทรานซิชั่นสวยๆ
แล้ว Render น้อยมาก และที่แน่ๆจัด ทํา
Karaoke ไปหลายเจ้าแว้วครับ Sony Vegas
หน้าตาการใช้งานไม่เหมือนโปรแกรมระดับโปร
แต่คุณภาพเทียบชั้นเลย อินเตอร์เฟส เครื่องมือ
นั้นเน้นลากใส่ๆไม่ต้องปรับแต่งอะไรมากแต่ดู
สวยครับเอาหัวเป็นประกัน เหมาะสําหรับคนที่
อยากจะตัดต่อเป็นงานอดิเรกจริงๆครับ หรือจะ
ตัดเป็นอาชีพก็ไม่ว่าถ้ามีการ์ดตัดต่อดีดีอย่าง
Black Magic
สรุป
หลักการของการตัดต่อ คือ
1. เสียงและภาพนั้นคือส่วนที่เสริมซึ่งกันและกัน
2. ภาพใหม่ควรให้ข้อมูลใหม่
3. ควรมีเหตุผลสําหรับทุกภาพที่ตัด
4. ให้ระวังเรื่อง “การข้ามเส้น”
5. เลือกแบบการตัดที่เหมาะสมกับเรื่อง
6. ยิ่งตัดต่อดี ยิ่งดูลื่นไหล
7. การตัดคือการสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น

More Related Content

What's hot

การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
Krongkaew kumpet
 
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
phakwan018
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
Samorn Tara
 
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูลdata storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
ธิติพล เทียมจันทร์
 

What's hot (20)

เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดียสตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
สตูดิโอถ่ายภาพสำหรับงานมัลติมีเดีย
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวันตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
ตัวอย่างการเขียนบท อาหารกลางวัน
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )สื่อดิจิตอล ( Digital media )
สื่อดิจิตอล ( Digital media )
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
 
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
เอกสารประกอบหลักสูตร การผลิตหนังสั้นเพื่อการเรียนรู้
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูลdata storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
data storytelling คือ อะไร ? การเล่าเรื่อง ( สตอรี่เทลลิ่ง ) จากข้อมูล
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 

Similar to Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น

สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
gasanong
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Praphaphun Kaewmuan
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
Kroopop Su
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
Jele Raviwan Napijai
 

Similar to Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น (20)

Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
Video conference2
Video conference2Video conference2
Video conference2
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Introduction to Digital Video Production
Introduction to Digital Video ProductionIntroduction to Digital Video Production
Introduction to Digital Video Production
 
บทที่ 9 วีดีโอ
บทที่ 9 วีดีโอบทที่ 9 วีดีโอ
บทที่ 9 วีดีโอ
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
Video with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie MakerVideo with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie Maker
 
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
การตัดต่อวิดีโอด้วยUlead Video Studio 11
 
Intro premierepro
Intro premiereproIntro premierepro
Intro premierepro
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
 
Lecture01_Introduction
Lecture01_IntroductionLecture01_Introduction
Lecture01_Introduction
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
 
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
Chapter2_หน้าต่างการทำงานของ Premiere pro 1
 
U05 6b6e
U05 6b6eU05 6b6e
U05 6b6e
 
Pop
PopPop
Pop
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
Work 5555
Work 5555Work 5555
Work 5555
 

More from Pisit Noiwangklang

Infographic process 10 step
Infographic process 10 stepInfographic process 10 step
Infographic process 10 step
Pisit Noiwangklang
 
หลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative mediaหลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative media
Pisit Noiwangklang
 

More from Pisit Noiwangklang (7)

แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
แนวทางการจัดกิจกรรมค่ายความรู้สู่อาเซียนผู้พิการทางการมองเห็น (Asean Blind Camp)
 
Infographic process 10 step
Infographic process 10 stepInfographic process 10 step
Infographic process 10 step
 
Analysis Design Introduction
Analysis Design IntroductionAnalysis Design Introduction
Analysis Design Introduction
 
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
Animation [การผลิตแอนิเมชั่นเบื้องต้น]
 
Media introduction
Media introductionMedia introduction
Media introduction
 
Animation introduction
Animation introductionAnimation introduction
Animation introduction
 
หลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative mediaหลักการออกแบบ Creative media
หลักการออกแบบ Creative media
 

Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น

  • 3. การตัดต่อคืออะไร – การตัดต่อ คือ การเชื่อมระหว่างช็อต 2 ช็อต – การตัดต่อหรือว่าการลําดับภาพเป็นขั้นตอนที่ 3 ในกระบวนการโปร ดักชั่นคือโพสต์โปรดักชั่น ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายสําหรับการปรุงแต่งงาน ให้ชวนลิ้มรสต่อคนดู – อย่าเข้าใจผิดว่าห้องตัดต่อเป็นที่สร้างเรื่อง เพราะ สตอรี่ คือการคิดมา ก่อนการเข้าห้องตัด – การเป็นนักตัดต่อนั้นจะต้องมีความรู้ความเข้าใจใน 2 ส่วน คือในส่วน ของเครื่องตัด และในส่วนของความเข้าใจในการตัด
  • 5. ประเภทของการตัดต่อ ตัดต่อการกระทํา action edit ตัดต่อตําแหน่งจอ screen position edit ตัดต่อรูปแบบ form edit ตัดต่อที่มีเรื่องราว concept edit ตัดต่อแบบผนวก combined edit Type of Editing
  • 6. หลักการตัดต่อ 1.แรงจูงใจ Motivation ควรต้องมีเหตุผลในการผสม ภาพเสมอ 2.ข้อมูล Information ภาพใหม่ควรมีข้อมูลใหม่เสมอ 3.องค์ประกอบภาพ Composition ช็อต 2 ช็อตที่ผสม เข้าด้วยกัน ควรมีองค์ประกอบภาพที่เกยทับกันได้ง่าย และหลีกเลี่ยงภาพที่จะขัดกัน 4.เสียง Sound เสียงของทั้ง 2 ช็อต ควรจะผสานเข้า ด้วยกัน 5.มุมกล้อง Camera angle ช็อตที่ผสมกันควรมีมุม กล้องที่ต่างกัน 6.เวลา Time การผสมภาพ ใช้เวลาอย่างน้อย 1 วินาทีและมากสุด 3 วินาที Principles of Editing
  • 7. หลักการตัดต่อ 1. แรงจูงใจ Motivation ในการตัดต่อ ไม่ว่า จะการ cut, mix หรือ fade ควรมีเหตุผลที่ดี หรือมีแรงจูงใจเสมอ ซึ่งแรงจูงใจนี้อาจเป็น ภาพ เสียง หรือทั้งสองอย่างผสมกันก็ได้ ใน ส่วนของภาพอาจเป็นการกระทําอย่างใด อย่างหนึ่ง แม้นักแสดงจะแสดงเพียง เล็กน้อย เช่น การขยับร่างกายหรือขยับส่วน ของหน้าตา สําหรับเสียงอาจเป็นเสียงใด เสียงหนึ่ง เช่น เสียงเคาะประตู หรือเสียง โทรศัพท์ดัง หรืออาจเป็นเสียงที่ไม่ปรากฏ ภาพในฉาก (off scene) 2. ข้อมูล Information ข้อมูลในที่นี้คือข้อมูล ที่เป็นภาพ ช็อตใหม่ หมายถึงข้อมูลใหม่ คือ ถ้าไม่มีข้อมูลอะไรใหม่ในช็อตนั้น ๆ ก็ไม่ จําเป็นต้องนํามาตัดต่อ ไม่ว่าภาพจะมีความ งดงามเพียงไร ก็ควรที่จะเป็นข้อมูลภาพที่ แตกต่างจากช็อตที่แล้ว ยิ่งมีข้อมูลภาพที่คน ดูเห็นและเข้าใจมากขึ้น ผู้ชมก็ยิ่งได้รับ ข้อมูลและมีอารมณ์ร่วมมากขึ้น เป็นหน้าที่ของคนตัดที่จะนําข้อมูลภาพมา ร้อยให้มากที่สุดโดยไม่เป็นการยัดเยียดให้ คนดู
  • 8. หลักการตัดต่อ 3.องค์ประกอบภาพในช็อต Shot Composition ผู้ตัดไม่สามารถกําหนด องค์ประกอบภาพในช็อตได้ แต่งานของผู้ ตัดคือควรให้มีองค์ประกอบภาพในช็อต ที่สมเหตุสมผลและเป็นที่ยอมรับปรากฏ อยู่ องค์ประกอบภาพในช็อตที่ไม่ดีมา จากการถ่ายทําที่แย่ ซึ่งทําให้การตัดต่อ ทําได้ลําบากมากขึ้น 4.เสียง Sound เสียงคือส่วนสําคัญใน การตัดต่ออีกประการหนึ่ง เสียงรวดเร็ว และลึกลํ้ากว่าภาพ เสียงสามารถใส่มา ก่อนภาพหรือมาทีหลังภาพเพื่อสร้าง บรรยากาศ สร้างความกดดันอันรุนแรง และอีกหลากหลายอารมณ์ เสียงเป็นการ เตรียมให้ผู้ชมเตรียมพร้อมสําหรับการ เปลี่ยนฉาก สถานที่ หรือแม้แต่ ประวัติศาสตร์
  • 9. หลักการตัดต่อ 5.มุมกล้อง Camera Angle เมื่อผู้กํากับ ฯ ถ่ายทําฉาก จะทําโดยเริ่มจากตําแหน่ง ต่าง ๆ (มุมกล้อง) และจากตําแหน่งต่าง ๆ เหล่านี้ผู้กํากับฯ จะให้ถ่ายช็อตหลาย ๆ ช็อต คําว่า “มุม” ถูกใช้เพื่ออธิบาย ตําแหน่งของกล้องเหล่านี้ซึ่งสัมพันธ์กับ วัตถุหรือบุคคล 6.ความต่อเนื่อง Continuity ทุกครั้งที่ ถ่ายทําในมุมกล้องใหม่ (ในซีเควนส์ เดียวกัน) นักแสดงหรือคนนําเสนอ จะต้องแสดงการเคลื่อนไหวหรือทําท่า เหมือนเดิมทุกประการกับช็อตที่แล้ว วิธีการนี้ยังปรับใช้กับ take ที่แปลก ออกไปด้วย
  • 10. หลักการตัดต่อ – ความต่อเนื่องของเนื้อหา Continuity of content ควรมีความต่อเนื่องของเนื้อหา เช่น นักแสดงยกหูโทรศัพท์ด้วยมือขวาในช็อตแรก ดังนั้นก็คาดเดาได้ว่าหูโทรศัพท์ยังคงอยู่ในมือ ขวาในช็อตต่อมา งานของคนตัดคือ ทําให้แน่ใจ ว่าความต่อเนื่องยังคงมีอยู่ทุกครั้งที่ทําการตัด ต่อในซีเควนส์ของช็อต – ความต่อเนื่องของการเคลื่อนไหว Continuity of movementความต่อเนื่องยังเกี่ยวข้องกับทิศ ทางการเคลื่อนไหว หากนักแสดงหรือบุคคล เคลื่อนที่จากขวาไปซ้ายในช็อตแรก ช็อตต่อมา ก็คาดเดาว่านักแสดงหรือบุคคลจะเคลื่อนไหว ไปในทิศทางเดียวกัน เว้นแต่ในช็อตจะให้เห็น การเปลี่ยนทิศทางจริง ๆ – ความต่อเนื่องของตําแหน่ง Continuity of position ความต่อเนื่องยังคงความสําคัญใน เรื่องของตําแหน่งนักแสดงหรือบุคคลในฉาก หากนักแสดงอยู่ทางขวามือของฉากในช็อตแรก ดังนั้นเขาจะต้องอยู่ขวามือในช็อตต่อมาด้วย เว้นแต่มีการเคลื่อนไหวไปมาให้เห็นในฉากถึง จะมีการเปลี่ยนไป – ความต่อเนื่องของเสียง Continuity of sound ความต่อเนื่องของเสียงและสัดส่วนของเสียง เป็นส่วนที่สําคัญมาก ถ้าการกระทํากําลัง เกิดขึ้นในที่เดียวกันและเวลาเดียวกัน เสียง จะต้องต่อเนื่องจากช็อตหนึ่งไปยังช็อตต่อไป
  • 12. The type of video Analog Video เป็นวีดีโอที่ทําการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงให้ อยู่ในรูปของสัญญาณอนาลอก (รูปของคลื่น) สําหรับวีดีโอประเภทนี้เช่น VHS (Video Home System) ซึ่งเป็นม้วนเทปวีดีโอที่ใช้ดูกันตาม บ้าน เมื่อทําการตัดต่อข้อมูลของวีดีโอชนิดนี้ อาจจะทําให้คุณภาพลดน้อยลง Digital Video เป็นวีดีโอที่ทําการบันทึกข้อมูลภาพและเสียงที่ ได้มาจากกล้องดิจิตอล ส่วนการตัดต่อข้อมูล ของภาพและเสียงที่ได้มาจากวีดีโอดิจิตอลนั้น จะแตกต่างจากวีดีโออนาลอก เพราะข้อมูลที่ได้ จะยังคงคุณภาพความคมชัดเหมือนกับข้อมูล ต้นฉบับ ในการผลิตมัลติมีเดียบนคอมพิวเตอร์ สามารถเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณอนาลอก เป็นสัญญาณดิจิตอลได้ เพียงแต่ผู้ผลิตมี ทรัพยากรทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ เหมาะสมเท่านั้น
  • 13. ลักษณะการทํางานของวีดีโอ กล้องวีดีโอเป็นการนําเอาหลักการของแสงนําหลักการ “แสงตกกระทบกับวัตถุแล้วสะท้อนสู่เลนส์ใน ดวงตาของมนุษย์ทําให้เกิดการมองเห็น” มาใช้ในการสร้างภาพร่วมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพที่ได้จะถูก บันทึกเป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า “สัญญาณอนาลอก” ประกอบด้วยข้อมูลสี 3 ชนิด คือ แดง เขียว นํ้าเงิน (Red, Green, Blue : สีRGB) และสัญญาณสําหรับเชื่อมความสัมพันธ์ของข้อมูล (Synchronization Plus : สัญญาณ SYNC) สัญญาณวีดีโอจะถูกส่งไปบันทึกยังตลับวีดีโอ (Video Cassette Recorder : VCR) โดยการแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เป็นสัญญาณดิจิตอลและบันทึกลงบนอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลด้วยหลักการของสนามแม่เหล็ก การบันทึกจะต้องบันทึกผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า “หัวเทปวีดีโอ” ที่ สามารถบันทึกได้ทั้งภาพ เสียง และข้อมูลควบคุมการแสดงภาพ นอกจากบันทึกเป็นม้วนเทปวีดีโอแล้วยัง สามารถบันทึกในรูปของสัญญาณวิทยุได้อีกด้วย โดยอาศัย NTSC, PAL หรือ SECAM เพื่อช่วยในการส่ง สัญญาณให้สามารถแพร่ภาพทางโทรทัศน์ได้
  • 14. มาตรฐานการแพร่ภาพวีดีโอ มาตรฐานการแพร่แบ่งออกเป็นสามแบบ ได้แก่ NTSC, PAL และ SECAM เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันในหลายพื้นที่ทั่วโลก และปัจจุบันได้มีการพัฒนา มาตรฐานใหม่ขึ้นมา เรียกว่า “HDTV (High-Definition Television”
  • 15. มาตรฐานการแพร่ภาพวีดีโอ National Television System Committee (NTSC) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการตั้งมาตรฐานที่ เกี่ยวกับโทรทัศน์และวีดีโอในสหรัฐ มาตรฐานนี้ เป็นการเข้ารหัสข้อมูลแบบสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ กําหนดให้สร้างภาพด้วยเส้นใน แนวนอน 525 เส้นต่อเฟรม ในอัตรา 30 เฟรม ต่อวินาที มีสี 16 ล้านสีที่แตกต่างกันและอัตรารี เฟรช เป็น 60 Halt-Frame (Interlace) ต่อวินาที แต่บนจอภาพคอมพิวเตอร์นั้นจะใช้วิธีการที่ เรียกว่า “Progressive-Scan” ซึ่งมีความแตกต่าง จากจอภาพโทรทัศน์ตรงที่สามารถสร้างภาพ เป็นแบบเฟรมต่อเฟรม โดยไม่มีการ Interlacing Phase Alternate Line (PAL) เป็นมาตรฐานของโทรทัศน์และวีดีโอที่นิยมใน แถบยุโรป รวมถึงไทยด้วย เป็นการสร้างภาพ จากแนวนอน 625 เส้นต่อเฟรม ในอัตรา 25 เฟรมต่อวินาทีและทําการแสดงภาพด้วยวิธี Interlacing เช่นกันแต่จะแสดงภาพในอัตรารี เฟรช เป็น 50 Halt-Frame ต่อนาที
  • 16. มาตรฐานการแพร่ภาพวีดีโอ Sequential Color and Memory (SECAM) เป็นมาตรฐานของการแพร่สัญญาณโทรทัศน์ และวีดีโอที่ใช้กันในฝรั่งเศส ยุโรปตะวันออก ตะวันออกกลาง และประเทศในพื้นที่ใกล้เคียง ทําการแพร่สัญญาณแบบอนาลอก ส่วนการ สร้างภาพจะเป็น 819 เส้น ด้วยอัตรารีเฟรช 25 เฟรมต่อวินาที ซึ่งจะแตกต่างจากมาตรฐาน NTCS และ PAL ในเรื่องการผลิต วิธีการแพร่ ภาพออกอากาศ และจากสาเหตุที่ระบบนี้ไม่ แตกต่างจากระบบ PAL มากนัก เครื่องรับ โทรทัศน์ในยุโรปจึงทําการพัฒนาให้สามารถใช้ งานได้ทั้งระบบ PAL และ SECAM High Definition Television (HDTV) เป็นเทคโนโลยีของการแพร่ภาพโทรทัศน์ที่ถูก พัฒนาขึ้นมา เพื่อแสดงภาพที่มีความละเอียด สูง คือ 1280x720 ซึ่งเป็นความละเอียดสําหรับ การแสดงภาพเช่นเดียวกับโรงภาพยนต์ แต่ ในขณะพัฒนานั้นได้มีการโต้เถียงกันระหว่าง กลุ่มอุตสาหกรรมโทรทัศน์กับกลุ่มอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ ว่าจะใช้ความละเอียดจอภาพเป็น 1920x1080 พิกเซล หลังจากนั้นสรุปได้ว่า ความละเอียดนี้ไม่เหมาะสม ดังนั้นมาตรฐาน HDTV จึงได้กําหนดให้มีความละเอียดของ จอภาพเป็น 1280x720
  • 17. การตัดต่อ การตัดต่อ คือการนําไฟล์หลาย ๆ ไฟล์ที่จัดเก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์มาเรียงต่อกัน โดยทํา การเลือกภาพและเสียงที่ต้องการ จากนั้นจึงทําการตกแต่งภาพ โดยการเพิ่มเติมข้อมูลต่าง ๆ เช่น สีสัน ความสวยงาม ข้อความ เพิ่มความเร็วหรือลดความเร็วในการแสดงภาพเคลื่อนไหว ลด เหลี่ยมของภาพ หรือจะทําการปรับเปลี่ยนความยาวของข้อมูลก็ได้ เช่นการตัดต่อวีดีโอด้วย Adobe Premiere ปัจจุบันการตัดต่อวีดีโอด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์จะได้งานที่มีคุณภาพดีกว่า เนื่องจากสามารถเพิ่มเทคนิคพิเศษ ปรับแต่งภาพให้สวยงามได้ จึงได้รับความนิยม แต่ผู้ที่ ต้องการตัดต่ออย่างมืออาชีพต้องไม่ลืมว่างบประมาณในการเตรียมอุปกรณ์ตัดต่อนั้นมีราคา แพง หากจะทําการตัดต่อเพื่อเพิ่มความรู้ก็ควรใช้อุปกรณ์ที่มีราคาเหมาะกับงานที่จะทํา เพื่อ ป้ องกันความสิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์
  • 20. การบีบอัดวีดีโอ เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมูล เนื่องจากมี ความต้องการที่จะย่อภาพสีโดยให้คง รายละเอียดเดิมไว้ให้มากที่สุด ซึ่งคอมพิวเตอร์ จะทําการสุ่มตัวอย่างของจุดภาพในส่วนต่าง ๆ ก่อนที่จะบีบอัดข้อมูล โดยตรวจสอบพื้นที่ว่าจะ มีสีอะไรอยู่มากที่สุด จากนั้นจะยุบพื้นที่ให้เหลือ เพียงสีที่ต้องการเพียงหนึ่งพิกเซล ซึ่ง JPEG จะถูกนํามาใช้กับภาพนิ่งที่ อัตราส่วนการบีบประมาณ 25:1, 40:1 จนถึง 100:1 เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมูลที่สามารถบีบอัด และขยายสัญญาณได้ตั้งแต่ 12:1, 5:1 และ 2:1 ทําให้ภาพที่ได้ออกมามีคุณภาพ และเป็นที่น่าพอใจ สําหรับกลุ่มผู้ผลิตงานที่ไม่ ต้องการความละเอียดมากนัก จึงเป็นระบบที่ นิยมใช้ในการ์ตัดต่อ และการ์ดแคปเชอร์ (Capture Card) แบบต่าง แต่ในปัจจุบันเริ่ม ความนิยมเนื่องจากระบบดิจิตอลของกล้อง ดิจิตอลวีดีโอเข้ามาแทนที่ เจเพ็ก (JPEG) Motion – JPEG หรือ M – JPEG
  • 21. การบีบอัดวีดีโอ เป็นเทคโนโลยีการบีบอัดและการคลายข้อมูล ซึ่งสามารถนําไปใช้กับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ หรืออย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ โดยส่วนมาก CODEC จะนิยมใช้กันในบีบอัดแบบ MPEG, Indeo และ Cinepak เป็นมาตรฐานการบีบอัดสัญญาณภาพและ เสียง โดยใช้ระบบ DCT ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กับ ระบบวีดีโอคุณภาพสูงทั่วไป จะมีความ คล้ายคลึงกับการบีบอัดข้อมูลแบบ JPEG แต่จะ ลดจํานวนข้อมูลที่ซํ้ากันของภาพต่อไปด้วย การ บีบอัดข้อมูลแบบ MPEG นี้เป็นแบบไม่ สมมาตร เนื่องจากขั้นตอนในการเข้ารหัส สัญญาณวีดีโอนานกว่าขั้นตอนการถอดรหัส ข้อมูล โดย MPEG ได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่าง ต่อเนื่องดังนี้ CODEC เอ็มเพ็ก (MPEG : Moving Picture Experts Group)
  • 22. การบีบอัดวีดีโอ MPEG-1 ใช้กับวีดีโอที่ดูตามบ้าน เป็นที่รู้จักกันดี ในชื่อ VHS ซึ่งไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดข้อมูล แบบนี้สามารถใช้เครื่องเล่น CD ทั่วไป อ่านหรือ เขียนข้อมูลได้ แต่ยังให้ภาพที่ค่อนข้างหยาบ สัญญาณสีแต่ละจุดไม่สามารถกําหนดเป็นสีที่ ถูกต้องได้ ถ้าเป็นระบบที่ใช้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ช่วยในการถอดรหัสจะแสดงภาพที่ชัดเจนได้ เต็มจอภาพ แต่ถ้าใช้ซอฟต์แวร์อย่างเดียวจะ แสดงภาพที่ชัดเจนได้เพียงครึ่งจอภาพ MPEG-2 เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ โดยเฉพาะการบีบอัดข้อมูลแบบนี้ก่อนที่ คอมพิวเตอร์จะคํานวณผลเพื่อแทนค่าจุดสีต่าง ๆ ภาพจะถูกแบ่งออกเป็นส่วน ๆ และจะคํานวณทีละ หลาย ๆ ภาพ เรียกว่า “GOP (Group of Picture) “ ซึ่งเป็นการมองภาพครั้งละ 8-24 ภาพ โดยจะดู จากภาพที่หนึ่งของ GOP เป็นหลัก จากนั้นจะทํา การเข้ารหัสภาพ แล้วมองภาพถัดไปว่ามีความ แตกต่างจากภาพแรกที่จุดใด จากนั้นจะทําการ เปรียบเทียบและเก็บเฉพาะที่แตกต่างของภาพไว้ใน เฟรมนั้น ส่วนภาพต่อไปก็ทําการเปรียบเทียบกับ ภาพติดกัน แล้วเก็บส่วนต่างไว้เช่นกัน ทําให้ สามารถลดจํานวนข้อมูลที่ต้องการเก็บ และเก็บ บันทึกข้อมูลที่ต้องการถอดรหัสได้
  • 23. การบีบอัดวีดีโอ MPEG-3 เพื่อใช้งานกับโทรทัศน์ที่มีความคมชัดสูง หรือเรียกว่า HDTV (High – Definition Television) เป็นโทรทัศน์ดิจิตอลชนิดใหม่ที่ใช้ในสหรัฐ แต่ไม่ได้ นํามาใช้งานเนื่องจากไม่ประสบความสําเร็จ MPEG-4 เป็นมาตรฐานที่ใกล้เคียงกับ Quick Time เพื่อใช้งานทางด้านมัลติมีเดียที่มีแบนด์วิดท์ (Bandwidth) ตํ่า ซึ่งสามารถรวมภาพ เสียง และ ส่วนประกอบอื่นที่คอมพิวเตอร์สร้างขึ้นได้ ที่สําคัญ MPEG-4 ได้ถูกออกแบบให้มีความสามารถในเชิง โต้ตอบกับวัตถุต่าง ๆ ในภาพได้ MPEG-7 เป็นตัวเชื่อมรายละเอียดเนื้อหามัลติมีเดีย เข้าด้วยกัน (Multimedia Content Description Interface) โดยมีจุดหมายที่จะสร้างมาตรฐานการ อธิบายข้อมูลข่าวสารของมัลติมีเดีย เพื่อใช้ในการ สนับสนุนความหมายของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ บน สื่อ Microsoft Video : ทํางานในขั้นตอนการบีบอัด ข้อมูลที่อัตราส่วนการบีบอัดตํ่าได้อย่างรวดเร็ว เหมาะสําหรับภาพที่มีความเคลื่อนไหวมาก ๆ แต่ ความละเอียดตํ่า (240x180 พิกเซล) Microsoft RLE : ใช้อัตราส่วนในการบีบอัดตํ่า เหมาะสําหรับภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ที่มีความ ชัดเจน แต่ไม่เหมาะกับงานวีดีโอ
  • 24. การบีบอัดวีดีโอ DV Format : มีการสร้างระบบการเข้ารหัสเพื่อ บันทึกเป็นสัญญาณดิจิตอลโดยตรง เพื่อใช้กับกล้อง ถ่ายวีดีโอแบบดิจิตอล ซึ่งเรียกการเข้ารหัสแบบนี้ว่า “DV Format” โดยสัญญาณที่ถูกบันทึกจะผ่านการ บีบอัดข้อมูลเรียบร้อยแล้ว สามารถส่งผ่านเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ได้โดยตรงไม่มีปัญหาการสูญเสียความ คมชัดของภาพ แต่ข้อมูลภาพดิจิตอลวีดีโอค่อนข้าง ใหญ่การส่งผ่านข้อมูลจะใช้เวลานาน จึงมีการ พัฒนามาตรฐาน IEEE หรือที่เรียกว่า “Fire Wire” มา รองรับการส่งข้อมูลแบบ DV จนกระทั่งได้กลายเป็น มาตรฐานการเชื่อมต่อสําหรับกล้องดิจิตอลวีดีโอใน ที่สุด DivX : กลุ่มโปรแกรมเมอร์ใต้ดินได้ร่วมกันพัฒนาระบบ ซอฟต์แวร์ซึ่งสามารถลดข้อมูลเหลือเพียง 10-20 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณข้อมูลเดิม และยังสามารถเปิดชม ภาพยนตร์ด้วยโปรแกรมธรรมดาได้อีกด้วย DVI : เป็นเทคโนโลยี CODEC ที่ถูกพัฒนาซึ่งมีมาตรฐาน NTST ในการแสดงภาพที่มีอัตรา 30 เฟรมต่อวินาที สามารถบันทึกและแสดงภาพวีดีโอที่มีการเคลื่อนไหวที่ สมจริงเหมือนในโทรทัศน์ แต่บางครั้งมักจะเกิดปัญหา เพราะเนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์ไม่เพียงพอ เนื่องจากสามารถ บันทึกข้อมูลได้ในปริมาณมาก ดังนั้น DVI จึงแก้ปัญหานี้ โดยการบีบอัดข้อมูลและคลายข้อมูล DVI ด้วยอุปกรณ์ที่ เป็นฮารด์แวร์ทั้งหมด
  • 25. การบีบอัดวีดีโอ Cinepak : เป็นเทคโนโลยีการบีบอัดและการ คลายข้อมูล สามารถส่งข้อมูลวีดีโอขนาด 24 บิต บนพื้นที่ขนาด 1 ต่อ 4 ของจอภาพวินโดว์ ซึ่งนิยมใช้ในรูปแบบของไฟล์วีดีโอที่เป็น *.avi โดยสามารถบีบอัดข้อมูลได้ดีแต่มีข้อเสียตรงที่ ใช้เวลานานในการบีบอัดข้อมูล Indeo : มีพื้นฐานมาจาก DVI ที่เป็นฮาร์ดแวร์ ล้วน ๆ ส่วนการเข้าและถอดรหัสของ Indeo จะ เป็นซอฟต์แวร์ทั้งหมด โดยนิยมนํามา ประยุกต์ใช้ในการประชุมด้วยภาพ
  • 27. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการผลิตวีดีโอ - acromedia Flash โปรแกรมสําหรับสร้างงานอนิเมชั่น มัลติมีเดีย งานอินเตอร์เอคทีฟ และรองรับงานออนไลน์ต่าง ๆ - Ulead Video Studio เป็นโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ Capture ภาพที่นําสัญญาณผ่านเข้ามาสามารถตัดต่อวีดีโอให้อยู่ใน ฟอร์แมต MPEG I, MPEG II, DV และ VCD ได้ - Adobe Photoshop CS โปรแกรมสําหรับตกแต่งรูปภาพ - Windows Movie Maker โปรแกรมสําหรับใช้ในการตัดต่อภาพ เป็นมัลติมีเดียสตรีมมิ่งทั้งภาพและเสียงที่ได้จากการ ตัดต่อวีดีโอ และสามารถนําเข้าไฟล์ไม่ว่าจะเป็น *.avi, *.afs, *.MPEG, *.MPG, *.MPA เป็นต้น - VirtualDub เป็นโปรแกรมที่ช่วยใส่ Feeling ต่าง ๆ ให้แก่ภาพ ช่วยในการลดเม็ดสีที่คล้ายเม็ดหิมะที่เกิดจากการตัดต่อ ภาพจาก TV หรือ TV จูนเนอร์ และสามารถทําการบีบอัดข้อมูลได้ - TMPGEnc หรือทีเอ็มเพ็ค 2 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการดัดแปลงไฟล์ VDO แบบ *.avi ให้เป็น *.MPEG ได้สามารถใช้ โปรแกรม TMPGEnc ร่วมกับ VirtualDub ได้ - Cyberlink Videolive Mail เป็นโปรแกรมที่สามารถปรับแต่งภาพ และสนับสนุนการรับชมรายการโทรทัศน์ วีดีโอ และ บันทึกรายการโทรทัศน์หรือวีดีโอที่รับชมได้ - Flash เป็นโปรแกรมสําหรับพัฒนางานรูปแบบต่าง ๆ เช่น งานวีดีโอ งานมัลติมีเดีย งานเว็บแอพพลิเคชั่น ระบบE- Learning และระบบแอพพลิเคชั่นขนาดใหญ่
  • 28. คุณภาพของวีดีโอ อัตราเฟรม (Frame Rate) คืออัตราความถี่ในการแสดงภาพ จาก Timeline ออกทางหน้าจอ อัตราที่เฟรมถูกแสดงในวีดีโอมีหน่วยเป็น เฟรมต่อวินาที (FPS ย่อมาจาก Frame Per Second เป็นหน่วยวัดปริมาณ ข้อมูลที่ใช้ในการเก็บบันทึกและแสดงวีดีโอ นอกจากนี้ยังสามารถแสดง เฟรมให้มีความต่อเนื่องในเวลาอันรวดเร็ว) โดยผู้จัดทําสามารถที่จะ กําหนดอัตราเฟรมเองได้ เช่น อัตราเฟรมของภาพยนตร์เท่ากับ 24 fps อัตราเฟรมโทรทัศน์ระบบPAL เท่ากับ 25 fps และอัตราเฟรมโทรทัศน์ ระบบ NTSC เท่ากับ 30 fps
  • 29. คุณภาพของวีดีโอ ความละเอียด (Resolution) หมายถึง ความคมชัดของภาพที่แสดงผลออก ทางจอภาพ ความละเอียดของจอภาพขึ้นอยู่กับจํานวนจุดทั้งหมดที่เกิดบน จอ จุดต่าง ๆ นี้เรียกว่า พิกเซล (Pixel) นอกจากนี้ภาพที่มีขนาดเท่ากัน บางครั้งก็อาจจะมีความละเอียดที่ต่างกันได้ เนื่องจากจํานวนพิกเซล ต่างกันจะส่งผลให้ขนาดของพิกเซลต่างกันด้วย ยิ่งความละเอียดของ จอภาพสูงจะยิ่งทําให้มองเห็นพื้นที่ใช้งานบนจอกว้างมากขึ้น แต่จะทําให้มี ขนาดเล็กลง
  • 30. รูปแบบของไฟล์วีดีโอออนไลน์ – *.rm/ *.ra/ *.ram เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท RealNetwork นิยมใช้นําเสนอข้อมูล ไฟล์ผ่านอินเตอร์เน็ตโดยใช้โปรแกรม Real Player – *.MPEG2 / *.MPEG4 เป็นฟอรแมตที่สามารถเปิดได้ด้วยโปรแกรม Windows Media Player – *.asf/ *.wmv เป็นฟอร์แมตที่คล้ายคลึงกับ *.MPEG2/ *.MPEG4 สามารถเปิดไฟล์ทั้งสองได้ ด้วยโปรแกรมWindows Media Player เช่นกัน – *.viv เป็นฟอร์แมตที่สามาถเปิดไฟล์ได้ด้วยโปรแกรม Vivo Active Player แต่ในปัจจุบันนี้ได้ เลิกใช้ไปแล้ว – *.mov เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัท Apple นิยมใช้นําเสนอข้อมูลไฟล์ผ่านอินเตอร์เน็ต โดยใช้โปรแกรมQuick Time – *.avi (Audio / Video Interleave) เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เรียกว่า Video for Windowsมีนามสกุลเป็น *.avi ปัจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมา พร้อมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player นั่นเอง
  • 31. โปรแกรมตัดต่อ – Adobe Premiere Pro: เป็นโปรแกรมตัดต่อ วิดีโอในตํานานจากค่าย Adobe เป็นที่ยอมรับ ในวงการตัดต่อวิดีโออย่างกว้างขวางมานานนับ ปี เพราะเมื่อเอ่ยชื่อก็ต้องเป็นที่รู้จัก สําหรับเจ้า ตํานานเจ้านี้เป็นโปรแกรมตัดต่อวิดีโอที่ ออกแบบเครื่องมือการใช้งานได้มาตราฐานมาก เลยทีเดียว จนเป็นต้นแบบของโปรแกรมตัดต่อ ทั่วๆไปไม่ว่าจะเป็น ตําแหน่งการ วางของ windows ต่างๆเป็นต้น สําหรับ Adobe Premiere Pro นั้นปัจจุบันออกมาหลายเวอร์ชั่น แล้ว สําหรับเวอร์ชั่นใหม่ๆได้มีการพัฒนาใน เรื่องของการใช้พลังโปรเซสเซอร์ได้เต็มที่ เช่น effect และ transition บางตัวไม่จําเป็นต้อง Render เพื่อแสดงผล Adobe Premiere Pro
  • 32. โปรแกรมตัดต่อ – Edius: เป็นโปรแกรมตัดต่อที่มีจุดเด่นมากมาย เช่น ซ้อน วาง เลเยอร์ได้มากโขทีเดียวโดยไม่ ต้อง Render มีช่วงหนึ่งที่ Premiere Pro ออกมาแรกๆทําไม่ได้แต่ Edius ทําได้ จนได้คํา ว่า“ลื่นติดมือ” กับ “เรียลไทม์เอาต์พุต” ก็ทําให้ นักตัดต่อจํานวนมากเริ่มหันมามอง EDIUS เป็น ทางเลือกใหม่กันแล้ว ยิ่ง EDIUS รุ่นต่อมามีการ ปรับปรุงอีกหลายส่วน เช่น คุณสมบัติที่ทํา ชื่อเสียงและกลายเป็นเอกลักษณ์ของ EDIUS ไปเลยก็คือ การทํางานแบบ “มัลติฟอร์แมต” ซึ่ง หมายถึงอิสระเสรีในการทํางานที่ไม่เคยมีมา ก่อน อันนี้ไม่ได้บอกว่า Premiere ไม่ดีนะครับดี กันคนละอย่างกัน ครับปรแกรม EDIUS เป็นที่ รู้จักและนิยมอย่างรวดเร็วในวงการเลยทีเดียว ซึ่งโปรแกรมนี้ใช้ตัดต่อในหลายสตูดิโอ ใช้งาน ง่าย การปรับแต่ง effect ไม่ยาก ย่อภาพ, ขยาย ภาพ, ภาพวิ่ง, ทําไตเติ้ล
  • 33. โปรแกรมตัดต่อ – Sony Vegas: โปรแกรมตัดต่อแบบโฮมยูส แต่ เทียบชั้นระดับอาชีพมากับ Effect ที่น่าสนใจใน ตัวเอง ตอนแรกๆก็ไม่ได้สนใจหรอกครับ ยังดู ถูกว่ามันกระจอกด้วยซํ้า เพราะเราก็ตัดพวก โปรแกรมไหญ่ๆมาก่อน Final Cur Pro แบบนี้ แต่เราสําคัญผิดถนัดเลย มันเป็นโปรแกรมที่ ยอดมาก แบบว่า เอฟเฟคเจ๋งๆ ทรานซิชั่นสวยๆ แล้ว Render น้อยมาก และที่แน่ๆจัด ทํา Karaoke ไปหลายเจ้าแว้วครับ Sony Vegas หน้าตาการใช้งานไม่เหมือนโปรแกรมระดับโปร แต่คุณภาพเทียบชั้นเลย อินเตอร์เฟส เครื่องมือ นั้นเน้นลากใส่ๆไม่ต้องปรับแต่งอะไรมากแต่ดู สวยครับเอาหัวเป็นประกัน เหมาะสําหรับคนที่ อยากจะตัดต่อเป็นงานอดิเรกจริงๆครับ หรือจะ ตัดเป็นอาชีพก็ไม่ว่าถ้ามีการ์ดตัดต่อดีดีอย่าง Black Magic
  • 34. โปรแกรมตัดต่อ – Sony Vegas: โปรแกรมตัดต่อแบบโฮมยูส แต่ เทียบชั้นระดับอาชีพมากับ Effect ที่น่าสนใจใน ตัวเอง ตอนแรกๆก็ไม่ได้สนใจหรอกครับ ยังดู ถูกว่ามันกระจอกด้วยซํ้า เพราะเราก็ตัดพวก โปรแกรมไหญ่ๆมาก่อน Final Cur Pro แบบนี้ แต่เราสําคัญผิดถนัดเลย มันเป็นโปรแกรมที่ ยอดมาก แบบว่า เอฟเฟคเจ๋งๆ ทรานซิชั่นสวยๆ แล้ว Render น้อยมาก และที่แน่ๆจัด ทํา Karaoke ไปหลายเจ้าแว้วครับ Sony Vegas หน้าตาการใช้งานไม่เหมือนโปรแกรมระดับโปร แต่คุณภาพเทียบชั้นเลย อินเตอร์เฟส เครื่องมือ นั้นเน้นลากใส่ๆไม่ต้องปรับแต่งอะไรมากแต่ดู สวยครับเอาหัวเป็นประกัน เหมาะสําหรับคนที่ อยากจะตัดต่อเป็นงานอดิเรกจริงๆครับ หรือจะ ตัดเป็นอาชีพก็ไม่ว่าถ้ามีการ์ดตัดต่อดีดีอย่าง Black Magic
  • 35. สรุป หลักการของการตัดต่อ คือ 1. เสียงและภาพนั้นคือส่วนที่เสริมซึ่งกันและกัน 2. ภาพใหม่ควรให้ข้อมูลใหม่ 3. ควรมีเหตุผลสําหรับทุกภาพที่ตัด 4. ให้ระวังเรื่อง “การข้ามเส้น” 5. เลือกแบบการตัดที่เหมาะสมกับเรื่อง 6. ยิ่งตัดต่อดี ยิ่งดูลื่นไหล 7. การตัดคือการสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่