SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้
ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว
อ.ภาคภูมิ พิลึก
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย
ทักษะ……ความชานาญ
ไม่สามารถเกิดขึ้นได้จากการอ่านตารา
การฝึ กปฏิบัติอย่างถูกต้องเท่านั้น…..จึงจะทาให้ได้มาซึ่ง
ทักษะ…..ความชานาญ
รศ.เจริญ กระบวนรัตน์
ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พฤติกรรมของมนุษย์
-เป็ นสื่อที่สะท้อนให้เห็นถึงการทางานของสมองหรือระบบ
ประสาท
แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ ดังนี้
1. พฤติกรรมที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของจิตใจ เช่น อาการ
สะดุ้ง ตกใจ
2. พฤติกรรมที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ เช่น การอ่าน
การเขียน การฟัง การพูด การปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวต่างๆ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การทางานของระบบในร่างกาย
-ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วย อวัยวะในระบบต่าง ๆ หลายระบบที่
ทางานประสานเกี่ยวข้องกัน เพื่อให้ชีวิตดารง อยู่ได้อย่าง เหมาะสม
หรือรักษา ความสมดุลทางกายไว้ให้ดีที่สุด บางระบบอวัยวะร่างกาย จะ
ทาหน้าที่ เพื่อให้มนุษย์มีชีวิต เช่น การหายใจ การย่อยอาหาร การ
ขับถ่ายเป็นต้น แต่ บางระบบของร่างกาย เชื่อมโยงกับกับการคิด
ความรู้สึก อารมณ์ การศึกษาระบบของร่างกายในที่นี้ จะได้จาแนกเป็น
ระบบประสาท สมอง ต่อมไร้ท่อ และระบบกล้ามเนื้อ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การทางานของระบบประสาท
(Nervous System)
-ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วย อวัยวะในระบบต่าง ๆ หลายระบบที่
ทางานประสานเกี่ยวข้องกัน เพื่อให้ชีวิตดารง อยู่ได้อย่าง เหมาะสม
หรือรักษา ความสมดุลทางกายไว้ให้ดีที่สุด บางระบบอวัยวะร่างกาย จะ
ทาหน้าที่ เพื่อให้มนุษย์มีชีวิต เช่น การหายใจ การย่อยอาหาร การ
ขับถ่ายเป็นต้น แต่ บางระบบของร่างกาย เชื่อมโยงกับกับการคิด
ความรู้สึก อารมณ์ การศึกษาระบบของร่างกายในที่นี้ จะได้จาแนกเป็น
ระบบประสาท สมอง ต่อมไร้ท่อ และระบบกล้ามเนื้อ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การทางานของระบบประสาท
(Nervous System)
การศึกษาการทางานของระบบประสาท ทาให้เข้าใจระบบการทางาน ภายในร่างกาย
ซึ่งทางานประสานกัน ได้ภายใต้การควบคุม และประสาน เชื่อมโยงของระบบประสาท เซลล์
ประสาท จานวนเป็นพันล้านเซลล์ที่กระจาย อยู่ตามอวัยวะต่าง ๆ และในสมองของมนุษย์จะ
ทางานโดยส่ง กระแสประสาทและสารเคมีเพื่อสื่อสารถึงกัน สารเคมีนี้เป็น สารสื่อประสาท
(Neurotransmitter) มีหน้าที่ถ่ายทอดคาสั่งระหว่างจุดเชื่อม ต่อประสาท เพื่อให้
อวัยวะที่เกี่ยวข้องทางาน หรือหยุดการทางาน การทางานของระบบประสาทแบ่งออกเป็น 2
ระบบ คือ ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System) และ ระบบ
ประสาทส่วนนอก (Peripheral Nervous System)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central Nervous System)
ประกอบด้วย สมอง (Brain) และไขสันหลัง (Spinal cord)
สมอง เป็นศูนย์สั่งการ ควบคุมพฤติกรรมและประสานการกระทาต่าง ๆ ของมนุษย์สมอง
ประกอบด้วยเซลล์ประสาทจานวนมาก ที่รวมตัวกันอยู่ ในกะโหลกศีรษะ มีน้าหนักประมาณ
2% ของน้าหนักร่างกาย เป็นศูนย์กลางการประมวลผลการสัมผัส การรับรู้ การคิด การจา การ
เข้าใจ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central Nervous System)
ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นเซลล์ประสาทที่อยู่ในโพรงกระดูกสันหลัง เป็นส่วนเชื่อมต่อ
จากสมอง เป็นตัวกลางที่เชื่อมสัมพันธ์ระหว่าง ประสาทส่วนนอก กับสมอง และเป็นศูนย์
ควบคุมปฏิกิริยาสะท้อน (Reflexes) ต่าง ๆ ของร่างกาย
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทส่วนปลาย
( Peripheral nervous system )
เป็นเซลล์ประสาทที่อยู่นอกกระโหลกศีรษะ และนอกกระดูกสันหลังประกอบด้วย ปมประสาท
(Ganglia) ซึ่งเป็นที่รวมของตัวเซลล์ประสาท และใยประสาท ซึ่งทาหน้าที่รับสัมผัสจาก
ภายนอก และรับข่าวสารคาสั่งจากสมอง ถือเป็นส่วนที่ติดต่อ โดยตรงกับโลก หรือสิ่งแวดล้อม
ต่าง ๆ ระบบประสาทส่วนนอก แบ่งเป็นสองส่วน คือ ระบบประสาทโซมาติก (Somatic
System) และระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic System)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทโซมาติก
(Somatic System)
ทาหน้าที่รับสัญญาณจากอวัยวะสัมผัสต่าง ๆ ส่งรายงานไปยัง ประสาทส่วนกลาง และรับการ
ถ่ายทอดคาสั่ง เกี่ยวกับ การเคลื่อนไหว จากประสาทส่วนกลาง สั่งการ ไปยังกล้ามเนื้อลายให้
ยืดหรือหดตัว ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวในส่วนอวัยวะนั้น ๆ ตามความต้องการ ระบบประสาท
โซมาติก ประกอบด้วย ประสาทสมอง (Cranial Nerves) 12 คู่ และ ประสาทไขสันหลัง
(Spinal Nerves) 31 คู่
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประสาทสมอง (Cranial Nerves) 12 คู่
• ประสาทสมองสมอง12 คู่ มีดังนี้
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 เส้นประสาทออลแฟกทอรี(olfactory nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับกลิ่น
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เส้นประสาทออพติก(optic nerve) รับความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็น
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 เส้นประสาทออคิวโลมอเตอร์(oculomotor nerve) เป็นเส้นประสาท
สั่งการจากสมองส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลูกตา 4 มัด ทาให้ลูกตาเคลื่อนไหวกลอกตาไปมาได้
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 4 เส้นประสาททรอเคลีย(trochlea nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการไปยัง
กล้ามเนื้อลูกตาทาให้ลูกตามองลงและมองไปทางหางตา
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 เส้นประสาทไตรเจอมินัล(trigerminal nerve) แบ่งออกเป็น 3 แขนง ทา
หน้าที่รับความรู้สึกจากใบหน้า ลิ้นฟัน ปากเหงือก
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 เส้นประสทแอบดิวเซนส์(abducens nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการ
ออกจากพอนส์ไปยังกล้ามเนื้อลูกตาทาให้เกิดการชาเลือง
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประสาทสมอง (Cranial Nerves) 12 คู่
• ประสาทสมองสมอง12 คู่ มีดังนี้
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) เป็นเส้นประสาทที่สั่งการไปยังกล้ามเนื้อหน้าทาให้เกิดสี
หน้าต่างๆกัน
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เส้นประสาทออดิทอรี(auditoty nerve) เส้นประสาทรับความรู้สึกแยกเป็น 2 แขนง แขนงหนึ่ง
จากคอเคลียของหูทาหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 เส้นประสาทกลอสโซฟารินเจียล(glossopharyngeal nerve) เป็นประสาทรับความรู้สึก
จากช่องคอ เช่น ร้อน เย็น และรับรสจากโคนลิ้นเข้าสู่ซีรีบรัม
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 เส้นประสาทเวกัส(vegus nerve) เป็นเส้นประสาทรับความรู้สึกจากลาคอ กล่องเสียง ช่องอก
ช่องท้อง ส่วนเล้นประสาทสั่งการจะออกจากเมดัลลาออบลองกาตา ไปยังกล้ามเนื้อลาคอ กล่องเสียง อวัยวะภายในช่องปาก และ
ช่องท้อง
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 11 เส้นประสาทแอกเซสซอรี(accessory nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการจากเมดัลลาออบลอง
กาตาและไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อคอ ช่วยในการเอียงคอและยกไหล่
• เส้นประสาทสมองคู่ที่ 12 เส้นประสาทไฮโพกลอสวัล(hypoglossal nerve) เป็นเส้นประสาทสั่งการไปยังกล้ามเนื้อ
ลิ้นทาให้เกิดการเคลื่อนไหวของลิ้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทอัตโนมัติ
(Autonomic Nervous System)
เป็นระบบประสาทที่ประกอบไปด้วยเซลล์ประสาทจานวนมาก แต่เซลล์ประสาทเหล่านี้จะ
ทางานเป็นอิสระไม่อยู่ภายใต้อานาจจิตใจ (involuntary) หรือการควบคุมของระบบ
ประสาทส่วนกลาง ดังนั้นการทางานของเซลล์ประสาทอัตโนมัติจึงทางานได้โดยไม่ต้องอาศัย
คาสั่งจากสมอง เส้นประสาทจากระบบประสาทอัตโนมัติจะกระจายอยู่ตามบริเวณกล้ามเนื้อ
เรียบของอวัยวะภายในทุกชนิด รวมทั้งต่อมต่าง ๆ ทั้งหลายในร่างกายอีกด้วย
ระบบประสาทอัตโนมัติแบ่งได้เป็น 2 ระบบย่อย คือ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทอัตโนมัติ
(Autonomic Nervous System)
ระบบประสาทอัตโนมัติแบ่งได้เป็น 2 ระบบย่อย คือ
1) ระบบประสาทซิมพาเธติก(Sympathetic nervous System)
ศูนย์กลางอยู่บริเวณไขสันหลัง (Spinal cord) ประกอบด้วยเส้นประสาทที่ออกจาก
บริเวณไขสันหลังตั้งแต่อกจนถึงเอว ระบบนี้จะทางานในกรณีที่บุคคลตกอยู่ในสภาวะฉุกเฉิน
ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาตื่นตัวเพื่อเตรียมพร้อมที่จะสู้หรือหนีจากสถานการณ์เหล่านั้น ปฏิกิริยา
ของร่างกายที่เกิดขึ้นเมื่อระบบประสาทซิมพาเธติกทางาน ได้แก่ ขนลุกตั้งชัน ชีพจรเต้นเร็ว
กว่าปกติ เหงื่อออกมาก ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วและรัว ต่อมอะดรีนัล
(adrenal gland) หรือต่อมหมวกไตจะหลั่งฮอร์โมนอะดรีนาลีน (adrenalin)
เพื่อเพิ่มพลังงานพิเศษให้กับร่างกาย เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทอัตโนมัติ
(Autonomic Nervous System)
ระบบประสาทอัตโนมัติแบ่งได้เป็น 2 ระบบย่อย คือ
2) ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก (parasympathetic nervous system)
มีศูนย์กลางอยู่ที่ก้านสมอง (medulla) และไฮโปทาลามัส (hypothalamus) โดย
ระบบนี้จะทางานควบคู่กับระบบซิมพาเธติก กล่าวคือ เมื่อระบบซิมพาเธติกทางานสิ้นสุดลง
ร่างกายพ้นจากสภาวะฉุกเฉินไปแล้ว ระบบพาราซิมพาเธติกจะช่วยทาให้ร่างกายกลับคืนสู่
สภาวะปกติ เช่น เส้นขนจะราบลง ชีพจรหัวใจและความดันโลหิตจะกลับคืนสภาพเดิม เป็น
ต้น นอกจากนี้ยังกระตุ้นให้ต่อมอะดรีนัลหลั่งฮอร์โมนนอร์อะดีนาลีน (noradrenalin)
เพื่อช่วยให้ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติอีกครั้งเพื่อประหยัดพลังงาน ควบคุมร่างกาย ให้อยู่ใน
สภาพปรกติ เมื่อร่างกายตื่นตัวมากเกินไป
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central Nervous System)
ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นเซลล์ประสาทที่อยู่ในโพรงกระดูกสันหลัง เป็นส่วนเชื่อมต่อ
จากสมอง เป็นตัวกลางที่เชื่อมสัมพันธ์ระหว่าง ประสาทส่วนนอก กับสมอง และเป็นศูนย์
ควบคุมปฏิกิริยาสะท้อน (Reflexes) ต่าง ๆ ของร่างกาย
•
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
รูปแบบพื้นฐานของการเคลื่อนไหว
(fundamental Movement partterns)
การเคลื่อนที่ (Locomotor) – การเดิน การกระโดด การวิ่ง
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
รูปแบบพื้นฐานของการเคลื่อนไหว
(fundamental Movement partterns)
ไม่มีการเคลื่อนที่ (Non-Locomotor) – การผลักดัน การยืด การทรงตัวนิ่ง
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
รูปแบบพื้นฐานของการเคลื่อนไหว
(fundamental Movement partterns)
การผสมผสานระหว่างการเคลื่อนไหว(manipulative) – การเตะ การทุ่ม พุ่ง ขว้าง ตี
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
รูปแบบพื้นฐานของการเคลื่อนไหว
(fundamental Movement partterns)
การผสมผสานระหว่างการเคลื่อนไหว(manipulative) – การเตะ การทุ่ม พุ่ง ขว้าง ตี
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระบบการจาแนกทักษะการเคลื่อนไหว
(Motor Skill Classification System)
1. ความแม่นยาของการเคลื่อนไหว (Precision of Movement)
2. การกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการเคลื่อนไหว
(Defining the Beginning and End Point of the Movement)
3. ความคงที่ของสิ่งแวดล้อม (Stability of the Environment)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ความแม่นยาของการเคลื่อนไหว
(Precision of Movement)
การควบคุมกล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้สามารถเคลื่อนไหวได้
อย่างสัมพันธ์กันอย่างราบรื่น เช่น การเดิน การวิ่ง การ
กระโดด การเตะ ขว้าง เป็นต้น (ความสัมพันธ์ระหว่างเท้า
มือและตา)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. ทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Groos Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
ความแม่นยาของการเคลื่อนไหว
(Precision of Movement)
การควบคุมกล้ามเนื้อมัดเล็กเพื่อให้บรรลุผลสาเร็จในการ
แสดงทักษะ ซึ่งต้องการความแม่นยาสูงในการแสดงทักษะ
เช่น การเขียน การวาดรูป การกลัดกระดุม เป็นต้น
(ความสัมพันธ์ระหว่างมือและตา)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2. ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
การกาหนดจุดเริ่มต้นและ
จุดสิ้นสุดของการเคลื่อนไหว
เป็นการเคลื่อนไหวที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการ
เคลื่อนไหวที่ชัดเจน เช่น การเหยียบเบรกรถยนต์
การกดสวิชต์ไฟฟ้า การเคาะแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. ทักษะการเคลื่อนไหวชนิดสั้น (Discrete Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
การกาหนดจุดเริ่มต้นและ
จุดสิ้นสุดของการเคลื่อนไหว
เป็นการรวมกันของทักษะการเคลื่อนไหวชนิดสั้น เช่น
การขับรถยนต์เกียร์ออโต้ เริ่มต้นผู้ขับขี่ต้องสตาร์ท
เครื่องยนต์ เหยียบเบรก เปลี่ยนเกียร์จากตัว P เป็นตัว D
เหยียบคันเร่ง รถยนต์เคลื่อนที่เช่นเดียวกับการเล่นกีฬา
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2. ทักษะการเคลื่อนไหวเป็นชุด (Serial Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
การกาหนดจุดเริ่มต้นและ
จุดสิ้นสุดของการเคลื่อนไหว
มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการเคลื่อนไหวไม่ชัดเจน
ผู้กระทาเป็นผู้กาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของทักษะ
และต้องแสดงทักษะการเคลื่อนไหวซ้าๆ เช่น ทักษะการ
ควบคุมพวงมาลัยรถยนต์ การวิ่ง การว่ายน้า เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
3. ทักษะการเคลื่อนไหวต่อเนื่อง (Continuous Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ความคงที่ของสิ่งแวดล้อม
การปฏิบัติทักษะหรือกิจกรรมการเคลื่อนไหวใน
สภาพแวดล้อม คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง หรือในสถานการณ์ที่ถูก
กาหนด โดยนักกีฬาจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือควบคุมการ
เคลื่อนไหวด้วยตนเองทั้งหมด เมื่อพร้อมก็สามารถกระทาได้
เช่น ทักษะการยิงธนู โบว์ลิ่ง การกลัดกระดุม เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. ทักษะปิด (Closed Skill / Self- paced Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ความคงที่ของสิ่งแวดล้อม
การปฏิบัติทักษะหรือกิจกรรมการเคลื่อนไหวใน
สภาพแวดล้อมไม่คงที่ หรือสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา มีอิทธิพลต่อผู้ที่แสดงทักษะ จึงต้องปรับการ
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
เช่น ทักษะเทนนิส ฟุตบอล บาสเกตบอล เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2. ทักษะเปิด (Open Skill / Externally- paced Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Open Skills
ความคงที่ของสิ่งแวดล้อม
2.1 ปรับเปลี่ยนจังหวะ รูปแบบ วิธีการ และความรวดเร็วของ
การปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหว
2.2 การเคลื่อนที่เพื่อสร้างพื้นที่ และโอกาสให้กับตนเอง
เพื่อการปฏิบัติทักษะแต่ละทักษะได้อย่างโดดเด่นเป็นอิสระ
2.3 ช่วยให้เกิดการพัฒนาสร้างสรรค์ปรับเปลี่ยนรูปแบบของ
เกมการเล่นได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2. ทักษะเปิด (Open Skill / Externally- paced Motor Skill)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ประโยชน์ของการจาแนก
ทักษะการเคลื่อนไหว
1. รู้และเข้าใจถึงลักษณะธรรมชาติของทักษะการเคลื่อนไหว
2. สามารถสร้างข้อสรุปและวิธีการเรียนรู้ในการแสดงทักษะการ
เคลื่อนไหวที่มีประสิทธิภาพ
3. สามารถพัฒนากุศโลบายในการเรียนรู้และการสอนทักษะการ
เคลื่อนไหวในกีฬาต่อไป
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว
(Motor Skill Learning)
-การปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายรูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่งหรือหลากหลายรูปแบบอย่างเป็นระบบ ตามลาดับขั้นตอน
จนทาให้สมองได้เกิดการปรับตัวและพัฒนาการด้านการ
เคลื่อนไหวต่างๆ มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว
(Motor Skill Learning)
-ช่วงอายุ 4 – 10 ปี มีพัฒนาการอัตราการเจริญเติบโตของสมอง
สูงสุด
-ช่วงอายุ 8 – 13 ปี มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงด้านทักษะ
ความสัมพันธ์ในการเคลื่อนไหวอย่างมาก หากได้รับการฝึกเพื่อ
เรียนรู้อย่างถูกต้องตามลาดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและเป็ น
ระบบ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การวัดการแสดงความสามารถทางการเคลื่อนไหว
(Measures of Motor Performance)
เป็นการวัดที่ชี้ถึงผลลัพธ์ของการแสดงความสามารถ ได้แก่
1.1 เวลาที่กระทาการตอบสนอง เช่น วิ่ง 100 เมตร
ภายในเวลา 12 วินาที
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. การวัดผลลัพธ์ของการตอบสนอง
(Response Outcome Measure)
แบ่งออกเป็น 2 วิธี ดังนี้
การวัดการแสดงความสามารถทางการเคลื่อนไหว
(Measures of Motor Performance)
1.2 เวลาปฏิกิริยา (Reaction Time) คือ เวลาที่นับตั้งแต่สิ่ง
เร้าปรากฏขึ้นจนถึงเริ่มการเคลื่อนไหว เช่น เวลาระหว่าง
เสียงปืนดังขึ้นจนถึงเริ่มการวิ่ง
1.3 ปริมาณความผิดพลาด (Error) การกระทาเมื่อเทียบกับ
เกณฑ์การเคลื่อนไหว เช่น การผิดพลาดจากการยิงลูก
โทษบาสเกตบอล ฟุตบอล ยิงปืน เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การวัดการแสดงความสามารถทางการเคลื่อนไหว
(Measures of Motor Performance)
1.4 เปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาด เช่น จานวนความผิดพลาด
ในการยิงลูกโทษบาสเกตบอล ฟุตบอล คิดเป็นร้อยละ
1.5 จานวนครั้งที่ทาสาเร็จ เช่น จานวนครั้งที่ลูกบาสเกตบอล
ลงห่วง จานวนครั้งที่ลูกฟุตบอลเข้าประตูหรือตรงกรอบ
จานวนครั้งที่เสริฟเทนนิสลงบนคอร์ต
1.6 เวลาบนเป้าหมาย (Time on Target) เช่น เวลาที่ติดตาม
เป้าหมายที่เคลื่อนที่บนจอโทรทัศน์
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
จงตอบคาถาม
1. จงยกตัวอย่างกีฬาที่เป็นทักษะปิด อย่างน้อย 5 ชนิดกีฬา
2. จงยกตัวอย่างกีฬาที่เป็นทักษะเปิด อย่างน้อย 5 ชนิดกีฬา
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การประเมินการเรียนรู้
(Assessing Learning)
เป็นการประเมินว่าสิ่งที่ได้สอนไป ผู้เรียนได้เกิดการ
เรียนรู้ เช่น สอนการเสริฟเทนนิส ผู้สอนควรสังเกตการเสริฟ
ว่าอะไรจะช่วยประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การประเมินการเรียนรู้
(Assessing Learning)
1.1 การแสดงความสามารถ (Performance) คือ พฤติกรรมที่
แสดงออกในทักษะการเคลื่อนไหวที่สามารถสังเกตได้
เช่น การตีเทนนิส การเตะฟุตบอล การวิ่ง 100 เมตร การ
ขับรถ เป็นต้น
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1. คาจากัดความของการแสดงความสามารถและการเรียนรู้
(Performance and Learning)
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้
การประเมินการเรียนรู้
(Assessing Learning)
1.2 การเรียนรู้ (Learning) คือ กระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน
ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง จึงอนุมานได้จากการสังเกต
จากการแสดงความสามารถแต่ละบุคคล โดยการ
เปลี่ยนแปลงในความสามารถที่ค่อนข้างถาวร เป็นผลมา
จากการฝึ กปฏิบัติหรือประสบการณ์
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การประเมินการเรียนรู้
(Assessing Learning)
2.1 การสังเกตการฝึกปฏิบัติ (Practice Observation)
เป็นการเก็บบันทึกการแสดงความสามารถในระหว่าง
ที่ฝึกทักษะใหม่ นาเสนอในรูปโค้งการเรียนรู้
(Learning Curve)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2. การอนุมานการเรียนรู้
ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้
โค้งการเรียนรู้
(Learning Curve)
โค้งการเรียนรู้เชิงเส้นตรง
(Linear)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระดับความสามารถของทักษะ
จานวนครั้งหรือ
จานวนวัน
โค้งการเรียนรู้อัตราเร่งลดลง
(Negatively Accelerated)
โค้งการเรียนรู้
(Learning Curve)
โค้งการเรียนรู้อัตราเร่งเพิ่มขึ้น
(Positively Accelerated)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระดับความสามารถของทักษะ
จานวนครั้งหรือ
จานวนวัน
โค้งการเรียนรู้อักษร S
ระดับราบของโค้งการเรียนรู้
(Plateau)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ระดับการเรียนรู้ของนักกีฬาไม่มีการ
พัฒนาเพิ่มขึ้น แม้จะได้ฝึกปฏิบัติอย่าง
ต่อเนื่อง เช่น นักกอล์ฟมีคะแนน 90 ทุกครั้ง
นักกีฬายิ่งธนู คะแนน 80 ทุกครั้ง
กล่าวคือ ความสามารถของทักษะหยุดนิ่ง
หรือคงเดิมชั่วระยะเวลาหนึ่ง ก่อนจะมีพัฒนา
เกิดขึ้น
การประเมินการเรียนรู้
(Assessing Learning)
2.2 การทดสอบการคงอยู่ของการเรียนรู้ (Retention Test)
การทดสอบก่อนฝึกทักษะ ทาการฝึกทักษะเป็น
ระยะเวลาหนึ่ง จากนั้นทาการทดสอบอีกครั้ง ความ
แตกต่างระหว่างคะแนนการทดสอบครั้งแรกและครั้งที่สอง
เป็นตัวบ่งชี้ถึงพัฒนาการของทักษะ แล้วหยุดการฝึกเป็น
ระยะเวลาหนึ่ง ทาการทดสอบอีกครั้ง เพื่อให้รู้ถึงการคงอยู่
ของการเรียนรู้
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การประเมินการเรียนรู้
(Assessing Learning)
2.3 การทดสอบการถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer Test)
เป็นการนาความรู้ที่ได้เรียนผ่านมาก่อนมาใช้ใน
สถานการณ์หรือแบบฝึกใหม่ เช่น ทดสอบก่อนฝึกด้วย
แบบทดสอบการเสริฟในการเล่นเกมส์แข่งขัน (Pre-test)
ฝึกปฏิบัติทักษะการเสริฟเทนนิสเป็นระยะเวลาหนึ่ง
หลังจากนั้นทาการทดสอบอีกครั้ง (Post-test)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
ได้แก่ กอล์ฟ ยิงปืน ยิงธนู โบว์ลิ่ง สนุกเกอร์ เปตอง เป็นต้น
ประกอบด้วยกลุ่มกีฬา ดังนี้
1. กลุ่มกีฬาที่อาศัยประสาทรับรู้ทางกลไก (Sensomotor Sports)
ลักษณะพื้นฐานเฉพาะด้าน
ต้องการความแน่นอน แม่นยาที่กระทาต่อเป้า
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
สภาวะความต้องการทางจิต
ต้องการประสานงานของระบบประสาทรับรู้ทางกลไก
การทรงตัว ความมั่นคงทางด้านสมาธิ ความตั้งใจที่แน่วแน่ ไม่
หวั่นไหวง่าย ความแน่นอน แม่นยาในแต่ละอิริยาบถของการ
เคลื่อนไหว การคาดคะเนระยะทาง
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
ได้แก่ กรีฑา ว่ายน้า จักรยาน เรือพาย ยกน้าหนัก สกี วินด์เซิร์ฟ
เรือใบ เป็นต้น
ประกอบด้วยกลุ่มกีฬา ดังนี้
2. กลุ่มกีฬาที่อาศัยการหมุนเวียนของระบบพลังงาน
(Functionally Activation Sports or Energy Mobilizing Sports)
ลักษณะพื้นฐานเฉพาะด้าน
ต้องการแหล่งพลังงานหมุนเวียนทั้งระยะสั้นและระยะยาว
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
สภาวะความต้องการทางจิต
ต้องการความสามารถในการกระตุ้นระบบพลังงานทั้ง
ระยะสั้นและระยะยาว เพื่อใช้แสดงความสามารถเฉพาะด้าน
ความอดทน ความมุ่งมั่นตั้งใจ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
ได้แก่ ยิมนาสติก การขี่ม้า ฟิกเกอร์สเกต กระโดดน้า ลีลาศ
เป็นต้น
ประกอบด้วยกลุ่มกีฬา ดังนี้
3. กลุ่มกีฬาประเภทความสวยงามที่อาศัยความสัมพันธ์
ในการเคลื่อนไหว (Sports of Aesthetic Coordination)
ลักษณะพื้นฐานเฉพาะด้าน
ต้องการความสวยงามในการเคลื่อนไหวที่เป็นธรรมชาติ
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
สภาวะความต้องการทางจิต
ต้องการความสามารถทางศิลปะ การจินตภาพ การเข้าถึง
อารมณ์ ความรู้สึกของการเคลื่อนไหวและวัฒนธรรม ประเพณี
มีการประสานงานของระบบกลไกการเคลื่อนไหวที่ดี และมี
ความสามารถในการจดจาอากัปกิริยาในการเคลื่อนไหวได้อย่าง
ยอดเยี่ยม
อ.ธัชวัสส์ ตั้งตรงขันติ โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
ได้แก่ แข่งรถ กระโดดร่ม ไต่เขา ดาน้า สกี เป็นต้น
ประกอบด้วยกลุ่มกีฬา ดังนี้
4. กลุ่มกีฬาที่อาศัยความกล้าและความเสี่ยงต่อการเกิด
อันตราย (Moral Volitional Sports or Dangerous Sports)
ลักษณะพื้นฐานเฉพาะด้าน
ต้องการเอาชนะปัญหา อุปสรรค ทั้งภายในและภายนอกตนเอง
เช่น ความกลัว
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
สภาวะความต้องการทางจิต
ต้องการการตัดสินใจและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ความกลัว กาลังใจ และความแน่นอน แม่นยาในการควบคุม
ตนเองตลอดเวลา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
ได้แก่ มวย มวยปล้า ยูโด เทควันโด ปัญจสีรัต ฟันดาบ เป็นต้น
ประกอบด้วยกลุ่มกีฬา ดังนี้
5. กลุ่มกีฬาประเภทที่ต้องใช้แรงปะทะต่อสู้กัน (Combat Sports)
ลักษณะพื้นฐานเฉพาะด้าน
ต้องการเอาชนะฝ่ ายตรงข้ามหรือคู่ต่อสู้ เมื่อเผชิญหน้ากัน
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
สภาวะความต้องการทางจิต
ต้องการความสุขุมเพื่อรอจังหวะหรือชิงลงมือปฏิบัติก่อน
เพื่อความได้เปรียบ มีการคาดการณ์หรือเดาใจคู่แข่งขัน มีการ
รับรู้และตัดสินใจที่รวดเร็ว และมีความแน่นอน แม่นยาในการ
ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหว
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
ได้แก่ ฟุตบอล วอลเลย์บอล แฮนด์บอล ฮอกกี้รักบี้เซปัคตะกร้อ
เป็นต้น
ประกอบด้วยกลุ่มกีฬา ดังนี้
6. กลุ่มกีฬาประเภทเกมหรือบอล (Game or Ball Sports)
ลักษณะพื้นฐานเฉพาะด้าน
ต้องการเอาชนะทีมตรงข้าม โดยอาศัยความสัมพันธ์และการ
ประสานงานที่ดีภายในทีม
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การแบ่งกลุ่มกีฬาตามลักษณะพื้นฐานทางจิตวิทยา
สภาวะความต้องการทางจิต
ต้องการศักยภาพทางจิตในการคิดสร้างสรรค์แทคติก การ
เล่นที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน ความเข้าใจและการรู้ถึงจิตใจของ
เพื่อนรวมทีม เพื่อประสานงานอย่างยอดเยี่ยมภายในทีม
(ความสัมพันธ์ในทีม)
อ.ภาคภูมิ พิลึก โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)
5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)
5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)teerachon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3Mam Chongruk
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211Darika Roopdee
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 

What's hot (20)

ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)
5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)
5.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.3)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 

Viewers also liked

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10pop Jaturong
 
อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้Krangkir Kanjapan
 
อัจฉริยสร้างได้ -
อัจฉริยสร้างได้  -อัจฉริยสร้างได้  -
อัจฉริยสร้างได้ -isaramak
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบkrutitirut
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision makingpop Jaturong
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)krutitirut
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศkruuni
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgettingpop Jaturong
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jitpop Jaturong
 

Viewers also liked (20)

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
 
อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้
 
อัจฉริยสร้างได้ -
อัจฉริยสร้างได้  -อัจฉริยสร้างได้  -
อัจฉริยสร้างได้ -
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
02 abc
02 abc02 abc
02 abc
 
04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jit
 

Similar to 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทkonnycandy4
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathidaasirwa04
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 

Similar to 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4 (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
Work 1 piyathida
Work 1 piyathidaWork 1 piyathida
Work 1 piyathida
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 3
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4