SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8. 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
แผนบูรณาการอาเซียนศึกษา
2 
ตารางที่ 1 จานวนคาบที่สอนและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 
เนื้อหา 
จานวนคาบ 
ที่สอน 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
1. แบบรูปและความสัมพันธ์ 
2. คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น 
ตัวแปรเดียว 
3 
1 
6 
5 
แผนที่ 1 (1 คาบ) 
แผนที่ 2 (2 คาบ) 
แผนที่ 3 (1 คาบ) 
แผนที่ 4 (2 คาบ) 
แผนที่ 5 (2 คาบ) 
แผนที่ 6 (1 คาบ) 
แผนที่ 7 (1 คาบ) 
แผนที่ 8 (2 คาบ) 
แผนที่ 9 (2 คาบ) 
แผนที่ 10 (1 คาบ) 
รวม 
15 คาบ 
10 แผน
3 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4 
คาชี้แจง 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 เป็นแผนที่เขียนรวมกันทั้งกลุ่มทดลอง และกลุ่ม ควบคุม โดยมีองค์ประกอบต่างๆของแผนที่เหมือนกัน คือ สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การมอบหมายงาน ข้อคิด และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับกิจกรรม การเรียนรู้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนา ขั้นสอน และขั้นสรุป โดยจัดให้กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมมีขั้นนา และขั้นสรุปเหมือนกัน แตกต่างกันเฉพาะขั้นสอน ซึ่งกลุ่มทดลองครูใช้ ขั้นสอนที่เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์ตามแนวคิดของเชฟฟิวด์ กลุ่มควบคุมใช้ขั้นสอนแบบปกติตาม คู่มือครู 
ผู้วิจัยดาเนินการเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่กล่าวนี้เพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ ชัดเจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย 
ผู้วิจัยสรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนเป็นแผนผัง ดังนี้
5 
แผนผังที่ 3 สรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอน 
สาระสาคัญ 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
สาระการเรียนรู้ 
สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
การวัดและประเมินผล 
การมอบหมายงาน 
ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ 
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นนา 
ขั้นสอน 
สาหรับกลุ่มทดลอง 
ขั้นสอน 
สาหรับกลุ่มควบคุม 
ผู้วิจัยอธิบายขั้นสอนสาหรับทั้ง 2 กลุ่ม และสรุปเป็น 
ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น 
การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 
ขั้นสรุป 
กิจกรรมการเรียนรู้
6 
ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 2 ชั่วโมง 
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 
สาระที่ 4 พีชคณิต 
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ 
ตัวชี้วัด 
ม 1/1 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย 
ม 1/2 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์หรือปัญหาอย่างง่าย 
สาระสาคัญ 
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
มีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายที่สามารถใช้สมการช่วยในการแก้ปัญหา โดยเริ่มจาก การเขียนความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการหาให้อยู่ในรูปของสมการ แล้วจึงแก้สมการหาคาตอบของ สิ่งที่ต้องการ สรุปขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาสมการได้ดังนี้ 
1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้ และโจทย์ต้องการให้หาอะไร 
2. กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ต้องการ 
3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ 
4. แก้สมการเพื่อหาคาตอบที่โจทย์ต้องการ 
5. ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์ 
ดังนั้นเราจึงควรรู้จักเขียนสมการเพื่อหาคาตอบของโจทย์ปัญหา 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 
1. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่ายได้ 
2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากโจทย์ปัญหาสมการที่กาหนดให้ได้ 
3. หาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาสมการได้
7 
4. นักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงินจากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง ในกลุ่มประเทศอาเซียนได้ 
ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนสามารถ 
1. เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
2. ตั้งปัญหาย่อยจากปัญหาที่กาหนดให้เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และตั้งปัญหาใหม่ที่น่าสนใจในการสารวจตรวจค้น เมื่อสามารถ แก้ปัญหาแรกเริ่มได้แล้ว 
3. ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย ขยายความ และสร้าง แนวคิดในการหาคาตอบตามที่โจทย์กาหนดได้อย่างชัดเจน และถูกต้อง 
ด้านคุณลักษณะ นักเรียน 
1. มีความร่วมมือในการทากิจกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมกลุ่มย่อย 
2. ตั้งใจ สนใจและมีความกระตือรือร้นในการเรียน 
3. ทางานอย่างมีระบบ ระเบียบ รอบคอบ 
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 
5. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานตรงต่อเวลา 
สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่ 
1.ความสามารถในการสื่อสาร 
1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 
1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 
2.ความสามารถในการคิด 
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
8 
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 
3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ 
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 
3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา 
3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย 
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 
2.ซื่อสัตย์สุจริต 
3.มีวินัย 
4.ใฝ่หาความรู้ 
5.อยู่อย่างพอเพียง 
6.มุ่งมนั่ในการทางาน 
7.รักความเป็นไทย 
8.มีจิตสาธารณะ 
สาระการเรียนรู้ 
ตัวอย่างที่1 5 เท่าของเลขจานวนหนงึ่มากกว่า 3 อยู่ 7 
วิธีทา ให้ x แทนเลขจานวนหนึ่ง 
จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7 
นา 3 บวกทัง้สองข้างของสมการ 
5x – 3 + 3 = 7 + 3 
5x = 10 
นา 
5 
1 คูณทัง้สองข้างของสมการ 
5 
1  5x = 
5 
1 
10 
x = 2 
ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7 
5(2) – 3 = 7 
7 = 7 สมการเป็นจริง 
ดังนัน้ เลขจานวนนัน้คือ 2
9 
ตัวอย่างที่2 แม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายจานวนหนงึ่ วันแรกขายได้ครึ่งหนึ่งของที่ซือ้มา วันที่สอง 
ขายได้อีก 
5 
3 ของจานวนมะม่วงที่เหลือจากวันแรก ถ้าวันที่สองขายมะม่วงได้ 111 ผล ให้หา 
ว่าแม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายทัง้หมดกี่ผล 
วิธีทา สมมติซือ้มะม่วงมาทัง้หมด ผล 
วันแรกขายได้ 
2 
x ผล 
วันที่สองขายได้ 
5 
3 ของที่เหลือ 
10 
3 
5 2 
3 x x 
  ผล 
เนื่องจากวันที่สองขายได้ 111 ผล 
จะได้ 111 
10 
3 
 
x 
370 
3 
1,110 
1,110 
3 111 10 
 
 
 
  
x 
x 
ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 370 ในสมการ 111 
10 
3 
 
x 
111 
10 
3(370) 
 
111 = 111 สมการเป็นจริง 
ดังนัน้ ซือ้มะม่วงมาทัง้หมด 370 ผล 
กิจกรรมการเรียนรู้ 
ขั้นนา (ใช้เหมือนกันทัง้ 2 กลุ่ม) 
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับการหาคาตอบของสมการโดยใช้เกมจับคู่ 
สมการ (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก) 
ขั้นสอน 
ผู้วิจัยเสนอเป็นตารางเปรียบเทียบขัน้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น 
การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ทัง้นีผู้้วิจัยได้ใช้กลวิธีส่งเสริม 
ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ตามคาแนะนาของเชฟฟิวด์แทรกในขัน้สอนตามความเหมาะสม 
กับกลุ่มทดลอง
10 
ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบ ฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
ขั้นสอน 
1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ 
1.1 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 1 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาประกอบ การถามตอบ และอภิปรายร่วมกับ นักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ 
- จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดง อายุปัจจุบันของคนซึ่งเกี่ยวข้องกับบี้ ได้อย่างไร 
พร้อมทั้งสุ่มนักเรียนบางคนออกมา แสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนดหน้า กระดาน แล้วให้นักเรียนคนอื่นร่วมแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของเพื่อน 
(กลวิธีชนิดการวิเคราะห์โครงสร้าง การเสริมความตั้งใจ และ การแสดงออก) 
1.2 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 2 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาประกอบ การถามตอบ และอภิปรายร่วมกับ นักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ 
- โจทย์กาหนดอะไรบ้าง 
- โจทย์ให้หาอะไร 
- จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของ โจทย์ปัญหานี้ 
- หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายขึ้น 
ขั้นสอน 
1. ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 1 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดา ประกอบ การถามตอบ และอภิปราย ร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ 
- โจทย์กาหนดอะไรบ้าง 
- โจทย์ให้หาอะไร 
- จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของ โจทย์ปัญหานี้ 
- หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายโดยเขียน เป็นสมการแล้วหาคาตอบของสมการ นั้น สมการของโจทย์ปัญหานี้เขียนได้ อย่างไร? 
- มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้างสมการ ของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น 
พร้อมทั้งสุ่มนักเรียนบางคนออกมา แสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนด หน้ากระดาน แล้วให้นักเรียนคนอื่นร่วม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของ เพื่อน 
2. ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการของ โจทย์ตัวอย่างจากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาอย่างเป็นขั้นตอน โดย ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
11 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
โดยเขียนเป็นสมการแล้วหาคาตอบ ของสมการนั้น สมการของโจทย์ ปัญหานี้เขียนได้อย่างไร? 
- มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้าง สมการของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น 
- ข้อมูลที่โจทย์ให้มาสามารถเขียนโยง ความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง 
1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการโจทย์ ตัวอย่างที่ 2 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานอย่างเป็นขั้นตอน โดย ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 
2. ขั้นสารวจตรวจค้น 
2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ ความสามารถทั้งแดน กลาง และอ่อน แล้ว ร่วมกันศึกษาตัวอย่าง และทากิจกรรม สารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คาคะแนน เป็นทีมทั้งคะแนนจากการตอบคาถามในใบ กิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการ ทางานกลุ่ม (กลวิธีชนิดการระดมสมอง และการเสริมความตั้งใจ) 
2.2 ครูกระตุ้นและแนะนาให้นักเรียนคิด อย่างอิสระโดยใช้หลายๆวิธีใน การเชื่อมโยงข้อมูลที่โจทย์ให้ แล้วสรุป เป็นวิธีของกลุ่มตามที่แต่ละคนสนใจ หรือตามความถนัด (กลวิธีชนิด การเสริมความตั้งใจ) 
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ ความสามารถทั้งแดน กลาง และอ่อน แล้วร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา โดยมีคะแนนเป็นทีมทั้ง คะแนนจากการตอบคาถามในใบกิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการทางาน กลุ่ม (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 
4. ครูกระตุ้น ให้กาลังใจ และแนะนาให้ นักเรียนแสดงความคิดอย่างอิสระ สมาชิกทุกคนควรแสดงความคิดเห็น ของตนโดยไม่ต้องกังวลเรื่องคิดวิธีผิด แล้วหาคาตอบไม่ได้ และยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น แล้วสรุปเป็นวิธี ของกลุ่ม (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 
5. ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียน ตรวจสอบคาตอบ และประเมิน ความถูกต้องของแนวคิด ขั้นตอน วิธีการคิด รวมทั้งพิจารณา ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ โดยใช้คาถามต่างๆ เช่น 
- การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็น ประโยคสัญลักษณ์ในรูปของสมการ ถูกต้องหรือไม่ 
- คาตอบที่ได้เป็นคาตอบที่ถูกต้อง หรือไม่ 
- คาตอบนั้นสมเหตุสมผลหรือไม่
12 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร 
3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียน ตรวจสอบคาตอบ และประเมิน ความถูกต้องของแนวคิด ขั้นตอนวิธีการ คิดรวมทั้งพิจารณาความสมเหตุสมผลของ คาตอบที่ได้ โดยเน้นย้าให้นักเรียน สารวจหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ กาหนดให้ แล้วจัดข้อมูลและการคิดให้ เป็นระบบ โดยใช้คาถามต่างๆ เช่น 
- การโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ โจทย์กาหนดถูกต้อง เป็นระบบ และ ครบถ้วนหรือไม่ 
- การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยค สัญลักษณ์ในรูปของสมการถูกต้องหรือไม่ 
(กลวิธีชนิดการเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆ การคิดย้อนกลับ สแคมเปอร์และ การเสริมความตั้งใจ) 
3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อ ประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของกลุ่ม ตนเอง โดยกาหนดเวลาประมาณ 5-10 นาที (กลวิธีชนิดการระดมสมอง) 
3.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ แนวคิดหน้าห้อง (กลวิธีชนิด การแสดงออก) 
3.4 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาใน กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียน อาสาออกมาแสดงวิธีคิดของตน 
6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อ ประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของ กลุ่มตนเอง โดยกาหนดเวลาประมาณ 5-10 นาที (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 
7. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ แนวคิดหน้าห้อง (เหมือนกับกลุ่ม ทดลอง) 
8. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาใน กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียน อาสาออกมาแสดงวิธีคิดของตน และเปิด โอกาสให้เพื่อนคนอื่นร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน 
ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกมาอภิปรายตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่น แสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน โดย ไม่ต้องกังวลเรื่องความถูกผิดของ ความคิด (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 
9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันใน ประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสมกันสถานการณ์ ใดบ้าง (เหมือนกับกลุ่มทดลอง)
13 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
และให้เพื่อนคนอื่นร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน 
ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา อภิปรายตามความเหมาะสม และครูคอย ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดง ความคิดกับผลงานของเพื่อน โดยไม่ต้อง กังวลเรื่องความถูกผิดของความคิด (กลวิธีชนิดการเสริมความตั้งใจ) 
3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันใน ประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสมกันสถานการณ์ใดบ้าง 
(กลวิธีชนิดการตรวจสอบรายการ และ การแสดงออก) 
3.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะแนวคิด ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามความเหมาะสม หรือซักถามประเด็นที่น่าสนใจและ เกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิด ต่อเนื่องจากปัญหาที่พบในกิจกรรมตามความ เหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้ นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงาน ของเพื่อน (กลวิธีชนิดการมอง และ การจินตนาการถึง) 
4. ขั้นความคิดสร้างสรรค์ 
4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกัน ทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา และกิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงิน 
10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะ แนวคิดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตาม ความเหมาะสม หรือซักถามประเด็นที่ น่าสนใจและเกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้น ให้นักเรียนคิดต่อเนื่องจากปัญหาที่พบใน กิจกรรม (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 
11. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกันทา กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา(เหมือนกับกลุ่มทดลอง) โดยครู แนะนาให้นักเรียนใช้เทคนิคต่างๆ ตาม ความถนัด หรือ ความสนใจของ สมาชิกในกลุ่ม โดยกาหนดเวลาในการ คิดระดมสมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดยครูแจ้งว่าถ้ากลุ่มใดคิดเสร็จก่อนเวลา ให้ส่งตัวแทนกลุ่มมารับกระดาษขาวเทา ขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงาน 
12. เมื่อครบกาหนดเวลาครูแจกกระดาษขาว เทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ (เหมือนกับ กลุ่มทดลอง)
14 
กลุ่มทดลอง 
(เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) 
กลุ่มควบคุม 
(แบบปกติ) 
อาเซียน โดยครูแนะนาให้นักเรียนใช้เทคนิค ต่างๆ เช่น การคิดย้อนกลับจากคาตอบไป ยังโจทย์ปัญหา โดยกาหนดเวลาในการคิด ระดมสมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดย ครูแจ้งว่าถ้ากลุ่มใดคิดเสร็จก่อนเวลาให้ ส่งตัวแทนกลุ่มมารับกระดาษขาวเทา ขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงาน(กลวิธีชนิดการ เปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆ การคิดย้อนกลับ สแคมเปอร์ และการเสริมความตั้งใจ) 
4.2 เมื่อครบกาหนดเวลา ครูแจกกระดาษ ขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่น ป้ายนาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ 
4.3 ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงาน หน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้ว ให้นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือ แสดงความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่มเจ้าของผลงานเฉลย คาตอบ และแนวคิด (กลวิธีชนิด การแสดงออก) 
13. ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงาน หน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้วให้นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่มเจ้าของ ผลงานเฉลยคาตอบ และแนวคิด (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 
ขั้นสรุป (ใช้เหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม) 
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ ในรูปของสมการ 
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิด และขั้นตอนการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องและ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ 
3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 9 เป็นการบ้าน ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้จาก www.pookpikschool.wordpress.com
15 
สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
- กิจกรรมเกมจับคู่สมการ 
- เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อยโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
- เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา 
- เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
- Website.www.pookpikschool.wordpress.com 
การวัดและประเมินผล 
การวัดผล 
การประเมินผล 
1. สังเกตการตอบคาถาม อภิปรายในชั้นเรียนและ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม 
2. ความถูกต้องในการทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 
3. การนาเสนอแนวคิดของของตนเองและของกลุ่ม 
4. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 
5. ทางานถูกต้องเป็นระเบียบเรียบร้อย และเป็นระบบ 
6. ส่งงานตรงต่อเวลา 
7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
- ด้านความสามารถในการสื่อสาร 
- ความสามารถในการคิด 
- ความสามารถในการแก้ปัญหา 
8. คุณลักษะอันพึงประสงค์ 
การมอบหมายงาน 
- ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 9 เป็นการบ้าน
16 
แหล่งการเรียนรู้ 
- ห้องสมุด 
- ห้องอาเซียนศึกษากลุ่มสาระการเยนรู้สังคมศึกษา 
- ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของ โรงเรียน เป็นต้น 
- Website.www.pookpikschool.wordpress.com และwebsiteอื่นๆ 
ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ 
- ครูควรยกตัวอย่างประกอบตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และ พฤติกรรมการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนอ่อนอาจยกตัวอย่างและพูดแนะนามากกว่า นักเรียนที่แดน และสาหรับนักเรียนแดนครูควรกระตุ้น ท้าทายให้นักเรียนคิดหา คาตอบหลายๆวิธี 
- ในการทากิจกรรมในแต่ละขั้นครูควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อคอยให้ คาปรึกษาและชี้แนะในกรอบที่เหมาะสม ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการเรียนรู้ ของนักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ และเป็นข้อมูลในการวัดประเมิน 
- ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆในระหว่างที่ครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นอย่างกว้างขวาง 
- หากครูพบว่ามีข้อบกพร่องในกิจกรรมบางขั้น ควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในครั้งต่อไปโดย ยึดหลักผู้เรียนเป็นสาคัญ 
บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
คุณภาพผลงานของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบ ฮิวริสติกส์มีพัฒนาการในทิศทางที่ดีขึ้นเป็นลาดับ มีคุณภาพมากขึ้น การเขียนอธิบายกระชับ เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น การอธิบายวิธีคิดเป็นลาดับและขั้นตอนที่ชัดเจนมากขึ้น นักเรียนใช้การเขียน โยงความคิดหลากหลายแนวทาง และลักษณะคาตอบมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน 
นักเรียนเกือบทั้งห้องคือประมาณ 90% กระตือรือร้นในการทากิจกรรมทั้งกิจกรรม รายบุคคล กิจกรรมกลุ่มย่อย ตลอดกิจกรรมอภิปรายรวมกันทั้งเรียน นักเรียนเริ่มขอเสนอให้ครู สั่งงานในรูปแบบที่ตนเองสนใจ เช่น นักเรียนขอแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับสมการ ขอให้ครูจัด เกมสมการที่ออกไปใช้สถานที่นอกห้องเรียน ขอแต่งเพลงสมการประกอบท่าเต้น เป็นต้น
17 
ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 
ประกอบด้วย 
1. เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
2. เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา 
3 กิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน 
4 เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
5 แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน 
6 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
18 
เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชงิเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเก่ยีวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
ตัวอย่างที่1 5 เท่าของเลขจานวนหนงึ่มากกว่า 3 อยู่ 7 
วิธีทา ให้ x แทนเลขจานวนหนึ่ง 
จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7 
นา 3 บวกทัง้สองข้างของสมการ 
5x – 3 + 3 = 7 + 3 
5x = 10 
นา 
5 
1 คูณทัง้สองข้างของสมการ 
5 
1  5x = 
5 
1 
10 
x = 2 
ตรวจคาตอบ ................................................................................................................ 
.......................................................................................................................................... 
…………………………………………………………………………………………………….. 
ตัวอย่างที่2 แม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายจานวนหนงึ่ วันแรกขายได้ครึ่งหนึ่งของที่ซือ้มา วันที่สอง 
ขายได้อีก 
5 
3 ของจานวนมะม่วงที่เหลือจากวันแรก ถ้าวันที่สองขายมะม่วงได้ 
111 ผล ให้หาว่าแม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายทัง้หมดกี่ผล 
วิธีทา สมมติซือ้มะม่วงมาทัง้หมด ผล 
วันแรกขายได้ 
2 
x ผล 
วันที่สองขายได้ 
5 
3 ของที่เหลือ 
10 
3 
5 2 
3 x x 
  ผล 
เนื่องจากวันที่สองขายได้ 111 ผล 
จะได้ 111 
10 
3 
 
x 
370 
3 
1,110 
1,110 
3 111 10 
 
 
 
  
x 
x
19 
ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 370 ในสมการ 111 
10 
3 
 
x 
111 
10 
3(370) 
 
111 = 111 สมการเป็นจริง 
ดังนัน้ ซือ้มะม่วงมาทัง้หมด 370 ผล 
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………
20 
กิจกรรมสา รวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา 
ช่อืกลุ่ม............................................ 
ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... 
ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... 
ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... 
ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... 
ตอนท่1ี พระอะไร ?? มีหนวด 
คำชี้แจง : จงหาคาตอบของสมการข้อต่อไปนี้ แล้วนาพยัญชนะหรือสระท้ายที่อยู่ท้ายคาตอบที่ 
ได้มาเรียงกันตามลาดับตัง้แต่ข้อ 1-10 จะพบกับคาตอบของปริศนา พระอะไร??มีหนวด 
1. สองเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับ 10 มีค่าเท่ากับ 22 a. 13 ( ะ ) 
2. 5x + 6 =16 b. -30 ( ะ) 
3. -10 + x = 20 c. 15 ( จ ) 
4. - 2 = 12 
3 
2x d. -5 ( ต ) 
5. 7x +8 = 5x + 6 e. -25 ( โ ) 
6. ผลรวมของเลขคู่สองจานวนเรียงกันมีค่าเป็น 10 จงหาจานวนน้อย f. 6 (พ ) 
7. 0.5x + 25 = 32 g. -1 ( ะ ) 
8. 2x = 3(x - 5) h. 14 ( เ ) 
9. พ่อมีอายุเป็น 6 เท่าของลูก ถ้าปีหน้าพ่อจะมีอายุครบ 31 ปี i. 5 ( ๗ ) 
ปัจจุบันลูกอายุกี่ปี j. 2 ( ร ) 
10. x +5 = 2(x - 4) k. -14 ( อ ) 
l. 21 ( น ) 
m. -2 ( า ) 
n. 4 ( เ ) 
พระมีหนวด คือ .....................................................
21 
กิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลสกุลเงินของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใช้เวลา 5-10 นาที จากนั้นครูจะชูป้ายสมมติสถานการณ์ ถามนักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงิน จากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง เช่น 
สถานการณ์ที่ 1 ยายมะลิขายตะกร้าหวายในราคา 1,500 บาท ให้นายงวน ชาว พม่า นายงายต้องจ่ายเงินเท่าไรในหน่วยสกุลเงินของประเทศตนเอง 
สถานการณ์ที่ 2 หม่องคะยองเช่าบัสปรับอากาศในราคา 60,000 จ๊าด เดินทางไป ประเทศลาว และต้องจ่ายเงินที่ปลายทางเป็น 2 เท่าของค่ารถต้นทาง หม่องคะยองจะต้อง จ่ายเงินเท่าไร 
ข้อมูลข่าวสาร 
สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน 
1. บรูไน ดารุสซาลาม 
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์ บรูไน, 25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอล ล่าร์บรูไน และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
22 
2. ราชอาณาจักรกัมพูชา 
ใช้สกุลเงิน เรียล 
อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล , 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล 
3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 
ใช้สกุลเงิน รูเปียห์ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
23 
4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 
ใช้สกุลเงิน กีบ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ 
5. มาเลเซีย 
ใช้สกุลเงิน ริงกิต 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
24 
6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า 
ใช้สกุลเงิน จ๊าด 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด 
7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 
ใช้สกุลเงิน เปโซ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
25 
8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ 
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 50 ดอล ล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 
9. ราชอาณาจักรไทย 
ใช้สกุลเงิน บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
26 
10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 
ใช้สกุลเงิน ด่ง 
อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง, 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2556 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็น ประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน
27 
แบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชงิเส้นตัวแปรเดียว 
เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเก่ยีวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 
จงแสดงวิธีคิด เขียนสมการและหาคา ตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 
1.สารละลายชนิดหนงึ่จานวน 18 ลิตร มีแอลกอฮอล์ 55% สว่นที่เหลือเป็นนา้ ถ้าต้องการให้ 
สารละลายนีมี้แอลกอฮอล์ 15% จะต้องเติมนา้ลงไปกี่ลิตร 
วิธีคิด 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
สรุปคาตอบ 
……………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………….……………………… 
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………
28 
2. .ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษมีสองฉบับ ฉบับที่หนึ่งมี 40 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน ฉบับที่สองมี 30 ข้อ 
ข้อละ 1 คะแนน พีระทาข้อสอบฉบับที่หนึ่งได้คะแนน 75% จะต้องทาฉบับที่สองถูกกี่ข้อ จึงจะได้ 
คะแนนรวมสองฉบับเป็น 80% 
วิธีคิด 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
สรุปคาตอบ 
……………………………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………….……………………… 
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………………
29 
3.. การสอบวิชาฟิสิกส์อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาค เป็น 60 : 40 สันติทาคะแนน ระหว่างภาคได้ 85% สันติจะต้องสอบปลายภาคให้ได้กี่คะแนนจึงจะได้คะแนนรวมเป็น 83 คะแนน 
วิธีคิด 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………… 
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
30 
4.. สูตรทาขนมชั้นชนิดหนึ่งต้องใช้แป้ง 2 กิโลกรัม ผสมกับน้าตาล 4 ถ้วยตวง ถ้าต้องให้ส่วนผสม ของน้าตาลเป็น 6 ถ้วยตวง ต้องใช้แป้งปริมาณเท่าใดรสชาติจึงจะคงเดิม 
วิธีคิด 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 
ตรวจคาตอบ 
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………… 
วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ 
………………………...……………………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
31 
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
ชื่อ........................................นามสกุล..............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่........... 
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
สมรรถนะด้าน 
รายการประเมิน 
ระดับคุณภาพ 
ดีมาก 
(3) 
ดี 
(2) 
พอใช้ 
(1) 
ปรับปรุง 
(0) 
1. ความสามารถ 
ในการสื่อสาร 
1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษา อย่างเหมาะสม 
1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 
1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผล และถูกต้อง 
รวม 
สรุปผลการประเมิน 
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ 
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน 
เกณฑ์การสรุปผล 
ดีมาก 13-15 คะแนน 
ดี 9-12 คะแนน 
พอใช้ 1-8 คะแนน 
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
32 
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
ชื่อ.......................................นามสกุล.............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............. 
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
สมรรถนะด้าน 
สมรรถนะด้าน 
ระดับคุณภาพ 
ดีมาก 
(3) 
ดี 
(2) 
พอใช้ 
(1) 
ปรับปรุง 
(0) 
2. ความสามารถ 
ในการคิด 
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่าง สร้างสรรค์ 
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 
2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่าง เหมาะสม 
รวม 
สรุปผลการประเมิน 
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ 
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน 
เกณฑ์การสรุปผล 
ดีมาก 13-15 คะแนน 
ดี 9-12 คะแนน 
พอใช้ 1-8 คะแนน 
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
33 
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
ชื่อ.........................................นามสกุล..........................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............ 
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
สมรรถนะด้าน 
รายการประเมิน 
ระดับคุณภาพ 
ดีมาก 
(3) 
ดี 
(2) 
พอใช้ 
(1) 
ปรับปรุ ง 
(0) 
3. ความสามารถ 
ในการแก้ปัญหา 
3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ เผชิญได้ 
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 
3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ในสังคม 
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ควมรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา 
3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย 
รวม 
สรุปผลการประเมิน 
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ 
ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 
ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน 
เกณฑ์การสรุปผล 
ดีมาก 13-15 คะแนน 
ดี 9-12 คะแนน 
พอใช้ 1-8 คะแนน 
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
34 
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ 
โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 
ภาคเรียนที่ ................... ปีการศึกษา .......................... 
ชื่อ-สกุลนักเรียน......................................................... ห้อง....................... เลขที่................ 
คาชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / 
ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน 
คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ 
รายการประเมิน 
ระดับคะแนน 
3 
2 
1 
0 
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 
1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ 
1.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 
1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 
2.ซื่อสัตย์สุจริต 
2.1 ปฏิบัติตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 
2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง 
2.3 ประพฤติ ปฏิบัติตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น 
3. มีวินัย 
3.1 เข้าเรียนตรงเวลา 
3.2 แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ 
3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง 
4. ใฝ่หาความรู้ 
4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 
4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 
4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 
5.อยู่อย่าง 
พอเพียง 
5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 
6. มุ่งมั่นในการ 
ทางาน 
6.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 
6.2มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 
7.รักความเป็น 
ไทย 
7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
35 
คุณลักษณะ 
อันพึงประสงค์ 
รายการประเมิน 
ระดับคะแนน 
3 
2 
1 
0 
8.มีจิตสาธารณะ 
8.1 รู้จักการให้เพื่อส่วนรวม และเพื่อผู้อื่น 
8.2 แสดงออกถึงการมีน้าใจหรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น 
8.3 เข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมื่อมีโอกาส 
ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน 
(................................................) 
........... /................./........... 
เกณฑ์การให้คะแนน 
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน 
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน 
- พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน

More Related Content

What's hot

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ wan Jeerisuda
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือแผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือpoundspk
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมPrincess Mind
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือแผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 

Similar to แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา

แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)Jirathorn Buenglee
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 

Similar to แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา (20)

แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาJirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นJirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นJirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (20)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 

แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แผนบูรณาการอาเซียนศึกษา
  • 2. 2 ตารางที่ 1 จานวนคาบที่สอนและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว เนื้อหา จานวนคาบ ที่สอน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. แบบรูปและความสัมพันธ์ 2. คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3 1 6 5 แผนที่ 1 (1 คาบ) แผนที่ 2 (2 คาบ) แผนที่ 3 (1 คาบ) แผนที่ 4 (2 คาบ) แผนที่ 5 (2 คาบ) แผนที่ 6 (1 คาบ) แผนที่ 7 (1 คาบ) แผนที่ 8 (2 คาบ) แผนที่ 9 (2 คาบ) แผนที่ 10 (1 คาบ) รวม 15 คาบ 10 แผน
  • 3. 3 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
  • 4. 4 คาชี้แจง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 เป็นแผนที่เขียนรวมกันทั้งกลุ่มทดลอง และกลุ่ม ควบคุม โดยมีองค์ประกอบต่างๆของแผนที่เหมือนกัน คือ สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การมอบหมายงาน ข้อคิด และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับกิจกรรม การเรียนรู้ผู้วิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนา ขั้นสอน และขั้นสรุป โดยจัดให้กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมมีขั้นนา และขั้นสรุปเหมือนกัน แตกต่างกันเฉพาะขั้นสอน ซึ่งกลุ่มทดลองครูใช้ ขั้นสอนที่เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์ตามแนวคิดของเชฟฟิวด์ กลุ่มควบคุมใช้ขั้นสอนแบบปกติตาม คู่มือครู ผู้วิจัยดาเนินการเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามที่กล่าวนี้เพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ ชัดเจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยสรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนเป็นแผนผัง ดังนี้
  • 5. 5 แผนผังที่ 3 สรุปองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอน สาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การมอบหมายงาน ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ขั้นสอน สาหรับกลุ่มทดลอง ขั้นสอน สาหรับกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยอธิบายขั้นสอนสาหรับทั้ง 2 กลุ่ม และสรุปเป็น ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ขั้นสรุป กิจกรรมการเรียนรู้
  • 6. 6 ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ผู้สอน นางสาวนวลทิพย์ นวพันธุ์ จานวน 2 ชั่วโมง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ ตัวชี้วัด ม 1/1 แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย ม 1/2 เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์หรือปัญหาอย่างง่าย สาระสาคัญ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว มีปัญหาในชีวิตประจาวันมากมายที่สามารถใช้สมการช่วยในการแก้ปัญหา โดยเริ่มจาก การเขียนความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการหาให้อยู่ในรูปของสมการ แล้วจึงแก้สมการหาคาตอบของ สิ่งที่ต้องการ สรุปขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหาสมการได้ดังนี้ 1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่าโจทย์กาหนดอะไรมาให้ และโจทย์ต้องการให้หาอะไร 2. กาหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่โจทย์ต้องการ 3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ 4. แก้สมการเพื่อหาคาตอบที่โจทย์ต้องการ 5. ตรวจสอบคาตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์ ดังนั้นเราจึงควรรู้จักเขียนสมการเพื่อหาคาตอบของโจทย์ปัญหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 1. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแทนสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่ายได้ 2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากโจทย์ปัญหาสมการที่กาหนดให้ได้ 3. หาคาตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาสมการได้
  • 7. 7 4. นักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงินจากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง ในกลุ่มประเทศอาเซียนได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนสามารถ 1. เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2. ตั้งปัญหาย่อยจากปัญหาที่กาหนดให้เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และตั้งปัญหาใหม่ที่น่าสนใจในการสารวจตรวจค้น เมื่อสามารถ แก้ปัญหาแรกเริ่มได้แล้ว 3. ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ในการอธิบาย ขยายความ และสร้าง แนวคิดในการหาคาตอบตามที่โจทย์กาหนดได้อย่างชัดเจน และถูกต้อง ด้านคุณลักษณะ นักเรียน 1. มีความร่วมมือในการทากิจกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมกลุ่มย่อย 2. ตั้งใจ สนใจและมีความกระตือรือร้นในการเรียน 3. ทางานอย่างมีระบบ ระเบียบ รอบคอบ 4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 5. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานตรงต่อเวลา สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน ข้อที่ 1.ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 2.ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
  • 8. 8 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ 3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา 3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.ซื่อสัตย์สุจริต 3.มีวินัย 4.ใฝ่หาความรู้ 5.อยู่อย่างพอเพียง 6.มุ่งมนั่ในการทางาน 7.รักความเป็นไทย 8.มีจิตสาธารณะ สาระการเรียนรู้ ตัวอย่างที่1 5 เท่าของเลขจานวนหนงึ่มากกว่า 3 อยู่ 7 วิธีทา ให้ x แทนเลขจานวนหนึ่ง จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7 นา 3 บวกทัง้สองข้างของสมการ 5x – 3 + 3 = 7 + 3 5x = 10 นา 5 1 คูณทัง้สองข้างของสมการ 5 1  5x = 5 1 10 x = 2 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 2 ในสมการ 5x – 3 = 7 5(2) – 3 = 7 7 = 7 สมการเป็นจริง ดังนัน้ เลขจานวนนัน้คือ 2
  • 9. 9 ตัวอย่างที่2 แม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายจานวนหนงึ่ วันแรกขายได้ครึ่งหนึ่งของที่ซือ้มา วันที่สอง ขายได้อีก 5 3 ของจานวนมะม่วงที่เหลือจากวันแรก ถ้าวันที่สองขายมะม่วงได้ 111 ผล ให้หา ว่าแม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายทัง้หมดกี่ผล วิธีทา สมมติซือ้มะม่วงมาทัง้หมด ผล วันแรกขายได้ 2 x ผล วันที่สองขายได้ 5 3 ของที่เหลือ 10 3 5 2 3 x x   ผล เนื่องจากวันที่สองขายได้ 111 ผล จะได้ 111 10 3  x 370 3 1,110 1,110 3 111 10      x x ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 370 ในสมการ 111 10 3  x 111 10 3(370)  111 = 111 สมการเป็นจริง ดังนัน้ ซือ้มะม่วงมาทัง้หมด 370 ผล กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา (ใช้เหมือนกันทัง้ 2 กลุ่ม) ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับการหาคาตอบของสมการโดยใช้เกมจับคู่ สมการ (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก) ขั้นสอน ผู้วิจัยเสนอเป็นตารางเปรียบเทียบขัน้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้น การคิดแบบฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ทัง้นีผู้้วิจัยได้ใช้กลวิธีส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ตามคาแนะนาของเชฟฟิวด์แทรกในขัน้สอนตามความเหมาะสม กับกลุ่มทดลอง
  • 10. 10 ตารางเปรียบเทียบขั้นสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบ ฮิวริสติกส์ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) ขั้นสอน 1. ขั้นสร้างความสัมพันธ์ 1.1 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 1 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาประกอบ การถามตอบ และอภิปรายร่วมกับ นักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ - จะเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดง อายุปัจจุบันของคนซึ่งเกี่ยวข้องกับบี้ ได้อย่างไร พร้อมทั้งสุ่มนักเรียนบางคนออกมา แสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนดหน้า กระดาน แล้วให้นักเรียนคนอื่นร่วมแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของเพื่อน (กลวิธีชนิดการวิเคราะห์โครงสร้าง การเสริมความตั้งใจ และ การแสดงออก) 1.2 ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 2 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาประกอบ การถามตอบ และอภิปรายร่วมกับ นักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ - โจทย์กาหนดอะไรบ้าง - โจทย์ให้หาอะไร - จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของ โจทย์ปัญหานี้ - หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายขึ้น ขั้นสอน 1. ครูเขียนโจทย์ตัวอย่างที่ 1 จากเอกสาร แนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดา ประกอบ การถามตอบ และอภิปราย ร่วมกับนักเรียนในประเด็นคาถามต่อไปนี้ - โจทย์กาหนดอะไรบ้าง - โจทย์ให้หาอะไร - จะมีวิธีการใดในการหาคาตอบของ โจทย์ปัญหานี้ - หากต้องการหาคาตอบของโจทย์ ปัญหาดังกล่าวจะทาได้ง่ายโดยเขียน เป็นสมการแล้วหาคาตอบของสมการ นั้น สมการของโจทย์ปัญหานี้เขียนได้ อย่างไร? - มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้างสมการ ของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น พร้อมทั้งสุ่มนักเรียนบางคนออกมา แสดงแนวคิดในประเด็นที่กาหนด หน้ากระดาน แล้วให้นักเรียนคนอื่นร่วม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดของ เพื่อน 2. ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการของ โจทย์ตัวอย่างจากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานดาอย่างเป็นขั้นตอน โดย ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
  • 11. 11 กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) โดยเขียนเป็นสมการแล้วหาคาตอบ ของสมการนั้น สมการของโจทย์ ปัญหานี้เขียนได้อย่างไร? - มีวิธีการใดบ้างที่จะทาให้สร้าง สมการของโจทย์ปัญหานี้ได้ง่ายขึ้น - ข้อมูลที่โจทย์ให้มาสามารถเขียนโยง ความสัมพันธ์ได้อย่างไรบ้าง 1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันแก้สมการโจทย์ ตัวอย่างที่ 2 จากเอกสารแนะแนวทางที่ 8 บนกระดานอย่างเป็นขั้นตอน โดย ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 2. ขั้นสารวจตรวจค้น 2.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ ความสามารถทั้งแดน กลาง และอ่อน แล้ว ร่วมกันศึกษาตัวอย่าง และทากิจกรรม สารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คาคะแนน เป็นทีมทั้งคะแนนจากการตอบคาถามในใบ กิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการ ทางานกลุ่ม (กลวิธีชนิดการระดมสมอง และการเสริมความตั้งใจ) 2.2 ครูกระตุ้นและแนะนาให้นักเรียนคิด อย่างอิสระโดยใช้หลายๆวิธีใน การเชื่อมโยงข้อมูลที่โจทย์ให้ แล้วสรุป เป็นวิธีของกลุ่มตามที่แต่ละคนสนใจ หรือตามความถนัด (กลวิธีชนิด การเสริมความตั้งใจ) 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ 4-5 คน โดยในแต่ละกลุ่มมีนักเรียนคละ ความสามารถทั้งแดน กลาง และอ่อน แล้วร่วมกันทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา โดยมีคะแนนเป็นทีมทั้ง คะแนนจากการตอบคาถามในใบกิจกรรม และคะแนนการมีส่วนร่วมในการทางาน กลุ่ม (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 4. ครูกระตุ้น ให้กาลังใจ และแนะนาให้ นักเรียนแสดงความคิดอย่างอิสระ สมาชิกทุกคนควรแสดงความคิดเห็น ของตนโดยไม่ต้องกังวลเรื่องคิดวิธีผิด แล้วหาคาตอบไม่ได้ และยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น แล้วสรุปเป็นวิธี ของกลุ่ม (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 5. ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียน ตรวจสอบคาตอบ และประเมิน ความถูกต้องของแนวคิด ขั้นตอน วิธีการคิด รวมทั้งพิจารณา ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้ โดยใช้คาถามต่างๆ เช่น - การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็น ประโยคสัญลักษณ์ในรูปของสมการ ถูกต้องหรือไม่ - คาตอบที่ได้เป็นคาตอบที่ถูกต้อง หรือไม่ - คาตอบนั้นสมเหตุสมผลหรือไม่
  • 12. 12 กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) 3. ขั้นประเมินและติดต่อสื่อสาร 3.1 ครูแนะนาและกระตุ้นให้นักเรียน ตรวจสอบคาตอบ และประเมิน ความถูกต้องของแนวคิด ขั้นตอนวิธีการ คิดรวมทั้งพิจารณาความสมเหตุสมผลของ คาตอบที่ได้ โดยเน้นย้าให้นักเรียน สารวจหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ กาหนดให้ แล้วจัดข้อมูลและการคิดให้ เป็นระบบ โดยใช้คาถามต่างๆ เช่น - การโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ โจทย์กาหนดถูกต้อง เป็นระบบ และ ครบถ้วนหรือไม่ - การเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยค สัญลักษณ์ในรูปของสมการถูกต้องหรือไม่ (กลวิธีชนิดการเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆ การคิดย้อนกลับ สแคมเปอร์และ การเสริมความตั้งใจ) 3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อ ประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของกลุ่ม ตนเอง โดยกาหนดเวลาประมาณ 5-10 นาที (กลวิธีชนิดการระดมสมอง) 3.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ แนวคิดหน้าห้อง (กลวิธีชนิด การแสดงออก) 3.4 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาใน กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียน อาสาออกมาแสดงวิธีคิดของตน 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อ ประเมินคาตอบในการทากิจกรรมของ กลุ่มตนเอง โดยกาหนดเวลาประมาณ 5-10 นาที (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 7. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ แนวคิดหน้าห้อง (เหมือนกับกลุ่ม ทดลอง) 8. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาตอบ และวิธีการคิดจากปัญหาใน กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา โดยใช้การเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียน อาสาออกมาแสดงวิธีคิดของตน และเปิด โอกาสให้เพื่อนคนอื่นร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกมาอภิปรายตามความเหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่น แสดงความคิดกับผลงานของเพื่อน โดย ไม่ต้องกังวลเรื่องความถูกผิดของ ความคิด (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันใน ประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสมกันสถานการณ์ ใดบ้าง (เหมือนกับกลุ่มทดลอง)
  • 13. 13 กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) และให้เพื่อนคนอื่นร่วมวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์วิธีคิดของตน ทั้งนี้ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา อภิปรายตามความเหมาะสม และครูคอย ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนคนอื่นแสดง ความคิดกับผลงานของเพื่อน โดยไม่ต้อง กังวลเรื่องความถูกผิดของความคิด (กลวิธีชนิดการเสริมความตั้งใจ) 3.5 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวิธีคิด หรือแนวคิดที่ร่วมกันนาเสนอนั้นวิธีใด เหมือนกัน คล้ายกัน และแตกต่างกันใน ประเด็นใดบ้าง แต่ละวิธีมีข้อดี ข้อจากัด และมีความเหมาะสมกันสถานการณ์ใดบ้าง (กลวิธีชนิดการตรวจสอบรายการ และ การแสดงออก) 3.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะแนวคิด ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามความเหมาะสม หรือซักถามประเด็นที่น่าสนใจและ เกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิด ต่อเนื่องจากปัญหาที่พบในกิจกรรมตามความ เหมาะสม และครูคอยช่วยกระตุ้นให้ นักเรียนคนอื่นแสดงความคิดกับผลงาน ของเพื่อน (กลวิธีชนิดการมอง และ การจินตนาการถึง) 4. ขั้นความคิดสร้างสรรค์ 4.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกัน ทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา และกิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงิน 10. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนเสนอแนะ แนวคิดที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตาม ความเหมาะสม หรือซักถามประเด็นที่ น่าสนใจและเกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้น ให้นักเรียนคิดต่อเนื่องจากปัญหาที่พบใน กิจกรรม (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) 11. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มย่อยร่วมกันทา กิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้ คา(เหมือนกับกลุ่มทดลอง) โดยครู แนะนาให้นักเรียนใช้เทคนิคต่างๆ ตาม ความถนัด หรือ ความสนใจของ สมาชิกในกลุ่ม โดยกาหนดเวลาในการ คิดระดมสมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดยครูแจ้งว่าถ้ากลุ่มใดคิดเสร็จก่อนเวลา ให้ส่งตัวแทนกลุ่มมารับกระดาษขาวเทา ขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงาน 12. เมื่อครบกาหนดเวลาครูแจกกระดาษขาว เทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ (เหมือนกับ กลุ่มทดลอง)
  • 14. 14 กลุ่มทดลอง (เน้นการคิดแบบฮิวริสติกส์) กลุ่มควบคุม (แบบปกติ) อาเซียน โดยครูแนะนาให้นักเรียนใช้เทคนิค ต่างๆ เช่น การคิดย้อนกลับจากคาตอบไป ยังโจทย์ปัญหา โดยกาหนดเวลาในการคิด ระดมสมองกันภายในกลุ่ม 10 นาที โดย ครูแจ้งว่าถ้ากลุ่มใดคิดเสร็จก่อนเวลาให้ ส่งตัวแทนกลุ่มมารับกระดาษขาวเทา ขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่นป้าย นาเสนอผลงาน(กลวิธีชนิดการ เปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆ การคิดย้อนกลับ สแคมเปอร์ และการเสริมความตั้งใจ) 4.2 เมื่อครบกาหนดเวลา ครูแจกกระดาษ ขาวเทาขนาดใหญ่ และสีสาหรับทาแผ่น ป้ายนาเสนอผลงานให้กลุ่มที่เหลือ 4.3 ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงาน หน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้ว ให้นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือ แสดงความคิดเห็นในประเด็นที่น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่มเจ้าของผลงานเฉลย คาตอบ และแนวคิด (กลวิธีชนิด การแสดงออก) 13. ครูให้นักเรียนอาสามาแสดงผลงาน หน้าห้องโดยให้แสดงผลงานของกลุ่ม แล้วให้นักเรียนกลุ่มอื่นร่วมกันหาคาตอบ หรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ น่าสนใจ จากนั้นนักเรียนกลุ่มเจ้าของ ผลงานเฉลยคาตอบ และแนวคิด (เหมือนกับกลุ่มทดลอง) ขั้นสรุป (ใช้เหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปการเปลี่ยนประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์ ในรูปของสมการ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวคิด และขั้นตอนการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องและ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 9 เป็นการบ้าน ซึ่งสามารถดาวน์โหลดได้จาก www.pookpikschool.wordpress.com
  • 15. 15 สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - กิจกรรมเกมจับคู่สมการ - เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อยโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา - เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - Website.www.pookpikschool.wordpress.com การวัดและประเมินผล การวัดผล การประเมินผล 1. สังเกตการตอบคาถาม อภิปรายในชั้นเรียนและ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม 2. ความถูกต้องในการทากิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 3. การนาเสนอแนวคิดของของตนเองและของกลุ่ม 4. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 5. ทางานถูกต้องเป็นระเบียบเรียบร้อย และเป็นระบบ 6. ส่งงานตรงต่อเวลา 7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ด้านความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา 8. คุณลักษะอันพึงประสงค์ การมอบหมายงาน - ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 9 เป็นการบ้าน
  • 16. 16 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด - ห้องอาเซียนศึกษากลุ่มสาระการเยนรู้สังคมศึกษา - ห้องจัดนิทรรศการและผลงานนักเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือของ โรงเรียน เป็นต้น - Website.www.pookpikschool.wordpress.com และwebsiteอื่นๆ ข้อคิดและข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมศักยภาพ - ครูควรยกตัวอย่างประกอบตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน และ พฤติกรรมการเรียนรู้ สาหรับนักเรียนอ่อนอาจยกตัวอย่างและพูดแนะนามากกว่า นักเรียนที่แดน และสาหรับนักเรียนแดนครูควรกระตุ้น ท้าทายให้นักเรียนคิดหา คาตอบหลายๆวิธี - ในการทากิจกรรมในแต่ละขั้นครูควรสังเกตนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อคอยให้ คาปรึกษาและชี้แนะในกรอบที่เหมาะสม ทั้งเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการเรียนรู้ ของนักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ และเป็นข้อมูลในการวัดประเมิน - ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆในระหว่างที่ครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นอย่างกว้างขวาง - หากครูพบว่ามีข้อบกพร่องในกิจกรรมบางขั้น ควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในครั้งต่อไปโดย ยึดหลักผู้เรียนเป็นสาคัญ บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คุณภาพผลงานของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นการคิดแบบ ฮิวริสติกส์มีพัฒนาการในทิศทางที่ดีขึ้นเป็นลาดับ มีคุณภาพมากขึ้น การเขียนอธิบายกระชับ เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น การอธิบายวิธีคิดเป็นลาดับและขั้นตอนที่ชัดเจนมากขึ้น นักเรียนใช้การเขียน โยงความคิดหลากหลายแนวทาง และลักษณะคาตอบมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน นักเรียนเกือบทั้งห้องคือประมาณ 90% กระตือรือร้นในการทากิจกรรมทั้งกิจกรรม รายบุคคล กิจกรรมกลุ่มย่อย ตลอดกิจกรรมอภิปรายรวมกันทั้งเรียน นักเรียนเริ่มขอเสนอให้ครู สั่งงานในรูปแบบที่ตนเองสนใจ เช่น นักเรียนขอแสดงบทบาทสมมติเกี่ยวกับสมการ ขอให้ครูจัด เกมสมการที่ออกไปใช้สถานที่นอกห้องเรียน ขอแต่งเพลงสมการประกอบท่าเต้น เป็นต้น
  • 17. 17 ภาคผนวกของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 ประกอบด้วย 1. เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. เอกสารกิจกรรมสารวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา 3 กิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน 4 เอกสารแบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 5 แบบประเมินสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน 6 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 18. 18 เอกสารแนะแนวทางที่ 8 เรื่องสมการเชงิเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเก่ยีวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างที่1 5 เท่าของเลขจานวนหนงึ่มากกว่า 3 อยู่ 7 วิธีทา ให้ x แทนเลขจานวนหนึ่ง จะได้สมการคือ 5x – 3 = 7 นา 3 บวกทัง้สองข้างของสมการ 5x – 3 + 3 = 7 + 3 5x = 10 นา 5 1 คูณทัง้สองข้างของสมการ 5 1  5x = 5 1 10 x = 2 ตรวจคาตอบ ................................................................................................................ .......................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างที่2 แม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายจานวนหนงึ่ วันแรกขายได้ครึ่งหนึ่งของที่ซือ้มา วันที่สอง ขายได้อีก 5 3 ของจานวนมะม่วงที่เหลือจากวันแรก ถ้าวันที่สองขายมะม่วงได้ 111 ผล ให้หาว่าแม่ค้าซือ้มะม่วงมาขายทัง้หมดกี่ผล วิธีทา สมมติซือ้มะม่วงมาทัง้หมด ผล วันแรกขายได้ 2 x ผล วันที่สองขายได้ 5 3 ของที่เหลือ 10 3 5 2 3 x x   ผล เนื่องจากวันที่สองขายได้ 111 ผล จะได้ 111 10 3  x 370 3 1,110 1,110 3 111 10      x x
  • 19. 19 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 370 ในสมการ 111 10 3  x 111 10 3(370)  111 = 111 สมการเป็นจริง ดังนัน้ ซือ้มะม่วงมาทัง้หมด 370 ผล วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 20. 20 กิจกรรมสา รวจตรวจค้นที่ 5 สมการใบ้คา ช่อืกลุ่ม............................................ ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชัน้................เลขที่.......... ตอนท่1ี พระอะไร ?? มีหนวด คำชี้แจง : จงหาคาตอบของสมการข้อต่อไปนี้ แล้วนาพยัญชนะหรือสระท้ายที่อยู่ท้ายคาตอบที่ ได้มาเรียงกันตามลาดับตัง้แต่ข้อ 1-10 จะพบกับคาตอบของปริศนา พระอะไร??มีหนวด 1. สองเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับ 10 มีค่าเท่ากับ 22 a. 13 ( ะ ) 2. 5x + 6 =16 b. -30 ( ะ) 3. -10 + x = 20 c. 15 ( จ ) 4. - 2 = 12 3 2x d. -5 ( ต ) 5. 7x +8 = 5x + 6 e. -25 ( โ ) 6. ผลรวมของเลขคู่สองจานวนเรียงกันมีค่าเป็น 10 จงหาจานวนน้อย f. 6 (พ ) 7. 0.5x + 25 = 32 g. -1 ( ะ ) 8. 2x = 3(x - 5) h. 14 ( เ ) 9. พ่อมีอายุเป็น 6 เท่าของลูก ถ้าปีหน้าพ่อจะมีอายุครบ 31 ปี i. 5 ( ๗ ) ปัจจุบันลูกอายุกี่ปี j. 2 ( ร ) 10. x +5 = 2(x - 4) k. -14 ( อ ) l. 21 ( น ) m. -2 ( า ) n. 4 ( เ ) พระมีหนวด คือ .....................................................
  • 21. 21 กิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลสกุลเงินของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใช้เวลา 5-10 นาที จากนั้นครูจะชูป้ายสมมติสถานการณ์ ถามนักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงิน จากสกุลหนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง เช่น สถานการณ์ที่ 1 ยายมะลิขายตะกร้าหวายในราคา 1,500 บาท ให้นายงวน ชาว พม่า นายงายต้องจ่ายเงินเท่าไรในหน่วยสกุลเงินของประเทศตนเอง สถานการณ์ที่ 2 หม่องคะยองเช่าบัสปรับอากาศในราคา 60,000 จ๊าด เดินทางไป ประเทศลาว และต้องจ่ายเงินที่ปลายทางเป็น 2 เท่าของค่ารถต้นทาง หม่องคะยองจะต้อง จ่ายเงินเท่าไร ข้อมูลข่าวสาร สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน 1. บรูไน ดารุสซาลาม ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์ บรูไน, 25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอล ล่าร์บรูไน และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
  • 22. 22 2. ราชอาณาจักรกัมพูชา ใช้สกุลเงิน เรียล อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล , 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล 3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ใช้สกุลเงิน รูเปียห์ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
  • 23. 23 4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ใช้สกุลเงิน กีบ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ 5. มาเลเซีย ใช้สกุลเงิน ริงกิต อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
  • 24. 24 6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ใช้สกุลเงิน จ๊าด อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด 7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ใช้สกุลเงิน เปโซ อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
  • 25. 25 8. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์ อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 50 ดอล ล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 9. ราชอาณาจักรไทย ใช้สกุลเงิน บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
  • 26. 26 10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ใช้สกุลเงิน ด่ง อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง, 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2556 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็น ประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน
  • 27. 27 แบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องสมการเชงิเส้นตัวแปรเดียว เรื่องย่อย โจทย์ปัญหาเก่ยีวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จงแสดงวิธีคิด เขียนสมการและหาคา ตอบของสมการจากโจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 1.สารละลายชนิดหนงึ่จานวน 18 ลิตร มีแอลกอฮอล์ 55% สว่นที่เหลือเป็นนา้ ถ้าต้องการให้ สารละลายนีมี้แอลกอฮอล์ 15% จะต้องเติมนา้ลงไปกี่ลิตร วิธีคิด ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 28. 28 2. .ข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษมีสองฉบับ ฉบับที่หนึ่งมี 40 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน ฉบับที่สองมี 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน พีระทาข้อสอบฉบับที่หนึ่งได้คะแนน 75% จะต้องทาฉบับที่สองถูกกี่ข้อ จึงจะได้ คะแนนรวมสองฉบับเป็น 80% วิธีคิด ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 29. 29 3.. การสอบวิชาฟิสิกส์อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาค เป็น 60 : 40 สันติทาคะแนน ระหว่างภาคได้ 85% สันติจะต้องสอบปลายภาคให้ได้กี่คะแนนจึงจะได้คะแนนรวมเป็น 83 คะแนน วิธีคิด ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 30. 30 4.. สูตรทาขนมชั้นชนิดหนึ่งต้องใช้แป้ง 2 กิโลกรัม ผสมกับน้าตาล 4 ถ้วยตวง ถ้าต้องให้ส่วนผสม ของน้าตาลเป็น 6 ถ้วยตวง ต้องใช้แป้งปริมาณเท่าใดรสชาติจึงจะคงเดิม วิธีคิด ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ตรวจคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุปคาตอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….……………………… วิธีคิดแบบอื่นเพิ่มเติมที่น่าสนใจ ………………………...……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 31. 31 แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ........................................นามสกุล..............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่........... คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุง (0) 1. ความสามารถ ในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษา อย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผล และถูกต้อง รวม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน พอใช้ 1-8 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
  • 32. 32 แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ.......................................นามสกุล.............................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............. คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะด้าน สมรรถนะด้าน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุง (0) 2. ความสามารถ ในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่าง สร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่าง เหมาะสม รวม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน พอใช้ 1-8 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
  • 33. 33 แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ.........................................นามสกุล..........................ชั้น. ...ม.1... เลขที่............ คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) ดี (2) พอใช้ (1) ปรับปรุ ง (0) 3. ความสามารถ ในการแก้ปัญหา 3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ เผชิญได้ 3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง ในสังคม 3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ควมรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา 3.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย รวม สรุปผลการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุง ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์การสรุปผล ดีมาก 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน พอใช้ 1-8 คะแนน ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
  • 34. 34 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ภาคเรียนที่ ................... ปีการศึกษา .......................... ชื่อ-สกุลนักเรียน......................................................... ห้อง....................... เลขที่................ คาชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด / ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 มีความรัก และภูมิใจในความเป็นชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2.ซื่อสัตย์สุจริต 2.1 ปฏิบัติตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัติตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น 3. มีวินัย 3.1 เข้าเรียนตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ 3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง 4. ใฝ่หาความรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 5.อยู่อย่าง พอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ทางาน 6.1 มีความตั้งใจ และพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7.รักความเป็น ไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
  • 35. 35 คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 8.มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักการให้เพื่อส่วนรวม และเพื่อผู้อื่น 8.2 แสดงออกถึงการมีน้าใจหรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น 8.3 เข้าร่วมกิจกรรมบาเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมื่อมีโอกาส ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน (................................................) ........... /................./........... เกณฑ์การให้คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมที่ไม่ได้ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน