SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
1




                   เรื่อง
การเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย

                 ชุดที่ 2
           การเคลือนไหวเบืองต้น
                  ่       ้

วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัสวิชา พ 33101
     ช่วงชั้นที่ 3 ชันมัธยมศึกษาปีที่ ٣
                     ้


                จัดทำาโดย
             นายสุพัฒน์ อัตจริต
         ครูชำานาญการ อันดับ คศ. 2
  กลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
                     ้
   โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔


สำานักงานพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
  สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน
                                  ้
             กระทรวงศึกษาธิการ
                      คำานำา
2


        แบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ผู้
สอนจัดทำาขึ้นเพื่อใช้เป็นนวัตกรรมการเรียนรูวิชาสุขศึกษาและ
                                           ้
พลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา พ 33101 ซึ่งสอดคล้อง
กับสาระที่ 4 เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค ตาม
มาตรฐาน พ 4.1 ทีให้นักเรียนเห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้าง
                     ่
เสริมสุขภาพ และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ การดำารง
สุขภาพ การป้องกันโรค แบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกาย มีทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้
                            ١. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (
ครั้งที่ 1)
                      2. การเคลื่อนไหวเบื้องต้น
                          3. การเต้นแอโรบิคเบื้องต้น
                            4. การเต้นแอโรบิคเบื้องต้นประกอบ
จังหวะดนตรี
                            5. การจัดโปรแกรมเพื่อผลทาง
สมรรถภาพทางกาย
                            6. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (
ครั้งที่ 2)
           เนื้อหาของแบบฝึกแต่ละชุด จะอธิบายทีละขั้นตอน เข้าใจ
ง่าย ครูสามารถนำาไปประกอบการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี เป็นสิ่ง
ที่ช่วยทุ่นแรงครู โดยมีแผนจัดการเรียนรู้เป็นตัวชี้นำาทาง สำาหรับ
นักเรียนก็สามารถอ่านและนำาไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง หรือกับกลุ่ม
เพื่อนทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนหรือแม้จะอยู่ทบ้านก็ตาม
                                                       ี่
           หวังเป็นอย่างยิงว่า แบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริม
                          ่
สมรรถภาพทางกายเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคนที่
ต้องการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำาความรูในเรื่องการ
                                                          ้
เต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายมาใช้ให้เป็นประโยชน์
แก่ตนเอง และผู้อื่น สำาหรับครูคงอำานวยประโยชน์ และใช้เป็น
แนวทางการสอน เกิดความคิดสร้างสรรค์ ก่อเกิดการพัฒนาคุณภาพ
การเรียนการสอน การผลิตสื่อ/นวัตกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
และพลศึกษาได้เป็นอย่างดี



                                                                (
นายสุพัฒน์ อัตจริต)
3



ครู อันดับ คศ. 2
                                                                          โรงเรียน
บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔

                                      สารบัญ



หน้า

        คำานำา
ก
        สารบัญ
ข
        คำาแนะนำาสำาหรับครู
ค
        คำาแนะนำาสำาหรับนักเรียน
ง
        แผนจัดการเรียนรู้
จ
        แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
ฉ
        แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
ช
        ชุดที่ 2 การเคลื่อนไหวเบื้องต้น
                       การจัดท่าทางหรือการ
ยืน.......................................................................................
...
                       การก้าว
เท้า......................................................................................
..........................
                       การกระ
โดด.....................................................................................
.........................
4


                         การหันหรือการหมุน
  ...........................................................................................
  .....
                         การโค้ง
  ตัว.......................................................................................
  ..........................
                         การ
  ทรงตัว..................................................................................
  ...............................
          บรรณานุกรม .................................................................
  .........................................................




                คำาแนะนำาการใช้แบบฝึกสำาหรับครู


  วัตถุประสงค์ของแบบฝึก
             1. นักเรียนรู้เข้าใจและอธิบายความสำาคัญของหลักการ
  เคลื่อนไหวเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
        2. นักเรียนมีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอย่างถูกต้อง
                 3. นักเรียนสามารถนำาไปปฏิบัติในการนำาไปใช้ในชีวิต
ประจำาวันได้
             4. นักเรียนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี

  เป้าหมายของแบบฝึก
            ١. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยว
  กับการเต้นแอโรบิค
5


         ٢. นักเรียนมีพฤติกรรมการทำางานที่ดี ได้แก่ มีความ
สนใจในการปฏิบัติกิจกรรม
               มีความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อ
เวลาและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
          ٣. นักเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อ
สุขภาพในทางที่ดีขึ้น

วิธีใช้แบบฝึกไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้
           1. ครูควรศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล
เกี่ยวกับสุขภาพ โรคประจำาตัว
           2. ครูควรคัดกรองนักเรียนที่มปัญหาทางสุขภาพ ให้คำา
                                       ี
แนะนำา ไม่ควรบังคับนักเรียน
           3. ครูควรศึกษาแผนจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นแนวทางจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
           4. ครูควรอธิบายเนื้อหาให้ชัดเจน การฝึกปฏิบัติ ควรให้คำา
แนะนำาอย่างใกล้ชิด
           5. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติเป็น
ฐาน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา
                และฝึกพฤติกรรมการทำางานที่ดี
           6. หลังจากสอนเนื้อหาแล้วให้นักเรียนประเมินความรูใน้
แต่ละเรื่องเพื่อเก็บเป็นข้อมูล




       คำาแนะนำาการใช้แบบฝึกสำาหรับนักเรียน


วัตถุประสงค์ของแบบฝึก
         1. นักเรียนรู้เข้าใจและอธิบายความสำาคัญของหลักการ
เคลื่อนไหวเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
6


        2. นักเรียนมีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอย่างถูกต้อง
                 3. นักเรียนสามารถนำาไปปฏิบัติในการนำาไปใช้ในชีวิต
ประจำาวันได้
             4. นักเรียนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี
  เป้าหมายของแบบฝึก
              ١. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยว
  กับการเต้นแอโรบิค
              ٢. นักเรียนมีพฤติกรรมการทำางานที่ดี ได้แก่ มีความ
  สนใจในการปฏิบัติกิจกรรม
                   มี ความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อ
  เวลาและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
              ٣. นักเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
  ในทางที่ดีขึ้น

  วิธีใช้แบบฝึกไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้
              1. นักเรียนต้องมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำาตัว ถ้ามี
  ปัญหาด้านสุขภาพควรแจ้งให้ครู
                  ประจำาวิชาทราบ
              2. นักเรียนควรอบอุ่นร่างกายให้เพียงพอก่อนการออกกำาลัง
  กาย
              3. ไม่ควรออกกำาลังกายหลังจากรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ
              4. ไม่ควรออกกำาลังกายขณะที่มีอาการป่วยไข้ หรือพักผ่อน
  ไม่เพียงพอ
              5. นักเรียนควรฟังคำาอธิบายเนื้อหาให้ชัดเจน และควร
  ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
              6. ควรตั้งเป้าหมาย และทำาเต็มความสามารถของตนเอง
              7. นักเรียนควรฝึกพฤติกรรมการทำางานที่ดีควบคู่กัน
              8. หลังจากการฝึกแล้ว นักเรียนควรประเมินความรูในแต่ละ
                                                              ้
  เรื่องเพื่อเก็บเป็นข้อมูล
7


                โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) ๔
                       แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
  รหัสวิชา       พ 33101                รายวิชา สุขศึกษาและ
  พลศึกษา                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  เรื่อง    การเคลื่อนไหวเบื้องต้น
  จำานวน 1           คาบ
  สาระที่ 4 : การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
  มาตรฐานการเรียนรู้ พ : 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้าง
  เสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ
                                         การป้องกันโรค และการสร้าง
  เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
  ………………………………………………………………………………………
  ……………….
  1. สาระสำาคัญ
         การเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ และความ
  สมบูรณ์พร้อมทางกาย (Fitness) มีความสำาคัญยิ่งต่อสุขภาพและความ
  อภิรมณ์ของประชาชนทุกวัย และตลอดช่วงอายุขัยความสมบูรณ์พร้อม
  ทางกาย เป็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกกำาลัง
  กาย พฤติกรรมจะเกิดขึ้นอย่างสมำ่าเสมอ จำาเป็นต้องบูรณาการการ
  เคลื่อนไหวและออกกำาลังกายร่วมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับวิถีชีวิต
  2. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
              มาตรฐานที่ 6 เห็นความสำาคัญของการมีสมรรถภาพที่ดี
  จากการออกกำาลังกายและเล่นกีฬา
  3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
             เห็นความสำาคัญของหลักการเคลื่อนไปเบื้องต้น รู้เข้าใจ
  และมีทักษะ สามารถนำาหลักการเคลื่อนไหวไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้
  4. จุดประสงค์การเรียนรู้
             1. นักเรียนรู้เข้าใจและอธิบายความสำาคัญของหลักการ
  เคลื่อนไหวเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
        2. นักเรียนมีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอย่างถูกต้อง
                 3. นักเรียนสามารถนำาไปปฏิบัติในการนำาไปใช้ในชีวิต
ประจำาวันได้
             4. นักเรียนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี
  5. เนื้อหาสาระ
             การเคลื่อนไหวเบื้องต้น
8


                 1. การจัดท่าทางหรือการยืน ท่าที่สำาคัญในการเริ่มต้น
คือ ท่ายืน คนเราเมื่ออายุมากขึ้นมักจะหลังโกง พุงยืน หลังแอ่น ก้น
                                                    ่
งอน ท่ายืนที่ถูกต้องจะต้องประกอบด้วย
                    1.1 ศีรษะตั้งตรงไม่ยนไปข้างหน้า หรือเอียงข้าง
                                          ื่
ใดข้างหนึ่ง
                    1.2 หลังยืดตรง ไหล่ไม่งุ้มหรือเอียง
                    1.3 พุงไม่ยื่นไปข้างหน้า
                    1.4 หลังบริเวณเอวไม่แอ่น
                    1.5 กระดูกเชิงกรานไม่เอนทำามุมมากจนกระทั่งก้น
ยื่นไปข้างหลังมากเกินไป
                    1.6 มองจากด้านข้างเมื่อลากเส้นตรงในแนวดิ่งเริ่ม
ต้นจากติ่งหู เส้นนั้นควรจะผ่านกึ่งกลางของไหล่ จุดกึ่งกลางของ
กระดูกเชิงกราน ด้านหลังของสะบ้าหัวเข่าและตาตุ่ม
                2. การก้าวเท้า เพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ ซึ่งในชีวิต
ประจำาวันเรามักใช้กันอยู่ 2 ลักษณะคือ การเดินและการวิง การ
                                                         ่
เคลื่อนไหวทังสองเป็นการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกันด้วยความเร็วและ
              ้
ลักษณะการก้าวเท้า การฝึกการเต้นแอโรบิคจะนำาการก้าวเท้ามา
ฝึกหัดใหม่เพื่อเพิ่มทักษะในการประสานงานและความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อ โดยพัฒนาด้วยปัจจัยต่าง ๆ คือ
                     2.1 ทิศทาง เช่น การเดินหรือวิ่งตรง วิงผ่าน ซิก
                                                             ่
แซก โค้งวงกลม ก้าวไปข้าง ๆ เดินหน้า ถอยหลัง
                          2.2 ระดับ การเดินหรือการวิ่งในระดับ ต่าง
ระดับ บนทางชัน ทางลาด
            2.3 ระยะทาง ใกล้ ไกล ก้าวสั้น ก้าวยาว
                   2.4 การลงนำ้าหนัก การก้าวลงนำ้าหนัก การก้าว
อย่างแผ่วเบา การถ่ายนำ้าหนักจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย
                        2.5 ความเร็ว ก้าวช้า ก้าวเร็ว การหยุด
                        2.6 จังหวะ การก้าวเร็วสลับช้า หนึ่งจังหวะ
สองจังหวะ สามจังหวะ
                 3. การกระโดด
                    Jump หมายถึง การกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้น
ด้วยเท้าทังสองข้างพร้อมกันและกลับลงถึงพื้นพร้อมกันทั้งสอง
          ้
                    Hop หมายถึง การกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้นด้วย
เท้าข้างใดข้างหนึ่งเท้าเดียวแล้วกลับลงสู่พื้นด้วยเท้าข้างเดิม
                 4. การหันหรือการหมุน เป็นการเคลื่อนไหวเบื้องต้นที่
จะนำาไปสู่การเปลี่ยนทิศทางและเปลี่ยนลีลา การหมุนแบ่งเป็น 3 แบบ
คือ
9


                     1. หมุนแบบปิด
                     2. หมุนแบบเปิด
                     3. กระโดดหมุน
               การหมุนแบบปิดและเปิดต่างกันทีท่าทางของร่างกายว่า
                                               ่
มีลักษณะม้วนหรือหุบเข้าเป็นลักษณะปิด ถ้ามีลักษณะกางหรือยืดออก
ก็เป็นการแสดงความรู้สึกเปิด การหันหรือการหมุนมักจะเป็นสิ่งที่ยาก
สำาหรับคนหัดเต้นรำาเพราะจะต้องอาศัยการทำางานที่สัมพันธ์กันของ
กล้ามเนื้อหลายส่วนรวมทั้งลีลาการก้าวเท้าที่ซับซ้อนขึ้น จึงเป็น
กิจกรรมที่มีประโยชน์อย่างหนึ่งในการฝึกหัดการประสานงานของ
กล้ามเนื้อและประสาท
               การหมุนแบบง่าย ๆ และให้ประโยชน์มาก คือ การหมุน
บนปลายเท้าเพียงครึงรอบ ่
ซึ่งจะใช้เท้าเดียวหรือสองเท้าก็ได้ จะทำาให้เราเปลียนทิศทางได้ง่าย
                                                  ่
และรวดเร็วโดยไม่ก้าวเท้า
                  5. การโค้งตัว ตามความหมายการโค้งตัวลงทางด้าน
หน้าเราเรียกว่า การก้ม และการม้วน การโค้งตัวไปด้านหลัง เรียกว่า
แอ่นหลัง โค้งตัวไปด้านข้างเรียกว่า เอียงข้าง การกระทำาเช่นนั้นได้
ต้องอาศัยความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อและข้อต่อกระดูกสันหลังค่อน
ข้างมากซึ่งจะต้องมีการฝึกหัดอย่างค่อยเป็นค่อยไป สิ่งที่ควรจำา
ประการหนึ่งคือ ขณะที่เราโค้งตัวลงด้านข้าง ขอให้เป็นการตะแคงตัว
ลงจริง ๆ อย่าบิดเอวหรือก้มตัว
                  6. การทรงตัว การฝึกหัดการทรงตัวควรจะกระทำาให้
หลาย ๆ ท่า ทังท่ายืน นั่ง และนอน ทังนี้เพราะการทรงตัวจะต้องอาศัย
                ้                    ้
ทั้งความแข็งแรง และการประสานงานของกล้ามเนื้อ รวมทั้งการ
ทำางานของระบบประสาทด้วย จึงควรฝึกหัดเพื่อเพิ่มทักษะให้มาก การ
ฝึกหัดการทรงตัวควรทำาอย่างช้า ๆ และการทรงตัวอยูในท่าใดท่าหนึง
                                                    ่            ่
ควรทำาให้นิ่งไว้ประมาณสองสามวินาทีเป็นอย่างน้อย
6. กิจกรรมการเรียนรู้
       ขั้นนำา
       1. นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว ๆละ 10 คน
       2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการออกกำาลังกายในชีวิต
ประจำาวัน
       3. ครูกล่าวถึงการนำาแบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายมาฝึกปฏิบัติเนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาใน
เรื่องของความอดทนหรือความทนทานของระบบหายใจและระบบไหล
เวียนโลหิต โดยศึกษาข้อมูลจากการที่นักเรียนทำาการทดสอบ
สมรรถภาพทางกายและนำามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
10


      4. ครูชี้แจงในเรื่องหลักการเคลื่อนไหวเบื้องต้นให้นักเรียน
      5. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม
      ขั้นอธิบายและสาธิตการฝึกปฏิบัติ
      1. ครูอธิบายและสาธิตท่าทางการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ได้แก่
การยืน การก้าวเท้า
การกระโดด การหันหรือการหมุน การโค้งตัว การทรงตัว
      2. นักเรียนเข้าแถวตามเดิมแต่ขยายแถวระยะห่างสองช่วงแขน
      3. อบอุ่นร่างกายด้วยการเหยียดกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ
      4. มอบหมายให้นักเรียนรับผิดชอบการอบอุ่นร่างกายหน้าแถว
      ขั้นสอนหรือฝึกปฏิบัติ
      1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 10 คน
      2. ฝึกการเคลื่อนไหวเบื้องต้นโดยแบ่งออกเป็น 6 ฐาน
      3. ใช้เวลาในแต่ละฐาน 5 นาที
      4. ครูเป็นผู้จับเวลาเมื่อครบเวลาให้นักเรียนเปลี่ยนฐาน
      ขั้นนำาไปใช้
      1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าแถวตอน 5 แถว ๆ ละ 10 คน
      2. ระยะห่างจากแถว 2 ช่วงแขน
      3. แข่งขันการจัดท่าทางการยืน การก้าวเท้า การกระโดด
          การหันหรือการหมุน
การโค้งตัว การทรงตัว
      4. กล่าวคำาชมเชยในความตั้งใจของนักเรียน
      ขั้นสรุปและประเมินผล
      1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าแถวตอน 5 แถว ๆ ละ 10 คน
      2. ครูสรุปเนื้อหาการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอีกครั้งหนึ่ง
      3. เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการซักถาม
      4. ครูอธิบายแบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
      5. ครูอธิบายพฤติกรรมระหว่างเรียนและการฝึกปฏิบัติระหว่าง
          เรียนและการฝึกปฏิบัติ
      6. สุขปฏิบัติ
      7. นัดหมายการเรียนครั้งต่อไป
7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
             1. แบบฝึกการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
             2. แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
              3. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
8. การวัดผลและประเมินผล
      วิธีวัดผล
      1. ผลการฝึกปฏิบัติการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
11


     2. สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนและการฝึกปฏิบัติ
     เครื่องมือวัดผล
     1. แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
             2. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
     เกณฑ์การประเมินผล
     1. แบบฝึกการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
                ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี ระดับ 3 ปานกลาง
ระดับ 2 ตำ่า ระดับ 1 ตำ่ามาก
            2. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
                ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี ระดับ 3 ปานกลาง
ระดับ 2 ตำ่า ระดับ 1 ตำ่ามาก
9. กิจกรรมสืบเนื่อง
                               -
                                    ลงชื่อ       สุพัฒน์ อัตจริต
                                          (นายสุพัฒน์ อัตจริต)
                                                   ตำาแหน่งครู

    …… / ............ / .............
10. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
         เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี มีกิจกรรมการเรียนการสอน
  สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เนื้อหาวิชาและสื่อการเรียน
  การสอน

                                  ลงชื่อ     พิศวาท คะลีลวน
                                                          ้
                                               (นางพิศวาท คะลี
                          ล้วน)
                                    ตำาแหน่ง รองผู้อำานวยการก
                          ลุ่มบริหารวิชาการ

١1. ข้อเสนอแนะของผู้อำานวยการโรงเรียน
           จัดทำาแผนการจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้
 ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมเน้นผู้เรียนเป็น
 สำาคัญ

                                    ลงชื่อ          วิสิทธิ์ ใจ
                                  เถิง
12


                                                     (นายวิสทธิ์ ใจ
                                                            ิ
                                  เถิง)
                                                          ผู้อำานวย
การโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔

12. บันทึกหลังการสอน
             ด้านผลการเรียน
              นักเรียนเรียนรู้หลักการเคลื่อนไหวเบื้องต้นได้ดี เพราะใช้
ในชิวิตประจำาวันอยู่แล้ว เพียงแต่ปรับแก้เล็กน้อยผลสัมฤทธิ์จึงออกมา
ในเกณฑ์ ดีและดีมาก
             ด้านพฤติกรรม
         1. นักเรียนมีปัญหาอุปสรรคอยู่บ้างในห้องท้าย ๆ แต่ส่วนใหญ่
ตั้งใจเรียน มีความสนใจในการเรียนเป็นอย่างดี
           2. ยังติดการเล่น มองข้ามความสนใจ แต่เป็นกิจกรรมง่ายจึง
     ผ่านเกณฑ์ที่ดี
              ปัญหาและอุปสรรค
               สถานที่ไม่สะดวกเท่าที่ควรเพราะต้องใช้ใต้ตึกอาคาร 2
เป็นที่เรียนซึ่งเป็นสถานที่คับแคบเนื่องจากทางโรงเรียนไม่มีโรงฝึก
พลศึกษา
              ข้อเสนอแนะ
                การตรงต่อเวลานักเรียนยังต้องแก้ไข การกระโดดหมุน
ตัวยังต้องมีการพัฒนา


ลงชื่อ      สุพัฒน์ อัตจริต

( นายสุพัฒน์ อัตจริต ) ผู้บันทึก




         โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี) ๔

             แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
                    ปีการศึกษา 2550
13


ชื่อ .....................................นามสกุล.................................
เพศ                   ชาย                   หญิง
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหสวิชา พ 33101 ชั้น    ั
มัธยมศึกษาปีที่ 3 /....... เลขที่..........



                                      ระดับคุณภาพ
    ที่         เรื่อง                                              หมายเหตุ
                                ٥      ٤    ٣  ٢            ١
   ١.     การจัดท่าทาง                                            เกณฑ์การ
          การยืน                                                  ประเมินค่า
   ٢.     การก้าว                                                 ระดับ ٥    ดี
   ٣.     การกระโดด                                               มาก
                                                                  ระดับ ٤ ดี
   ٤.     การหันหรือการ                                           ระดับ ٣
          หมุน                                                    ปานกลาง
   ٥.     การโค้งตัว                                              ระดับ ٢ ตำ่า
   ٦.     เรื่องการ                                               ระดับ ١ ตำ่า
          ทรงตัว                                                  มาก




                                         ลงชื่อ…….....………………………….ผู้บันทึก

                              (……………………………….)

…………/…………/………..




           โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี) ๔
14


           แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
                     ปีการศึกษา 2550
ชื่อ .....................................นามสกุล.................................
เพศ                   ชาย                   หญิง
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหสวิชา พ 33101 ชั้น    ั
มัธยมศึกษาปีที่ 3 /....... เลขที่..........


                                      ระดับคุณภาพ
   ที่          เรื่อง                                              หมายเหตุ
                                ٥      ٤    ٣  ٢            ١
         ความรับผิด                                               เกณฑ์การ
   ١.
         ชอบ                                                      ประเมินค่า
                                                                  ระดับ ٥    ดี
   ٢.    ความสนใจ
                                                                  มาก
         ความขยัน                                                 ระดับ ٤ ดี
   ٣.
         อดทน                                                     ระดับ ٣
         ความมีนำ้าใจ                                             ปานกลาง
   ٤.
         เสียสละ                                                  ระดับ ٢ ตำ่า
         ความคิดริเริ่ม                                           ระดับ ١ ตำ่า
   ٥.                                                             มาก
         สร้างสรรค์




                                         ลงชื่อ…….....………………………….ผู้บันทึก

                              (……………………………….)

…………/…………/………..




                         การเคลือนไหวเบืองต้น
                                ่       ้
การเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายสำาหรับเด็ก และเยาวชน
     การเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ และความ
สมบูรณ์พร้อมทางกาย (Fitness)
15


มีความสำาคัญยิ่งต่อสุขภาพและความอภิรมณ์ของประชาชนทุกวัย และ
ตลอดช่วงอายุขัยความสมบูรณ์พร้อมทางกาย เป็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากพฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกกำาลังกาย พฤติกรรมจะเกิดขึ้นอย่าง
สมำ่าเสมอ จำาเป็นต้องบูรณาการการเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายร่วม
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับวิถีชีวิต ทีสำาคัญคือวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉงนั้น
                                   ่
ควรปลูกฝังตั้งแต่เด็กและเยาวชน ซึ่งจะกลายเป็นนิสัยติดตัวไปจนเติบ
ใหญ่ พ่อ แม่ ผู้ปกครองย่อมเป็นผู้มีบทบาทสำาคัญในการปลูกฝังนิสัย
ดังกล่าว ขณะเดียวกันโรงเรียนก็มีบทบาทสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน
เพราะโรงเรียนเป็นอีกสถานที่หนึ่งซึ่งเด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาเกือบ
ค่อนวันทำากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเนนชาว์ปัญญา ร่างกาย และ
จิตใจ นอกจากนั้นชุมชนยังสามารถช่วยเสริมในรื่องดังกล่าวได้ด้วย
       หลักฐานจำานวนมากสนับสนุนให้เห็นว่า การเคลื่อนไหวและออก
กำาลังกายสมำ่าเสมอช่วยทำาให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี และความ
สมบูรณ์พร้อมทางกาย ขณะที่อายุน้อยเด็กมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนไหว
กระฉับกระเฉงค่อนข้างมาก มักจะทำากิจกรรมที่ค่อนข้างหนักเป็นช่วง
สั้น ๆ มากกว่าการทำากิจกรรมต่อเนื่อง วัยเด็กจึงเป็นช่วงที่ทักษะทาง
กลไก ( การขว้าง การกระโดด การวิ่ง การขี่ การว่ายนำ้า ) กำาลังพัฒนา
มากที่สุด แต่เมื่อเด็กโตขึ้นการเคลื่อนไหวดังกล่าวกลับลดลง เด็กและ
เยาวชนมีนำ้าหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากการลดกิจกรรมทาง
กาย และการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยไขมันและแป้ง ซึ่งให้พลังงาน
สูง
       การออกกำาลังกายเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายตามรูปแบบที่
กำาหนด เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ หรือธำารงสมรรถภาพทางกาย การออก
กำาลังกายแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะของกิจกรรมและจุดมุ่ง
หมาย ดังนี้
       ١. การออกกำาลังการแบบแอโรบิค (Aerobic exercises) หรือ
การฝึกความอดทน (Endurance training) เป็นการฝึกเพื่อเพิ่มพูน
ประสิทธิภาพของระบบผลิตพลังงานที่ใช้ออกซิเจน เพื่อสร้างความ
อดทนของระบบหัวใจและหายใจ โดยใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ออกกำาลัง
ซำ้า ๆ แบบใช้ออกซิเจน เช่น การเดิน การวิ่ง การปั่นจักรยาน การว่าย
นำ้า การเต้นแอโรบิค และการเล่นกีฬาประเภทฝึกความอดทน ความ
สมบูรณ์พร้อม หรือความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ มีคุณค่า
อย่างยิ่งต่อสุขภาพของหัวใจและช่วยลดโรคไร้เชื้อเรื้อรัง เช่น โรค
หัวใจ ความดันเลือดสูง เบาหวาน อ้วน กระดูกพรุน และมะเร็งบาง
ชนิด การออกกำาลังกายแบบแอโรบิค มีประโยชน์หลายอย่างซึ่งมีผล
ต่อความสมบูรณ์พร้อมของระบบหัวใจและหายใจ อาทิ เพิ่มการเผา
ผลาญพลังงาน พัฒนาความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือด
16


ควบคุมระดับไขมันในเลือด ลดไขมันตามร่างกาย ช่วยควบคุมความ
ดันเลือด ช่วยควบคุมความเครียด และเพิ่มความอดทน
       ٢. การออกกำาลังกายเสริมความแข็งแรงและอดทนของกล้าม
เนื้อ (Muscular Strength and endurance exercises) หรือการฝึก
ต้าน (Resistance)       เป็นการฝึกเพื่อสร้างความแข็งแรง พละกำาลัง
และความทรหดของกล้ามเนื้อ การออกกำาลังประเภทนี้ก่อให้เกิด
ประโยชน์ทสำาคัญ อาทิ พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ กระดูก
            ี่
และเส้นเอ็น ความคล่องแคล่ว และการทรงตัว ความตึงตัวของกล้าม
เนื้อและข้อต่อที่มั่นคง ลดโอกาสการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อและ
กระดูก เด็กและเยาวชนควรหลีกเลี่ยงการฝึกเพื่อแข่งขันยกนำ้าหนัก
และการสร้างเสริมกล้ามเนื้อจนกว่าการเจริญเติบโตทางเพศจะสมบูรณ์
       3. การออกกำาลังกายเสริมความอ่อนตัว (Flexibility exercises)
หรือการยืด เหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching) เป็นการฝึกเพื่อเพิ่มช่วง
การเคลื่อนไหวของข้อต่อและกล้ามเนื้อให้มากขึ้น ผูที่ขาดความอ่อน
                                                    ้
ตัวมักจะประสบปัญหา อาทิ ท่าทางไม่สง่า ปวดตึงไปทั่ว กล้ามเนื้อ
และข้อต่อบาดเจ็บ และปวดหลัง ตรงกันข้ามผูที่มีความอ่อนตัวดี จะ
                                              ้
สามารถเอื้อม เอี้ยวตัว ก้ม และยืด ได้ค่อนข้างง่าย ไม่ค่อยมีการบาด
เจ็บของกล้ามเนื้อและข้อต่อ การยืด เหยียดกล้ามเนื้อช่วยลด
ความเครียดและผ่อนคลาย
ทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
            ١. การจัดท่าทางหรือการยืน (Posture) เป็นการเริ่มต้น
ที่สำาคัญ ท่าที่สำาคัญในการเริ่มต้นคือ
 ท่ายืน เมื่อฝึกเป็นนิสัยจะช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพให้สง่างาม และ
เป็นพื้นฐานให้เกิดความคล่องตัวในการเคลื่อนไหวแบบอื่น ๆ ต่อไป
ท่ายืนที่ดีประกอบด้วย
                   1.1 ศีรษะตั้งตรงไม่ยนไปข้างหน้า หรือเอียงข้างใด
                                        ื่
ข้างหนึ่ง
                   1.2 หลังยืดตรง ไหล่ไม่งุ้มหรือเอียง
                   1.3 พุงไม่ยื่นไปด้านหน้า
                   1.4 หลังบริเวณเอวไม่แอ่น
                   1.5 กระดูกเชิงกรานไม่เอนทำามุมมากจนกระทั่งก้น
ยื่นไปข้างหลังมากเกินไป
                   1.6 ขาควรตั้งฉากกับแนวระนาบและลงนำ้าหนักเท่า
กันบนขาทั้งสองข้าง
                   1.7 มองจากด้านข้างเมื่อลากเส้นตรงในแนวดิ่งเริ่ม
ต้นจากติ่งหู เส้นนั้นควรจะผ่านกึ่งกลางของไหล่ จุดกึ่งกลางของ
กระดูกเชิงกราน ด้านหลังของสะบ้าหัวเข่าและตาตุ่ม
17




              การจัดท่าทางหรือการยืน (Posture)




      ٢. การก้าว (Stepping) หมายถึง การก้าวเท้าเพื่อให้เกิดการ
เคลื่อนที่ เช่น การเดิน และการวิง
                                ่
การเคลื่อนไหวทั้งสองเป็นการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกันด้วยความเร็ว
และลักษณะการก้าวเท้า แต่ในการฝึกกายบริหารและการเต้นรำา เรา
จะนำาการเคลื่อนไหวนี้มาฝึกเสียใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะในการประสาน
งานและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ โดยพัฒนาด้วยปัจจัยต่าง ๆ คือ
18


                2.1 ทิศทาง เช่น     วิ่งสลับฟันปลา โค้งวงกลม
ก้าวไปข้าง ๆ เดินหน้า ถอยหลัง
                     2.2 ระดับ เช่น การเดินหรือการวิ่งในระดับ
ต่างระดับ บนทางชัน ทางลาด
                2.3 ระยะทาง เช่น ใกล้ ไกล ก้าวสั้น ก้าวยาว
                2.4 การลงนำ้าหนัก เช่น การก้าวลงนำ้าหนัก การ
ก้าวอย่างแผ่วเบา การถ่ายนำ้าหนักจาก
                             ซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย
                2.5 ความเร็ว เช่น ก้าวช้า ก้าวเร็ว การหยุด
           2.6 จังหวะ เช่น การก้าวเร็วสลับช้า หนึ่งจังหวะ สอง
จังหวะ สามจังหวะ

                                             การก้าวเดิน




                                         การวิ่งสลับฟันปลา (
ซิกแซก)




                                         การวิ่งทางโค้ง
(วงกลม)
19




      ٣. การกระโดด ( Jump and Hop ) แยกได้สองประเภท
คือ
                   3.1 Jump เป็นการกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้นด้วย
เท้าทั้งสองข้างพร้อมกันและกลับลงถึงพื้นพร้อมกันทังสองเท้า
                                                    ้
                   3.2 Hop เป็นการกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้นด้วยเท้า
ข้างใดข้างหนึ่งเท้าเดียวและกลับลงสู่พื้นด้วยเท้าข้างเดิม
              กิริยาทั้งสองแบบเกิดขึ้นโดยอาศัยแรงสปริงของกล้าม
เนื้อขาและเท้า เพื่อดีดตัวให้พ้นจากพื้น และขณะกลับลงสู่พื้นใช้การ
เกร็งตัวของกล้ามเนื้อขาและเท้า เพื่อรองรับนำ้าหนักและแรงกระแทก
 การเคลื่อนไหวทั้งขาขึ้นและขาลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่
ลอยตัวขึ้นจากพื้นอาจจะมีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายร่วม
ไปด้วย

                                               การกระโดด
20


           ٤. การหันหรือการหมุน (Turning) เป็นการเคลื่อนไหวที่
นำาไปสู่การเปลียนทิศทางและการ
               ่
เปลียนลีลา โดยแบ่งการหมุนออกเป็น 3 แบบ คือ
     ่
                 4.1 การหมุนแบบปิด (Close turns)
                 4.2 การหมุนแบบเปิด ( Open turns)
                 4.3 การกระโดดหมุน (Jump turns)
             การหมุนแบบปิดและเปิดต่างกันทีท่าทางของร่างกายว่า
                                              ่
มีลักษณะม้วนหรือหุบเข้าเป็นลักษณะปิดถ้ามีลักษณะกางหรือยืดออก
ก็จะเป็นการแสดงความรู้สึกเปิด การหมุนหรือหันมักเป็นสิ่งทียาก
                                                          ่
สำาหรับคนหัดเต้นรำา เพราะต้องอาศัยการทำางานที่ต้องสัมพันธ์กันของ
กล้ามเนื้อหลายส่วนรวมทั้งลีลาการก้าวเท้าที่ซับซ้อน จึงเป็นกิจกรรม
ที่เป็นประโยชน์อย่างหนึ่งในการฝึกหัดการประสานงาน(Co –
ordination) ของกล้ามเนื้อ และประสาท

                        การหมุนแบบเปิด




                        การหมุนแบบปิด




                        การกระโดดหมุน
21




     ٥. การโค้งตัว (Bending) การโค้งตัวลงมาทางด้านหน้า เรียก
     ว่า การก้มและการม้วน การโค้งตัวไปด้านหลัง เรียกว่า แอ่น
     หลัง โค้งตัวไปด้านข้าง เรียกว่า เอียงข้าง ไม่ว่าจะเป็นการลด
     ลำาตัวลงไปด้านใด จะต้องเกิดความโค้งขึ้น การกระทำาเช่นนี้
     ต้องอาศัยความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อและข้อต่อกระดูกสันหลัง
     ค่อนข้างมาก สิ่งที่ควรจำาประการหนึ่ง คือ ขณะที่เราโค้งตัวลง
     ด้านข้าง ขอให้เป็นการตะแคงตัวลงจริง ๆ อย่าบิดตัวหรือก้มตัว


          การโค้งตัวไปด้านหน้า
การโค้งตัวไปด้านหลัง




         การโค้งตัวไปด้านข้างซ้าย
การโค้งตัวไปด้านข้างขวา
22




                                          การม้วนตัว




          ٦. การทรงตัว (Balance) การฝึกการทรงตัวควรกระทำา
หลาย ๆ ท่า ทังท่ายืน นั่งและนอน เพราะการทรงตัวจะต้องอาศัย
             ้
ความแข็งแรง และการประสานงานของกล้ามเนื้อ รวมทั้งการทำางาน
23


ของระบบประสาทด้วย การฝึกหักการทรงตัวควรทำาอย่างช้า ๆ และ
การทรงตัวอยูในท่าใดท่าหนึ่งควรทำาให้นิ่งไว้ประมาณสองสามวินาที
             ่
เป็นอย่างน้อยจะส่งประโยชน์ต่อการเล่นกีฬานั้น หรือต่อการบริหาร
ส่วนนั้น ๆ ของร่างกาย หมั่นฝึกฝนและแก้ไขท่าทางทียังไม่ถูกต้อง
                                                  ่
สมบูรณ์ในท่าต่าง ๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป

                                              การทรงตัว




                       บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการเรียนรู้ขนพื้นฐาน
                                                     ั้
พุทธศักราช ٢٥٤٤ สาระและ
        มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา , ٢٥٤٥.
คณะกรรมการส่งเสริมกีฬาและการออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพใน
สถาบันการศึกษา และการพัฒนา
         องค์ความรู้ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข
ภาพ . แบบทดสอบและเกณฑ์
        มาตรฐานสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ
สำาหรับเด็กไทย อายุ ١٨ – ٧ ปี , ٢٥٤٨ .
ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ . แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง . กรุงเทพมหานคร: บ.แอล ที เพรส
         จำากัด , ٢٥٤٢.
ดร.สมหมาย แตงสกุล และดร.ธารา วิมลวัตรเวที. สุขศึกษาและ
พลศึกษา ม.٣ . กรุงเทพมหานคร:
         วัฒนาพานิช, ٢٥٤٨.
ดร.สุวทย์ มูลคำาและคณะ.การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
      ิ
การคิด. กรุงเทพมหานคร: อี เค บุคส์ ,
                                 ๊
24


           ٢٥٤٩.
บริษท สกายบุกส์ จำากัด. แอโรบิกแดนซ์ ฉบับปรับปรุงใหม่,
      ั
กรุงเทพมหานคร: บริษัท สกายบุกส์ จำากัด.
           ٢٥٤٥.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชิต ภูติจันทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เขมชาติ วิริ
ยาภิรมย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย
          วงศ์เสนา และคณะ . วิทยาศาสตร์การกีฬา.
กรุงเทพมหานคร: บ. ต้นอ้อ ١٩٩٩ จำากัด , ٢٥٤٢.
สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า กรุงเทพมหานคร. เอกสารประกอบการ
อบรมหลักสูตรการพัฒนางาน
          นวัตกรรม (ด้านที่ ٣) ให้เป็นผลงานวิชาการที่มี
คุณภาพ , ٢٥٥٠.
สุวัฒนา เอี่ยมอรพรรณ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ กมลพร บัณฑิตยา
นนท์. แนวคิดและแนวปฏิบัติสำาหรับครู
          เพื่อรองรับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู. ศูนย์ตำาราและ
เอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์
           จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٦.
ศูนย์พลศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา . เอกสารอัดสำาเนาจากการอบรม
ผู้นำาชุมชนเป็นผู้นำาการออกกำาลังกาย
          รุ่นที่ ٢ จังหวัดฉะเชิงเทรา , ٢٥٤٥.

More Related Content

What's hot

แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 

What's hot (20)

แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 

Viewers also liked

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4pop Jaturong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10pop Jaturong
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6kkkkon
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)sarawu5
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบkrutitirut
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้wichsitb
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)krutitirut
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศkruuni
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okJirathorn Buenglee
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายcaptain
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขkrutitirut
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 

Viewers also liked (20)

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
 
แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6แบบทดสอบอายุ4 6
แบบทดสอบอายุ4 6
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
Physical fitness(การทดสอบสมรรถภาพ)
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมกลางแจ้ง 5 ขวบ
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง-  กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมการเล่นตามมุม (1)
 
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศแบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
แบบประเมินหน่วยปฐมนิเทศ
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
 
สรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกายสรรมถภาพทางกาย
สรรมถภาพทางกาย
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
 
แบบฝึกหัดรวม 5 รูป
แบบฝึกหัดรวม 5 รูปแบบฝึกหัดรวม 5 รูป
แบบฝึกหัดรวม 5 รูป
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 

Similar to การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2

ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6rainacid
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbiแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ CbiWanida Keawprompakdee
 

Similar to การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2 (20)

ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbiแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Cbi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 

More from sonsukda

ศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรมศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรมsonsukda
 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3sonsukda
 
การประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรมการประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรมsonsukda
 
เรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voiceเรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voicesonsukda
 
งานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Muchงานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Muchsonsukda
 
Herb Powerpoint
Herb PowerpointHerb Powerpoint
Herb Powerpointsonsukda
 
Iirregular Verbs
Iirregular VerbsIirregular Verbs
Iirregular Verbssonsukda
 
Past Simple Tense
Past Simple TensePast Simple Tense
Past Simple Tensesonsukda
 
ภาษาC++
ภาษาC++ภาษาC++
ภาษาC++sonsukda
 

More from sonsukda (9)

ศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรมศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรม
 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
 
การประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรมการประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรม
 
เรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voiceเรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voice
 
งานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Muchงานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Much
 
Herb Powerpoint
Herb PowerpointHerb Powerpoint
Herb Powerpoint
 
Iirregular Verbs
Iirregular VerbsIirregular Verbs
Iirregular Verbs
 
Past Simple Tense
Past Simple TensePast Simple Tense
Past Simple Tense
 
ภาษาC++
ภาษาC++ภาษาC++
ภาษาC++
 

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2

  • 1. 1 เรื่อง การเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ชุดที่ 2 การเคลือนไหวเบืองต้น ่ ้ วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัสวิชา พ 33101 ช่วงชั้นที่ 3 ชันมัธยมศึกษาปีที่ ٣ ้ จัดทำาโดย นายสุพัฒน์ อัตจริต ครูชำานาญการ อันดับ คศ. 2 กลุ่มสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ้ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ สำานักงานพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน ้ กระทรวงศึกษาธิการ คำานำา
  • 2. 2 แบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ผู้ สอนจัดทำาขึ้นเพื่อใช้เป็นนวัตกรรมการเรียนรูวิชาสุขศึกษาและ ้ พลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา พ 33101 ซึ่งสอดคล้อง กับสาระที่ 4 เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค ตาม มาตรฐาน พ 4.1 ทีให้นักเรียนเห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้าง ่ เสริมสุขภาพ และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ การดำารง สุขภาพ การป้องกันโรค แบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริม สมรรถภาพทางกาย มีทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้ ١. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( ครั้งที่ 1) 2. การเคลื่อนไหวเบื้องต้น 3. การเต้นแอโรบิคเบื้องต้น 4. การเต้นแอโรบิคเบื้องต้นประกอบ จังหวะดนตรี 5. การจัดโปรแกรมเพื่อผลทาง สมรรถภาพทางกาย 6. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( ครั้งที่ 2) เนื้อหาของแบบฝึกแต่ละชุด จะอธิบายทีละขั้นตอน เข้าใจ ง่าย ครูสามารถนำาไปประกอบการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี เป็นสิ่ง ที่ช่วยทุ่นแรงครู โดยมีแผนจัดการเรียนรู้เป็นตัวชี้นำาทาง สำาหรับ นักเรียนก็สามารถอ่านและนำาไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง หรือกับกลุ่ม เพื่อนทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนหรือแม้จะอยู่ทบ้านก็ตาม ี่ หวังเป็นอย่างยิงว่า แบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริม ่ สมรรถภาพทางกายเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคนที่ ต้องการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำาความรูในเรื่องการ ้ เต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายมาใช้ให้เป็นประโยชน์ แก่ตนเอง และผู้อื่น สำาหรับครูคงอำานวยประโยชน์ และใช้เป็น แนวทางการสอน เกิดความคิดสร้างสรรค์ ก่อเกิดการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอน การผลิตสื่อ/นวัตกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษาได้เป็นอย่างดี ( นายสุพัฒน์ อัตจริต)
  • 3. 3 ครู อันดับ คศ. 2 โรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ สารบัญ หน้า คำานำา ก สารบัญ ข คำาแนะนำาสำาหรับครู ค คำาแนะนำาสำาหรับนักเรียน ง แผนจัดการเรียนรู้ จ แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ฉ แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม ช ชุดที่ 2 การเคลื่อนไหวเบื้องต้น การจัดท่าทางหรือการ ยืน....................................................................................... ... การก้าว เท้า...................................................................................... .......................... การกระ โดด..................................................................................... .........................
  • 4. 4 การหันหรือการหมุน ........................................................................................... ..... การโค้ง ตัว....................................................................................... .......................... การ ทรงตัว.................................................................................. ............................... บรรณานุกรม ................................................................. ......................................................... คำาแนะนำาการใช้แบบฝึกสำาหรับครู วัตถุประสงค์ของแบบฝึก 1. นักเรียนรู้เข้าใจและอธิบายความสำาคัญของหลักการ เคลื่อนไหวเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง 2. นักเรียนมีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอย่างถูกต้อง 3. นักเรียนสามารถนำาไปปฏิบัติในการนำาไปใช้ในชีวิต ประจำาวันได้ 4. นักเรียนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี เป้าหมายของแบบฝึก ١. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยว กับการเต้นแอโรบิค
  • 5. 5 ٢. นักเรียนมีพฤติกรรมการทำางานที่ดี ได้แก่ มีความ สนใจในการปฏิบัติกิจกรรม มีความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ٣. นักเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อ สุขภาพในทางที่ดีขึ้น วิธีใช้แบบฝึกไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ครูควรศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล เกี่ยวกับสุขภาพ โรคประจำาตัว 2. ครูควรคัดกรองนักเรียนที่มปัญหาทางสุขภาพ ให้คำา ี แนะนำา ไม่ควรบังคับนักเรียน 3. ครูควรศึกษาแผนจัดการเรียนรู้ เพื่อใช้เป็นแนวทางจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 4. ครูควรอธิบายเนื้อหาให้ชัดเจน การฝึกปฏิบัติ ควรให้คำา แนะนำาอย่างใกล้ชิด 5. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติเป็น ฐาน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา และฝึกพฤติกรรมการทำางานที่ดี 6. หลังจากสอนเนื้อหาแล้วให้นักเรียนประเมินความรูใน้ แต่ละเรื่องเพื่อเก็บเป็นข้อมูล คำาแนะนำาการใช้แบบฝึกสำาหรับนักเรียน วัตถุประสงค์ของแบบฝึก 1. นักเรียนรู้เข้าใจและอธิบายความสำาคัญของหลักการ เคลื่อนไหวเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
  • 6. 6 2. นักเรียนมีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอย่างถูกต้อง 3. นักเรียนสามารถนำาไปปฏิบัติในการนำาไปใช้ในชีวิต ประจำาวันได้ 4. นักเรียนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี เป้าหมายของแบบฝึก ١. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยว กับการเต้นแอโรบิค ٢. นักเรียนมีพฤติกรรมการทำางานที่ดี ได้แก่ มีความ สนใจในการปฏิบัติกิจกรรม มี ความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อ เวลาและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ٣. นักเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ในทางที่ดีขึ้น วิธีใช้แบบฝึกไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. นักเรียนต้องมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำาตัว ถ้ามี ปัญหาด้านสุขภาพควรแจ้งให้ครู ประจำาวิชาทราบ 2. นักเรียนควรอบอุ่นร่างกายให้เพียงพอก่อนการออกกำาลัง กาย 3. ไม่ควรออกกำาลังกายหลังจากรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ 4. ไม่ควรออกกำาลังกายขณะที่มีอาการป่วยไข้ หรือพักผ่อน ไม่เพียงพอ 5. นักเรียนควรฟังคำาอธิบายเนื้อหาให้ชัดเจน และควร ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด 6. ควรตั้งเป้าหมาย และทำาเต็มความสามารถของตนเอง 7. นักเรียนควรฝึกพฤติกรรมการทำางานที่ดีควบคู่กัน 8. หลังจากการฝึกแล้ว นักเรียนควรประเมินความรูในแต่ละ ้ เรื่องเพื่อเก็บเป็นข้อมูล
  • 7. 7 โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) ๔ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รหัสวิชา พ 33101 รายวิชา สุขศึกษาและ พลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนไหวเบื้องต้น จำานวน 1 คาบ สาระที่ 4 : การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค มาตรฐานการเรียนรู้ พ : 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้าง เสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้าง เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ……………………………………………………………………………………… ………………. 1. สาระสำาคัญ การเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ และความ สมบูรณ์พร้อมทางกาย (Fitness) มีความสำาคัญยิ่งต่อสุขภาพและความ อภิรมณ์ของประชาชนทุกวัย และตลอดช่วงอายุขัยความสมบูรณ์พร้อม ทางกาย เป็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกกำาลัง กาย พฤติกรรมจะเกิดขึ้นอย่างสมำ่าเสมอ จำาเป็นต้องบูรณาการการ เคลื่อนไหวและออกกำาลังกายร่วมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับวิถีชีวิต 2. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น มาตรฐานที่ 6 เห็นความสำาคัญของการมีสมรรถภาพที่ดี จากการออกกำาลังกายและเล่นกีฬา 3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เห็นความสำาคัญของหลักการเคลื่อนไปเบื้องต้น รู้เข้าใจ และมีทักษะ สามารถนำาหลักการเคลื่อนไหวไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนรู้เข้าใจและอธิบายความสำาคัญของหลักการ เคลื่อนไหวเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง 2. นักเรียนมีทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอย่างถูกต้อง 3. นักเรียนสามารถนำาไปปฏิบัติในการนำาไปใช้ในชีวิต ประจำาวันได้ 4. นักเรียนมีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ดี 5. เนื้อหาสาระ การเคลื่อนไหวเบื้องต้น
  • 8. 8 1. การจัดท่าทางหรือการยืน ท่าที่สำาคัญในการเริ่มต้น คือ ท่ายืน คนเราเมื่ออายุมากขึ้นมักจะหลังโกง พุงยืน หลังแอ่น ก้น ่ งอน ท่ายืนที่ถูกต้องจะต้องประกอบด้วย 1.1 ศีรษะตั้งตรงไม่ยนไปข้างหน้า หรือเอียงข้าง ื่ ใดข้างหนึ่ง 1.2 หลังยืดตรง ไหล่ไม่งุ้มหรือเอียง 1.3 พุงไม่ยื่นไปข้างหน้า 1.4 หลังบริเวณเอวไม่แอ่น 1.5 กระดูกเชิงกรานไม่เอนทำามุมมากจนกระทั่งก้น ยื่นไปข้างหลังมากเกินไป 1.6 มองจากด้านข้างเมื่อลากเส้นตรงในแนวดิ่งเริ่ม ต้นจากติ่งหู เส้นนั้นควรจะผ่านกึ่งกลางของไหล่ จุดกึ่งกลางของ กระดูกเชิงกราน ด้านหลังของสะบ้าหัวเข่าและตาตุ่ม 2. การก้าวเท้า เพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ ซึ่งในชีวิต ประจำาวันเรามักใช้กันอยู่ 2 ลักษณะคือ การเดินและการวิง การ ่ เคลื่อนไหวทังสองเป็นการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกันด้วยความเร็วและ ้ ลักษณะการก้าวเท้า การฝึกการเต้นแอโรบิคจะนำาการก้าวเท้ามา ฝึกหัดใหม่เพื่อเพิ่มทักษะในการประสานงานและความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อ โดยพัฒนาด้วยปัจจัยต่าง ๆ คือ 2.1 ทิศทาง เช่น การเดินหรือวิ่งตรง วิงผ่าน ซิก ่ แซก โค้งวงกลม ก้าวไปข้าง ๆ เดินหน้า ถอยหลัง 2.2 ระดับ การเดินหรือการวิ่งในระดับ ต่าง ระดับ บนทางชัน ทางลาด 2.3 ระยะทาง ใกล้ ไกล ก้าวสั้น ก้าวยาว 2.4 การลงนำ้าหนัก การก้าวลงนำ้าหนัก การก้าว อย่างแผ่วเบา การถ่ายนำ้าหนักจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย 2.5 ความเร็ว ก้าวช้า ก้าวเร็ว การหยุด 2.6 จังหวะ การก้าวเร็วสลับช้า หนึ่งจังหวะ สองจังหวะ สามจังหวะ 3. การกระโดด Jump หมายถึง การกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้น ด้วยเท้าทังสองข้างพร้อมกันและกลับลงถึงพื้นพร้อมกันทั้งสอง ้ Hop หมายถึง การกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้นด้วย เท้าข้างใดข้างหนึ่งเท้าเดียวแล้วกลับลงสู่พื้นด้วยเท้าข้างเดิม 4. การหันหรือการหมุน เป็นการเคลื่อนไหวเบื้องต้นที่ จะนำาไปสู่การเปลี่ยนทิศทางและเปลี่ยนลีลา การหมุนแบ่งเป็น 3 แบบ คือ
  • 9. 9 1. หมุนแบบปิด 2. หมุนแบบเปิด 3. กระโดดหมุน การหมุนแบบปิดและเปิดต่างกันทีท่าทางของร่างกายว่า ่ มีลักษณะม้วนหรือหุบเข้าเป็นลักษณะปิด ถ้ามีลักษณะกางหรือยืดออก ก็เป็นการแสดงความรู้สึกเปิด การหันหรือการหมุนมักจะเป็นสิ่งที่ยาก สำาหรับคนหัดเต้นรำาเพราะจะต้องอาศัยการทำางานที่สัมพันธ์กันของ กล้ามเนื้อหลายส่วนรวมทั้งลีลาการก้าวเท้าที่ซับซ้อนขึ้น จึงเป็น กิจกรรมที่มีประโยชน์อย่างหนึ่งในการฝึกหัดการประสานงานของ กล้ามเนื้อและประสาท การหมุนแบบง่าย ๆ และให้ประโยชน์มาก คือ การหมุน บนปลายเท้าเพียงครึงรอบ ่ ซึ่งจะใช้เท้าเดียวหรือสองเท้าก็ได้ จะทำาให้เราเปลียนทิศทางได้ง่าย ่ และรวดเร็วโดยไม่ก้าวเท้า 5. การโค้งตัว ตามความหมายการโค้งตัวลงทางด้าน หน้าเราเรียกว่า การก้ม และการม้วน การโค้งตัวไปด้านหลัง เรียกว่า แอ่นหลัง โค้งตัวไปด้านข้างเรียกว่า เอียงข้าง การกระทำาเช่นนั้นได้ ต้องอาศัยความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อและข้อต่อกระดูกสันหลังค่อน ข้างมากซึ่งจะต้องมีการฝึกหัดอย่างค่อยเป็นค่อยไป สิ่งที่ควรจำา ประการหนึ่งคือ ขณะที่เราโค้งตัวลงด้านข้าง ขอให้เป็นการตะแคงตัว ลงจริง ๆ อย่าบิดเอวหรือก้มตัว 6. การทรงตัว การฝึกหัดการทรงตัวควรจะกระทำาให้ หลาย ๆ ท่า ทังท่ายืน นั่ง และนอน ทังนี้เพราะการทรงตัวจะต้องอาศัย ้ ้ ทั้งความแข็งแรง และการประสานงานของกล้ามเนื้อ รวมทั้งการ ทำางานของระบบประสาทด้วย จึงควรฝึกหัดเพื่อเพิ่มทักษะให้มาก การ ฝึกหัดการทรงตัวควรทำาอย่างช้า ๆ และการทรงตัวอยูในท่าใดท่าหนึง ่ ่ ควรทำาให้นิ่งไว้ประมาณสองสามวินาทีเป็นอย่างน้อย 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำา 1. นักเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว ๆละ 10 คน 2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการออกกำาลังกายในชีวิต ประจำาวัน 3. ครูกล่าวถึงการนำาแบบฝึกการเต้นแอโรบิคเพื่อสร้างเสริม สมรรถภาพทางกายมาฝึกปฏิบัติเนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาใน เรื่องของความอดทนหรือความทนทานของระบบหายใจและระบบไหล เวียนโลหิต โดยศึกษาข้อมูลจากการที่นักเรียนทำาการทดสอบ สมรรถภาพทางกายและนำามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
  • 10. 10 4. ครูชี้แจงในเรื่องหลักการเคลื่อนไหวเบื้องต้นให้นักเรียน 5. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม ขั้นอธิบายและสาธิตการฝึกปฏิบัติ 1. ครูอธิบายและสาธิตท่าทางการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ได้แก่ การยืน การก้าวเท้า การกระโดด การหันหรือการหมุน การโค้งตัว การทรงตัว 2. นักเรียนเข้าแถวตามเดิมแต่ขยายแถวระยะห่างสองช่วงแขน 3. อบอุ่นร่างกายด้วยการเหยียดกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ 4. มอบหมายให้นักเรียนรับผิดชอบการอบอุ่นร่างกายหน้าแถว ขั้นสอนหรือฝึกปฏิบัติ 1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 10 คน 2. ฝึกการเคลื่อนไหวเบื้องต้นโดยแบ่งออกเป็น 6 ฐาน 3. ใช้เวลาในแต่ละฐาน 5 นาที 4. ครูเป็นผู้จับเวลาเมื่อครบเวลาให้นักเรียนเปลี่ยนฐาน ขั้นนำาไปใช้ 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าแถวตอน 5 แถว ๆ ละ 10 คน 2. ระยะห่างจากแถว 2 ช่วงแขน 3. แข่งขันการจัดท่าทางการยืน การก้าวเท้า การกระโดด การหันหรือการหมุน การโค้งตัว การทรงตัว 4. กล่าวคำาชมเชยในความตั้งใจของนักเรียน ขั้นสรุปและประเมินผล 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าแถวตอน 5 แถว ๆ ละ 10 คน 2. ครูสรุปเนื้อหาการเคลื่อนไหวเบื้องต้นอีกครั้งหนึ่ง 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการซักถาม 4. ครูอธิบายแบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น 5. ครูอธิบายพฤติกรรมระหว่างเรียนและการฝึกปฏิบัติระหว่าง เรียนและการฝึกปฏิบัติ 6. สุขปฏิบัติ 7. นัดหมายการเรียนครั้งต่อไป 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบฝึกการเคลื่อนไหวเบื้องต้น 2. แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น 3. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม 8. การวัดผลและประเมินผล วิธีวัดผล 1. ผลการฝึกปฏิบัติการเคลื่อนไหวเบื้องต้น
  • 11. 11 2. สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียนและการฝึกปฏิบัติ เครื่องมือวัดผล 1. แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น 2. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม เกณฑ์การประเมินผล 1. แบบฝึกการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี ระดับ 3 ปานกลาง ระดับ 2 ตำ่า ระดับ 1 ตำ่ามาก 2. แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี ระดับ 3 ปานกลาง ระดับ 2 ตำ่า ระดับ 1 ตำ่ามาก 9. กิจกรรมสืบเนื่อง - ลงชื่อ สุพัฒน์ อัตจริต (นายสุพัฒน์ อัตจริต) ตำาแหน่งครู …… / ............ / ............. 10. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี มีกิจกรรมการเรียนการสอน สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เนื้อหาวิชาและสื่อการเรียน การสอน ลงชื่อ พิศวาท คะลีลวน ้ (นางพิศวาท คะลี ล้วน) ตำาแหน่ง รองผู้อำานวยการก ลุ่มบริหารวิชาการ ١1. ข้อเสนอแนะของผู้อำานวยการโรงเรียน จัดทำาแผนการจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมเน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ ลงชื่อ วิสิทธิ์ ใจ เถิง
  • 12. 12 (นายวิสทธิ์ ใจ ิ เถิง) ผู้อำานวย การโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ 12. บันทึกหลังการสอน ด้านผลการเรียน นักเรียนเรียนรู้หลักการเคลื่อนไหวเบื้องต้นได้ดี เพราะใช้ ในชิวิตประจำาวันอยู่แล้ว เพียงแต่ปรับแก้เล็กน้อยผลสัมฤทธิ์จึงออกมา ในเกณฑ์ ดีและดีมาก ด้านพฤติกรรม 1. นักเรียนมีปัญหาอุปสรรคอยู่บ้างในห้องท้าย ๆ แต่ส่วนใหญ่ ตั้งใจเรียน มีความสนใจในการเรียนเป็นอย่างดี 2. ยังติดการเล่น มองข้ามความสนใจ แต่เป็นกิจกรรมง่ายจึง ผ่านเกณฑ์ที่ดี ปัญหาและอุปสรรค สถานที่ไม่สะดวกเท่าที่ควรเพราะต้องใช้ใต้ตึกอาคาร 2 เป็นที่เรียนซึ่งเป็นสถานที่คับแคบเนื่องจากทางโรงเรียนไม่มีโรงฝึก พลศึกษา ข้อเสนอแนะ การตรงต่อเวลานักเรียนยังต้องแก้ไข การกระโดดหมุน ตัวยังต้องมีการพัฒนา ลงชื่อ สุพัฒน์ อัตจริต ( นายสุพัฒน์ อัตจริต ) ผู้บันทึก โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี) ๔ แบบประเมินการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ปีการศึกษา 2550
  • 13. 13 ชื่อ .....................................นามสกุล................................. เพศ ชาย หญิง วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหสวิชา พ 33101 ชั้น ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 /....... เลขที่.......... ระดับคุณภาพ ที่ เรื่อง หมายเหตุ ٥ ٤ ٣ ٢ ١ ١. การจัดท่าทาง เกณฑ์การ การยืน ประเมินค่า ٢. การก้าว ระดับ ٥ ดี ٣. การกระโดด มาก ระดับ ٤ ดี ٤. การหันหรือการ ระดับ ٣ หมุน ปานกลาง ٥. การโค้งตัว ระดับ ٢ ตำ่า ٦. เรื่องการ ระดับ ١ ตำ่า ทรงตัว มาก ลงชื่อ…….....………………………….ผู้บันทึก (……………………………….) …………/…………/……….. โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี) ๔
  • 14. 14 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม ปีการศึกษา 2550 ชื่อ .....................................นามสกุล................................. เพศ ชาย หญิง วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหสวิชา พ 33101 ชั้น ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 /....... เลขที่.......... ระดับคุณภาพ ที่ เรื่อง หมายเหตุ ٥ ٤ ٣ ٢ ١ ความรับผิด เกณฑ์การ ١. ชอบ ประเมินค่า ระดับ ٥ ดี ٢. ความสนใจ มาก ความขยัน ระดับ ٤ ดี ٣. อดทน ระดับ ٣ ความมีนำ้าใจ ปานกลาง ٤. เสียสละ ระดับ ٢ ตำ่า ความคิดริเริ่ม ระดับ ١ ตำ่า ٥. มาก สร้างสรรค์ ลงชื่อ…….....………………………….ผู้บันทึก (……………………………….) …………/…………/……….. การเคลือนไหวเบืองต้น ่ ้ การเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายสำาหรับเด็ก และเยาวชน การเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ และความ สมบูรณ์พร้อมทางกาย (Fitness)
  • 15. 15 มีความสำาคัญยิ่งต่อสุขภาพและความอภิรมณ์ของประชาชนทุกวัย และ ตลอดช่วงอายุขัยความสมบูรณ์พร้อมทางกาย เป็นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จากพฤติกรรมการเคลื่อนไหวออกกำาลังกาย พฤติกรรมจะเกิดขึ้นอย่าง สมำ่าเสมอ จำาเป็นต้องบูรณาการการเคลื่อนไหวและออกกำาลังกายร่วม เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับวิถีชีวิต ทีสำาคัญคือวิถีชีวิตที่กระฉับกระเฉงนั้น ่ ควรปลูกฝังตั้งแต่เด็กและเยาวชน ซึ่งจะกลายเป็นนิสัยติดตัวไปจนเติบ ใหญ่ พ่อ แม่ ผู้ปกครองย่อมเป็นผู้มีบทบาทสำาคัญในการปลูกฝังนิสัย ดังกล่าว ขณะเดียวกันโรงเรียนก็มีบทบาทสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน เพราะโรงเรียนเป็นอีกสถานที่หนึ่งซึ่งเด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาเกือบ ค่อนวันทำากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเนนชาว์ปัญญา ร่างกาย และ จิตใจ นอกจากนั้นชุมชนยังสามารถช่วยเสริมในรื่องดังกล่าวได้ด้วย หลักฐานจำานวนมากสนับสนุนให้เห็นว่า การเคลื่อนไหวและออก กำาลังกายสมำ่าเสมอช่วยทำาให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี และความ สมบูรณ์พร้อมทางกาย ขณะที่อายุน้อยเด็กมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนไหว กระฉับกระเฉงค่อนข้างมาก มักจะทำากิจกรรมที่ค่อนข้างหนักเป็นช่วง สั้น ๆ มากกว่าการทำากิจกรรมต่อเนื่อง วัยเด็กจึงเป็นช่วงที่ทักษะทาง กลไก ( การขว้าง การกระโดด การวิ่ง การขี่ การว่ายนำ้า ) กำาลังพัฒนา มากที่สุด แต่เมื่อเด็กโตขึ้นการเคลื่อนไหวดังกล่าวกลับลดลง เด็กและ เยาวชนมีนำ้าหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากการลดกิจกรรมทาง กาย และการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยไขมันและแป้ง ซึ่งให้พลังงาน สูง การออกกำาลังกายเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายตามรูปแบบที่ กำาหนด เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ หรือธำารงสมรรถภาพทางกาย การออก กำาลังกายแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะของกิจกรรมและจุดมุ่ง หมาย ดังนี้ ١. การออกกำาลังการแบบแอโรบิค (Aerobic exercises) หรือ การฝึกความอดทน (Endurance training) เป็นการฝึกเพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพของระบบผลิตพลังงานที่ใช้ออกซิเจน เพื่อสร้างความ อดทนของระบบหัวใจและหายใจ โดยใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ออกกำาลัง ซำ้า ๆ แบบใช้ออกซิเจน เช่น การเดิน การวิ่ง การปั่นจักรยาน การว่าย นำ้า การเต้นแอโรบิค และการเล่นกีฬาประเภทฝึกความอดทน ความ สมบูรณ์พร้อม หรือความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ มีคุณค่า อย่างยิ่งต่อสุขภาพของหัวใจและช่วยลดโรคไร้เชื้อเรื้อรัง เช่น โรค หัวใจ ความดันเลือดสูง เบาหวาน อ้วน กระดูกพรุน และมะเร็งบาง ชนิด การออกกำาลังกายแบบแอโรบิค มีประโยชน์หลายอย่างซึ่งมีผล ต่อความสมบูรณ์พร้อมของระบบหัวใจและหายใจ อาทิ เพิ่มการเผา ผลาญพลังงาน พัฒนาความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือด
  • 16. 16 ควบคุมระดับไขมันในเลือด ลดไขมันตามร่างกาย ช่วยควบคุมความ ดันเลือด ช่วยควบคุมความเครียด และเพิ่มความอดทน ٢. การออกกำาลังกายเสริมความแข็งแรงและอดทนของกล้าม เนื้อ (Muscular Strength and endurance exercises) หรือการฝึก ต้าน (Resistance) เป็นการฝึกเพื่อสร้างความแข็งแรง พละกำาลัง และความทรหดของกล้ามเนื้อ การออกกำาลังประเภทนี้ก่อให้เกิด ประโยชน์ทสำาคัญ อาทิ พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ กระดูก ี่ และเส้นเอ็น ความคล่องแคล่ว และการทรงตัว ความตึงตัวของกล้าม เนื้อและข้อต่อที่มั่นคง ลดโอกาสการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อและ กระดูก เด็กและเยาวชนควรหลีกเลี่ยงการฝึกเพื่อแข่งขันยกนำ้าหนัก และการสร้างเสริมกล้ามเนื้อจนกว่าการเจริญเติบโตทางเพศจะสมบูรณ์ 3. การออกกำาลังกายเสริมความอ่อนตัว (Flexibility exercises) หรือการยืด เหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching) เป็นการฝึกเพื่อเพิ่มช่วง การเคลื่อนไหวของข้อต่อและกล้ามเนื้อให้มากขึ้น ผูที่ขาดความอ่อน ้ ตัวมักจะประสบปัญหา อาทิ ท่าทางไม่สง่า ปวดตึงไปทั่ว กล้ามเนื้อ และข้อต่อบาดเจ็บ และปวดหลัง ตรงกันข้ามผูที่มีความอ่อนตัวดี จะ ้ สามารถเอื้อม เอี้ยวตัว ก้ม และยืด ได้ค่อนข้างง่าย ไม่ค่อยมีการบาด เจ็บของกล้ามเนื้อและข้อต่อ การยืด เหยียดกล้ามเนื้อช่วยลด ความเครียดและผ่อนคลาย ทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ١. การจัดท่าทางหรือการยืน (Posture) เป็นการเริ่มต้น ที่สำาคัญ ท่าที่สำาคัญในการเริ่มต้นคือ ท่ายืน เมื่อฝึกเป็นนิสัยจะช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพให้สง่างาม และ เป็นพื้นฐานให้เกิดความคล่องตัวในการเคลื่อนไหวแบบอื่น ๆ ต่อไป ท่ายืนที่ดีประกอบด้วย 1.1 ศีรษะตั้งตรงไม่ยนไปข้างหน้า หรือเอียงข้างใด ื่ ข้างหนึ่ง 1.2 หลังยืดตรง ไหล่ไม่งุ้มหรือเอียง 1.3 พุงไม่ยื่นไปด้านหน้า 1.4 หลังบริเวณเอวไม่แอ่น 1.5 กระดูกเชิงกรานไม่เอนทำามุมมากจนกระทั่งก้น ยื่นไปข้างหลังมากเกินไป 1.6 ขาควรตั้งฉากกับแนวระนาบและลงนำ้าหนักเท่า กันบนขาทั้งสองข้าง 1.7 มองจากด้านข้างเมื่อลากเส้นตรงในแนวดิ่งเริ่ม ต้นจากติ่งหู เส้นนั้นควรจะผ่านกึ่งกลางของไหล่ จุดกึ่งกลางของ กระดูกเชิงกราน ด้านหลังของสะบ้าหัวเข่าและตาตุ่ม
  • 17. 17 การจัดท่าทางหรือการยืน (Posture) ٢. การก้าว (Stepping) หมายถึง การก้าวเท้าเพื่อให้เกิดการ เคลื่อนที่ เช่น การเดิน และการวิง ่ การเคลื่อนไหวทั้งสองเป็นการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกันด้วยความเร็ว และลักษณะการก้าวเท้า แต่ในการฝึกกายบริหารและการเต้นรำา เรา จะนำาการเคลื่อนไหวนี้มาฝึกเสียใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะในการประสาน งานและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ โดยพัฒนาด้วยปัจจัยต่าง ๆ คือ
  • 18. 18 2.1 ทิศทาง เช่น วิ่งสลับฟันปลา โค้งวงกลม ก้าวไปข้าง ๆ เดินหน้า ถอยหลัง 2.2 ระดับ เช่น การเดินหรือการวิ่งในระดับ ต่างระดับ บนทางชัน ทางลาด 2.3 ระยะทาง เช่น ใกล้ ไกล ก้าวสั้น ก้าวยาว 2.4 การลงนำ้าหนัก เช่น การก้าวลงนำ้าหนัก การ ก้าวอย่างแผ่วเบา การถ่ายนำ้าหนักจาก ซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย 2.5 ความเร็ว เช่น ก้าวช้า ก้าวเร็ว การหยุด 2.6 จังหวะ เช่น การก้าวเร็วสลับช้า หนึ่งจังหวะ สอง จังหวะ สามจังหวะ การก้าวเดิน การวิ่งสลับฟันปลา ( ซิกแซก) การวิ่งทางโค้ง (วงกลม)
  • 19. 19 ٣. การกระโดด ( Jump and Hop ) แยกได้สองประเภท คือ 3.1 Jump เป็นการกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้นด้วย เท้าทั้งสองข้างพร้อมกันและกลับลงถึงพื้นพร้อมกันทังสองเท้า ้ 3.2 Hop เป็นการกระโดดลอยตัวขึ้นจากพื้นด้วยเท้า ข้างใดข้างหนึ่งเท้าเดียวและกลับลงสู่พื้นด้วยเท้าข้างเดิม กิริยาทั้งสองแบบเกิดขึ้นโดยอาศัยแรงสปริงของกล้าม เนื้อขาและเท้า เพื่อดีดตัวให้พ้นจากพื้น และขณะกลับลงสู่พื้นใช้การ เกร็งตัวของกล้ามเนื้อขาและเท้า เพื่อรองรับนำ้าหนักและแรงกระแทก การเคลื่อนไหวทั้งขาขึ้นและขาลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ ลอยตัวขึ้นจากพื้นอาจจะมีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายร่วม ไปด้วย การกระโดด
  • 20. 20 ٤. การหันหรือการหมุน (Turning) เป็นการเคลื่อนไหวที่ นำาไปสู่การเปลียนทิศทางและการ ่ เปลียนลีลา โดยแบ่งการหมุนออกเป็น 3 แบบ คือ ่ 4.1 การหมุนแบบปิด (Close turns) 4.2 การหมุนแบบเปิด ( Open turns) 4.3 การกระโดดหมุน (Jump turns) การหมุนแบบปิดและเปิดต่างกันทีท่าทางของร่างกายว่า ่ มีลักษณะม้วนหรือหุบเข้าเป็นลักษณะปิดถ้ามีลักษณะกางหรือยืดออก ก็จะเป็นการแสดงความรู้สึกเปิด การหมุนหรือหันมักเป็นสิ่งทียาก ่ สำาหรับคนหัดเต้นรำา เพราะต้องอาศัยการทำางานที่ต้องสัมพันธ์กันของ กล้ามเนื้อหลายส่วนรวมทั้งลีลาการก้าวเท้าที่ซับซ้อน จึงเป็นกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์อย่างหนึ่งในการฝึกหัดการประสานงาน(Co – ordination) ของกล้ามเนื้อ และประสาท การหมุนแบบเปิด การหมุนแบบปิด การกระโดดหมุน
  • 21. 21 ٥. การโค้งตัว (Bending) การโค้งตัวลงมาทางด้านหน้า เรียก ว่า การก้มและการม้วน การโค้งตัวไปด้านหลัง เรียกว่า แอ่น หลัง โค้งตัวไปด้านข้าง เรียกว่า เอียงข้าง ไม่ว่าจะเป็นการลด ลำาตัวลงไปด้านใด จะต้องเกิดความโค้งขึ้น การกระทำาเช่นนี้ ต้องอาศัยความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อและข้อต่อกระดูกสันหลัง ค่อนข้างมาก สิ่งที่ควรจำาประการหนึ่ง คือ ขณะที่เราโค้งตัวลง ด้านข้าง ขอให้เป็นการตะแคงตัวลงจริง ๆ อย่าบิดตัวหรือก้มตัว การโค้งตัวไปด้านหน้า การโค้งตัวไปด้านหลัง การโค้งตัวไปด้านข้างซ้าย การโค้งตัวไปด้านข้างขวา
  • 22. 22 การม้วนตัว ٦. การทรงตัว (Balance) การฝึกการทรงตัวควรกระทำา หลาย ๆ ท่า ทังท่ายืน นั่งและนอน เพราะการทรงตัวจะต้องอาศัย ้ ความแข็งแรง และการประสานงานของกล้ามเนื้อ รวมทั้งการทำางาน
  • 23. 23 ของระบบประสาทด้วย การฝึกหักการทรงตัวควรทำาอย่างช้า ๆ และ การทรงตัวอยูในท่าใดท่าหนึ่งควรทำาให้นิ่งไว้ประมาณสองสามวินาที ่ เป็นอย่างน้อยจะส่งประโยชน์ต่อการเล่นกีฬานั้น หรือต่อการบริหาร ส่วนนั้น ๆ ของร่างกาย หมั่นฝึกฝนและแก้ไขท่าทางทียังไม่ถูกต้อง ่ สมบูรณ์ในท่าต่าง ๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป การทรงตัว บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการเรียนรู้ขนพื้นฐาน ั้ พุทธศักราช ٢٥٤٤ สาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา , ٢٥٤٥. คณะกรรมการส่งเสริมกีฬาและการออกกำาลังกายเพื่อสุขภาพใน สถาบันการศึกษา และการพัฒนา องค์ความรู้ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ . แบบทดสอบและเกณฑ์ มาตรฐานสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ สำาหรับเด็กไทย อายุ ١٨ – ٧ ปี , ٢٥٤٨ . ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ . แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง . กรุงเทพมหานคร: บ.แอล ที เพรส จำากัด , ٢٥٤٢. ดร.สมหมาย แตงสกุล และดร.ธารา วิมลวัตรเวที. สุขศึกษาและ พลศึกษา ม.٣ . กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช, ٢٥٤٨. ดร.สุวทย์ มูลคำาและคณะ.การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ิ การคิด. กรุงเทพมหานคร: อี เค บุคส์ , ๊
  • 24. 24 ٢٥٤٩. บริษท สกายบุกส์ จำากัด. แอโรบิกแดนซ์ ฉบับปรับปรุงใหม่, ั กรุงเทพมหานคร: บริษัท สกายบุกส์ จำากัด. ٢٥٤٥. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิชิต ภูติจันทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เขมชาติ วิริ ยาภิรมย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย วงศ์เสนา และคณะ . วิทยาศาสตร์การกีฬา. กรุงเทพมหานคร: บ. ต้นอ้อ ١٩٩٩ จำากัด , ٢٥٤٢. สถาบันพัฒนาความก้าวหน้า กรุงเทพมหานคร. เอกสารประกอบการ อบรมหลักสูตรการพัฒนางาน นวัตกรรม (ด้านที่ ٣) ให้เป็นผลงานวิชาการที่มี คุณภาพ , ٢٥٥٠. สุวัฒนา เอี่ยมอรพรรณ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ กมลพร บัณฑิตยา นนท์. แนวคิดและแนวปฏิบัติสำาหรับครู เพื่อรองรับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู. ศูนย์ตำาราและ เอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٦. ศูนย์พลศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา . เอกสารอัดสำาเนาจากการอบรม ผู้นำาชุมชนเป็นผู้นำาการออกกำาลังกาย รุ่นที่ ٢ จังหวัดฉะเชิงเทรา , ٢٥٤٥.