SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพ
คาราชาศัพท์ คือ คาที่ใช้สาหรับพระราชาและเจ้านาย
หลักการใช้คาราชาศัพท์
1. การใช้คาว่า ทรง
ถ้ามีคาว่า ทรง นาหน้าจะเป็นคากริยาราชาศัพท์
1.1เติมทรงไว้ข้างหน้า คากริยาธรรมดา เพื่อทาให้เป็นคากริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงฟัง ทรงถาม
ทรงใช้ทรงยินดี ทรงถือ ทรงรับ ทรงจับ ทรงขอบใจ เป็นต้น
1.2เติมทรงไว้ข้างหน้าคานามราชาศัพท์ เพื่อทาให้เป็นคากริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระราชนิพนธ์
ทรงพระเมตตา ทรงพระอักษร ทรงพระสุบิน ทรงพระราชดาริ เป็นต้น
1.3เติมทรงไว้ข้างหน้าคานามสามัญบางคา เพื่อให้เป็นคากริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงดนตรี ทรงม้า
ทรงกีฬา ทรงศีล ทรงบาตร ทรงปืน เป็นต้น
1.4ห้ามใช้ทรง นาหน้าคากริยาที่เป็นคาราชาศัพท์อยู่แล้ว เช่น ตรัส กริ้ว เสด็จ เสวย ทอดพระเนตร
ประทับ ประทาน บรรทม ประสูติ สวรรคต พระราชทาน โปรด
2. การใช้คากริยา มี และ เป็น
2.1หากคาที่ตามหลัง มี และ เป็น เป็นนามราชาศัพท์ ไม่ต้องเติม ทรง หน้าคาว่า มี หรือ เป็น เช่น
– สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี มี พระราชดาริในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย
แก่เยาวชน
– พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เป็น พระราชธิดาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร
2.2หากคาที่ตามหลัง มี และ เป็น เป็นคาสามัญให้เติม ทรง ไว้หน้าคากริยา มี หรือ เป็น
– พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเป็น บัณฑิตนิติศาสตร์
3. การใช้คาว่า พระบรม นาหน้าคานามหรือกริยา ไว้ใช้เฉพาะกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เท่านั้น เช่น
พระบรมราชโองการ พระบรมราชาภิเษก พระบรมราชานุเคราะห์
แต่ ถ้าจะใช้กับพระราชินี ให้ตัดคาว่า บรม ออก เช่น พระราชโองการ พระราชานุเคราะห์
4. การใช้คาว่า พระราช นาหน้าคานามหรือกริยาสามัญ จะใช้กับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร และ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เช่น พระราชทาน เสด็จพระราชดาเนิน ทรงพระราชนิพนธ์
ส่วนพระบรมวงศานุวงศ์ในระดับเจ้าฟ้าลงมาให้ใช้คาว่า ประทาน = ให้ เสด็จ =ไป
และทรงพระนิพนธ์ = แต่งหนังสือ
5. การใช้คาว่า ทูลเกล้าฯ กับ น้อมเกล้าฯ ในการถวายของ
– ถ้าเป็นของเล็กๆ ยกขึ้นให้ได้จะใช้คาว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย (ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย)
– ถ้าเป็นของใหญ่ๆ ยกขึ้นให้ไม่ได้จะใช้คาว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย (น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย)
6. ถวายการต้อนรับ ควรใช้คาว่า เฝ้าฯ รับเสด็จ
ถวายความจงรักภักดี ควรใช้คาว่า มีความจงรักภักดี, แสดงความจงรักภักดี
7. การใช้คาว่า พระราชอาคันตุกะ กับ อาคันตุกะ แปลว่า แขกมาเยือน
พระราชอาคันตุกะ ใช้เมื่อเป็นแขกของพระมหากษัตริย์
อาคันตุกะ ใช้เมื่อเป็นแขกของผู้นาประเทศที่เป็นคนธรรมดา
เช่น – ประธานาธิบดี เป็น พระราชอาคันตุกะ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
– พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น อาคันตุกะ ของประธานาธิบดี
8. หมายกาหนดการ คือ หมายรับสั่งที่สานักพระราชวัง แจ้งกาหนดการเสด็จพระราชดาเนินไปยัง
สถานีตารวจต่างๆ เพื่อรักษาความปลอดภัย หรือเอกสารแจ้งขั้นตอนงานพระราชพิธี
กาหนดการ คือเอกสารแจ้งขั้นตอนงานทั่วๆ ไป โดยสานักพระราชวังไม่ได้เกี่ยวข้อง
– สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานุญาตให้สื่อมวลชน
เข้าเฝ้าฯ ตามหมายกาหนดการ ในวโรกาสที่เสด็จฯ ยังศูนย์ศิลปาชีพพิเศษ-บางไทร
– นายกรัฐมนตรีเปิดประชุมคณะทูตไทยในภาคพื้นยุโรปตรงตาม กาหนดการ
ดอกรักบานในหัวใจใครทั้งโลก
แต่ดอกโศกบานในหัวใจฉัน
และอาจเป็นเช่นนี้ชั่วชีวัน
เมื่อรักอันแจ่มกระจ่างกลับร้างไกล
1. ดอกโศกมิได้หมายถึงสิ่งใด
๑. ผิดหวัง ๒. เศร้าใจ
๓. ดอกไม้ ๔. ช้าใจ
2. คาเขียนจดหมายถึงพระสังฆราชเจ้าข้อใดถูกต้อง
๑. กราบทูล ๒. ขอประทานกราบทูล
๓. กราบนมัสการ ๔. นมัสการ
3 . ข้อใดมีการใช้สัญลักษณ์
๑. ความจนเป็นแรงให้แข็งสู้ หากชีพอยู่จะมิยอมค้อมหัวให้
๒. น้าตาเปรียบเหมือนเพื่อน คอยตักเตือนกระตุ้นใจ
๓. ลมหวนครวญเสียงลม พาใจครบตามครวญ
๔. วันนี้ฉันมีสายรุ้งสวย นาทางช่วยมุ่งมั่นพาสร้างสรรค์
4. อุบลวรรณฟังสุนทรพจน์เรื่อง “สามัคคีธรรม นาไทยให้เป็นสุข” หลังจากฟังแล้ว
ตระหนักว่าควรปฏิบัติชีวิตให้อยู่ในความสามัคคี อุบลวรรณมีความสามารถในการฟังด้านใด
๑. สรุปความ ๒. วิเคราะห์
๓. ตีความ ๔. ประเมินค่า
5. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสาราญพระราชหฤทัย คาที่ขีดเส้นใต้หมายถึง
๑. สดชื่น ๒. สบายกาย
๓. สดใส ๔. สบายใจ
6. ข้อใดเป็นภาษาสื่อสารมวลชน
๑. บุคคลหลายฝ่ายให้ความร่วมมือกับโครงการสมานฉันท์
๒. ปีนี้ทบวงมหาวิทยาลัยประกาศผลสอบเร็วกว่ากาหนด
๓. เบื้องหลัง ๑๐ เมษายน ถล่ม “บูรพาพยัคฆ์”
๔. นายกรัฐมนตรีประกาศไม่ยุบสภา
7. ในเทศกาลต่าง ๆ คุณยายไปทาบุญที่วัดบางครั้งก็บังสกุล อุทิศส่วนกุศลให้ญาติที่ล่วงลับและ
กรวดน้าทุกครั้ง คาใดเขียนผิด
๑. เทศกาล ๒. บังสกุล
๓. ส่วนกุศล ๔. กรวดน้า
8. เมื่อคนเมืองคับคั่งด้วยคนป่ า เมื่อคนดีด้อยค่าเหมือนกรวดหิน
เมื่อสัตว์ป่ าสร้างป่ าไว้หากิน สัตว์เมืองก็ต้องสิ้นวิสัยเมือง
คาประพันธ์ข้างต้นเป็นโวหารประเภทใด
๑. เทศนาโวหาร ๒. บรรยายโวหาร
๓. อุปมาโวหาร ๔. พรรณนาโวหาร
9. ทักษะที่ใช้ในชีวิตประจาวันข้อใดมีความสาคัญต่อข้าราชการตารวจมากที่สุด
๑. ฟัง ๒. พูด
๓. อ่าน ๔. เขียน
10. ขอให้มีความรักที่มั่นคง ซื่อตรงดุจนภากับแขไข
รู้จักอ่อน ผ่อนปรน ให้อภัย รักสดใส สุขสันต์ นิรันดร
ใจความสาคัญของข้อความข้างต้นกล่าวถึงเรื่องใด
๑. ความรัก ๒. ความซื่อสัตย์
๓. ความเมตตา ๔. ความอ่อนโยน
11. คณะกรรมาธิการจัดให้มีการประชุม... คาที่ขีดเส้นใต้อ่านอย่างไร
๑. กัน-มา-ทิ-กาน ๒. กัน – ทิ – กาน
๓. กา-มา-ทิ-กาน ๔. กา – ทิ – กาน
12. ขึ้นรถเมล์ไม่เสียเกียรติ แม้เบียดนิดก็ทนหน่อย
เพราะน้ามันนั้นมีน้อย ควรใช้สอยเมื่อจาเป็น
๑.เพื่อให้ความรู้ ๒.เพื่อโน้มน้าวใจ
๓.เพื่อจรรโลงใจ ๔.เพื่อเตือนใจ
13. “ต้องอยู่กันไปอีกนาน ในบ้านหลังนี้ เติบโตมาจนป่ านนี้ ก็เพราะมีที่ให้อาศัย บ้านเรามีท้องฟ้ า มีสายน้า มีภูเขา
มีต้นไม้ แล้วเราจะอยู่อย่างไร ถ้าไม่มีอะไรเหลือเลย”
ข้อความข้างต้นมุ่งให้เกิดสิ่งใด
๑. รักและสามัคคี ๒. ความสุขและเสียสละ
๓. ภาคภูมิใจและหวงแหน ๔. ท้อแท้และสิ้นหวัง
14. “จากใจรวงใจแรงเป็นล้านล้าน ถึงใจด้านใจดาน้าใจหิน
ว่าเลือดเล็ดเม็ดข้าวที่เจ้ากิน จงถวิลทุกข์เทวษทุเรศร้าว”
บทประพันธ์นี้ผู้แต่งมีวัตถุประสงค์อะไร
๑. เตือนสติ ๒. ปลุกจิตสานึก
๓. โน้มน้าว ๔. สร้างค่านิยมใหม่
15. บทความชนิดใดใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ดีที่สุด
๑. บทความเชิงวิจารณ์ ๒. บทความเชิงวิเคราะห์
๓. บทความเชิงบรรยาย ๔. บทความเชิงพรรณนา
16. สานวนใดที่ไม่เกี่ยวกับการฟัง
๑. ฟังหูไว้หู ๒. ฟังความข้างเดียว
๓. สีซอให้ควายฟัง ๔. ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด
17. ปีนี้ปีเสือช่างเหลือร้าย ผู้คนล้มตายกันหลายที่
แผ่นดินไหวที่เฮติและชิลี อดโซ อดอยาก ทั่วหล้าทั้งแผ่นดิน
แต่ที่นี่มีภัย (ไม่) ธรรมชาติ คนทั้งชาติเบาะแว้งทะเลาะกัน
ความโกรธ ความชัง ความคลั่ง โลโภ โทสะ โทโส ในประเทศ สมเพชไทย
๑. เตือนสติ ๒. ข้อเท็จจริง
๓. ข้อคิดเห็น ๔. ข้อสังเกต
18. “ถ้าเราอ่อนแอแม้เนินเล็ก ๆ ก็เป็นภูเขาที่สูงใหญ่ แต่ถ้าเราเข้มแข็ง
แม้ลมพายุพัดแรงก็เป็นเพียงสายลมแผ่วเบา”ผู้เขียนต้องการสื่ออะไร
๑. ชีวิตอย่าสิ้นหวัง ๒. ชีวิตนี้ต้องสู้
๓. ชีวิตย่อมมีอุปสรรค ๔. ชีวิตนี้อย่าท้อแท้
19. “เพื่อหนีจนคนเราเอาทุกอย่าง หาหนทางใช้ชีวีนี้เป็นสุข
ปล้น ขโมย โกยกิน ปลิ้นปล้อนซุก คดีอุกฉกรรจ์หลากเกิดจากใด
จุดประสงค์ของผู้เขียนกล่าวถึงอะไร
๑. เตือนสติคนจนให้ดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ๒. ขอเห็นใจคนจน
๓. เรียกร้องให้สังคมช่วยเหลือคนจน ๔. ชี้ให้เห็นปัญหาที่เกิดจากความยากจน
20. คาที่ขีดเส้นใต้คาใดแสดงจานวนน้อยที่สุด
๑. ผ่าแตงโมให้แม่หน่อยซิคะ
๒. ดอกจันกะพ้อร่วงพรู
๓. นักเรียนวิ่งกรูกันออกมาอย่างรวดเร็ว
๔. พราหมณ์โปรยดอกไม้ในพิธี
21. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ถูกต้อง
๑. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงตรัสกับประชาชน
๒. ประชาชนมาถวายการต้อนรับพระบรมราชินีนาถ
๓. สมเด็จพระเทพฯเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน
๔. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ทรงเสด็จไปบรรยายแก่นักศึกษา มหิดล
22. คาขวัญข้อใดให้ข้อคิด
๑. ตารวจอยู่ไหน ประชาอุ่นใจทั่วกัน
๒. ขับรถให้เตือนตน ข้ามถนนให้เตือนตา
๓. ยาเสพติดอันตราย ผู้เสพถึงตาย ผู้ขายติดคุก
๔. เอดส์ป้ องกันได้ ถ้าใช้ถุงยางอนามัย
23. ข้อใดใช้คาฟุ่ มเฟือย
๑. สมุนไพรไทยคลายเครียดมีทั้งที่เป็นอาหารและเครื่องดื่ม เช่น ยาตะไคร้ น้าขิง ฯลฯ
๒. ผู้คนในหลายประเทศกาลังให้ความสนใจในการใช้สมุนไพรลดความเครียด
๓. ปัญหาสุขภาพจิตเป็นผลมาจากความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ
๔. ความเครียดนับว่าเป็นสาเหตุทาให้เกิดปัญหาสังคมจนถึงขั้นวิกฤติ
24. คาในข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบทั้งห้าเสียง
๑. ขิงก็ราข่าก็แรง ๒. น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
๓. คดในข้องอในกระดูก ๔. ทรัพย์ในดินสินในน้า
25. ชาวบ้าน.....................เรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมไปยังองค์กรส่วนท้อง ถิ่น
ก็กลับถูก......................ไม่ได้รับการเหลียวแล ควรเติมคาใดในช่องว่าง
๑. ร้องเรียน, วางเฉย ๒. ร้องเรียน, เพิกเฉย
๓. ร้องขอ, วางเฉย ๔. ร้องขอ, เพิกเฉย
26. ข้อใดมีคาที่มีความหมายกว้าง
1.เขาอยากมีร้านจาหน่ายเครื่องเสียงมานานแล้ว
2.ฉันชอบเปิดเครื่องทาน้าอุ่นให้อุณหภูมิสูงหน่อย
3.ช่างกาลังติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องทางานของผม
4.เด็กๆ พากันสนใจเครื่องฉายสไลด์ที่ตั้งอยู่กลางห้องเรียน
27. ข้อใดใช้คาไม่ถูกต้อง
1.ฉันหาเงินมาชาระหนี้ไม่ทันตามกาหนด จึงขอผัดผ่อนไปก่อน
2.เจ้าของบ้านผ่อนผันให้เขาจ่ายค่าเช่าบ้านได้ภายในสัปดาห์หน้า
3.หลังจากพี่ชายของฉันมีงานทา เหตุการณ์ร้ายๆ ในครอบครัวก็ผ่อนปรนไป
4.เมื่อรู้ว่าลูกปลอดภัยแล้ว ความวิตกกังวลของเขาก็ผ่อนคลายลง
28. ข้อใดใช้คาถูกต้องตรงความหมาย
1.เดินขึ้นเขามาเหนื่อยเต็มทน ต้องปลดระวางตัวเองเสียที
2.สอบเข้ามหาวิทยาลัยมา 3 ปี ไม่เคยได้ปีนี้เขาเลยปลงตก ไม่ไปสอบอีกแล้ว
3.เห็นผู้ใหญ่นั่งอยู่หลายคน เธอต้องค่อยๆ ปลีกตัวเดินให้ดีๆ ไม่ให้กระทบท่าน
4.เวลาอ่านหนังสือจนสมองเมื่อยล้า ฉันใช้วิธีดื่มกาแฟกระตุ้นให้กระปรี้กระเปร่า
29. ข้อใดแสดงน้าเสียงชื่นชมได้ชัดเจนที่สุด
1.เขาทาได้ดี ทุกคนที่มาก็พอใจ
2.ทุกคนประทับใจที่เขาได้สู้จนสุดความสามารถ
3.เราได้ส่งจดหมายแสดงความยินดีไปให้เขาแล้ว
4.รางวัลที่เขาได้รับเป็นกาลังใจให้เขาพยายามต่อไป
30. ข้อใดไม่ใช่ข้อบกพร่องในการฟัง
1.สีซอให้ควายฟัง 2. เข้าหูซ้าย ทะลุหูขวา
3.ไปไหนมา สามวาสองศอก 4. ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด
31. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง
1.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จลง ณ ท้องพระโรง ศาลาเริง
วังไกลกังวล ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
2.สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมารเสด็จพระราชดาเนินในการพระราชพิธีราช บาเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา
3.สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
สยามมกุฎราชกุมารทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระเจ้าหลานเธอ
พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาเสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปประทาน
รางวัล วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน
4.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง
“เมื่อข้าพเจ้าเป็น นักเรียนนอก” นับเป็นพระราชนิพนธ์ลาดับที่ 44
32. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง
1.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัสพระราชทานพรแก่พสกนิกรชาวไทยเนื่องในโอกาส วันขึ้นปีใ
หม่
2.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารีทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะพระบรมรา ชานุสาวรีย์สองรัชกาล
3.พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาทรงบาเพ็ญพระกุศลทรงบาตรในโอกาสวันคล้ายวัน ประสูติ
4.หม่อมเจ้าสิริวัณวรี มหิดล เสด็จฯ ไปทรงเป็นประธานเปิดงานมหกรรมสัตว์เลี้ยงแห่งประเทศไทย
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 33 – 34
“ถ้าคิดในด้านดีการที่หนังต่างประเทศเข้ามาถ่ายทาในประเทศไทย
ประเทศไทยก็ได้ประโยชน์เหมือนกันที่เห็นได้ชัดก็คือเงินเป็นแสนถึงล้านบาท สาหรับหนังสารคดี
เป็นสิบล้านถึงร้อยล้านบาท สาหรับหนังโรง เงินจานวนดังกล่าวนี้คือค่าใช้จ่ายที่คณะถ่ายทาภาพยนตร์แต่ละคณะใช้จ่ายใน
ประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นค่าจ้างบริษัทประสานงาน ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าพาหนะ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ประมาณกันว่าในปีหนึ่งๆ ประเทศไทยได้เงินจากคณะถ่ายทาภาพยนตร์ต่างประเทศเหล่านี้มาหมุนเวียนในระบบ
เศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท นับเป็นตัวเลขที่น่าสนใจทีเดียว
น่าสนใจจนทาให้รัฐบาลลืมด้านที่จะเสียประโยชน์ไปได้ในทันที”
33. ข้อความข้างต้นนี้ผู้เขียนไม่ได้ใช้วิธีการนาเสนอตามข้อใด
1.การให้ขัดแย้งจริง 2. การโต้แย้ง
3.การโน้มน้าวใจ 4. การให้รายละเอียด
34. ผู้เขียนเห็นว่าการกระทาของรัฐบาลใกล้เคียงกับสานวนได้มากที่สุด
1.น้าขึ้นให้รับตัก 2. เห็นเงินตาโต
3.สิบเบี้ยใกล้มือ 4. ดีดลูกคิดรางแก้ว
35. คาประพันธ์ต่อไปนี้กล่าวถึงเรื่องใด
“แสยงขนยลเหยียบไม้ ราแพน
หกหัวหอกตั้งแปลน เสียดข้าง
ช้างไล่ม้าราแพน ผัดล่อ
จีนกลแล่นอวดอ้าง ชักไส้กลางสนาม”
1.พฤติกรรมของสัตว์ 2. การแสดงกายกรรม
3.การซ้อมรบของทหาร 4. การละเล่นในงานพิธี
36. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีวัตถุประสงค์ตามข้อใดมากที่สุด
“หากใจเจ้าบริสุทธิ์งามผุดผ่อง ปากเขาที่ป่าวร้องไม่เสียหาย
ดีหรือชั่วตนรู้ตนไปจนตาย ใช่จะคลายเสื่อมค่าราคาคน”
1.สอนให้ทาจิตใจให้บริสุทธิ์ 2. แนะนาให้ทาความดีต่อไป
3.เตือนไม่ให้ตอบโต้การนินทา 4. ให้กาลังใจให้มั่นคงในการทาความดี
37. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด
“เรามีมือเท้าเท่า เทียมเขา สิ้นพ่อ
กิจซึ่งไม่เกินภูมิ มนุษย์แล้ว
แม้บากบั่นหมั่นเอา ใจใส่ ฝึกแฮ
คงสิทธิ์สักครั้งแคล้ว คลาดไฉน”
1.ให้รู้จักพึ่งตนเอง 2. ให้พัฒนาตนเอง
3.ให้พยายามรักษาสิทธิของตน 4. ให้เชื่อมั่นในความสามารถของตน
38. “พระสงฆ์สดับปกรณ์” คาว่าสดับปกรณ์ หมายถึง
1. บังสุกุล 2.ให้พร
3. ฟังพระอภิธรรม 4. ฟังอย่างตั้งใจ
39. หนังสือราชการ (จดหมาย)ส่งถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ใช้คาขึ้นต้นและ คาลงท้ายว่าอย่างไร
1. เรียน , ขอแสดงความนับถือ 2. เรียน , ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
3. กราบเรียน , ขอแสดงความนับถือ 3. กราบเรียน , ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
40. ข้อใดเขียนถูกต้องทุกคา
1. สถานการณ์ , เหตุการณ์ , อนุญาติ 2. อุดมการณ์ , อิสรภาพ , สัณนิษฐาน
3. ลายเซ็น , ยาเสพติด , มรณกรรม 4. เกร็ดความรู้ , เกษียณ , ลาดตระเวณ
41. “ตีเข่าปับรับโปกสองมือปิด ประจบติดเตะผางหมัดขว้างหวือ” เป็นการละเล่นใด
1. มวยไทย 2. มวยปล้า
3. มวยสากล 4. มวยทะเล
42. เขา ........ ออกจากบ้านเพราะได้ข่าวว่าคนงานถูกไฟ .......... ควรเติมคาใดในช่องว่าง
1. ลุกลี้ลุกลน , คลอก 2. ลุกรี้ลุกรน , ครอก
3. ลุกลี้ลุกลน , ครอก 4. ลุกรี้ลุกรน , คลอก
43. ข้อใดใช้คาเปรียบเทียบได้ถูกต้อง
1. พูดมากเหลือเกินเหมือนตักน้ารดหัวสากไม่ยอมหยุด
2. ตัวเองเป็นคนต่าต้อยถึงเพียงนี้ ยังไม่รู้จักตักน้าใส่กะโหลกชะโงกดูเงาตัวเองอีก
3. คนพวกนี้เวลารวมตัวกันแล้วชอบนินทาคนโน้นคนนี้ เหมือนที่เขาบอกว่าปากหวานก้นเปรี้ยว
4. ฟังเรื่องราวแค่นิดเดียว แต่เขาสามารถพูดได้อย่างยืดยาว ช่างพูด ปากไม่มีหูรูด
44. “ ขณะนี้กาลังมีการฟอกขาว กรณีโครงการชุมชนพอเพียงเป็นที่วิจารณ์อย่างมากคณะกรรมการที่คัดเลือกมา
เพื่อหวังการันตีความสะอาด แต่มีการเบี่ยงประเด็นทานอง ว่า “ข้าเลว เอ็งก็ชั่ว”
เป็นที่น่าจับตามองว่าจะจบลงแบบมือเปล่าหรือไม่” ผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร
1. ห่วงใย 2. เสียดสี
3. เยาะเย้ย 4. เหยียดหยาม
45. ข้อใดใช้คาฟุ่ มเฟือย
1. วันนี้จราจรติดขัดมาก เพราะเป็นวันเปิดเทอมวันแรก
2. ตารวจเข้าทาการจับกุมคนร้ายได้หลังจากที่มีการติดตามมานาน
3. อดีตข้าราชการตารวจชั้นผู้ใหญ่ร่วมมือกับบริษัทเอกชนรายใหญ่ กว้านซื้อที่ดินของชาวนา
4. ชาวนาสวมหมวกใบตาลเดินอยู่ในทุ่งนา
46. “ เป็นคนสุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ” หมายถึงข้อใด
1. พูดดีได้ดี 2. พูดดีเป็นศรีแก่ปาก
3.พูดอย่างมีวิจารณญาณ 4. คนจะนิยมก็อยู่ที่คาพูด
47. ข้อใดจาเป็นต้องใช้คาทับศัพท์
1. เขาเป็นสปอนเซอร์ในการแข่งขันกีฬาครั้งนี้
2. เธอมาซื้อของที่นี่ เธอขึ้นลิฟต์แก้วหรือบันไดเลื่อน
3. เธอได้เปอร์เซ็นต์จากการขายเครื่องสาอาง
4. เขาให้ทิปพนักงานทุกคนที่บริการ
48. จงเรียงลาดับข้อความ
ก. การเรียนธรรมล้านนา คือการเขียนภาษาล้านนา
ข. ชาวล้านนาที่มีลูกชาย เมื่อมีอายุ 8-9 ปี ก็จะส่งลูกเข้าวัดเพื่อเป็นขะยม
ค. เมื่อมีเวลาว่าง ตุ๊หลวงหรือเจ้าอาวาสวัด ก็จะสอนหนังสือให้
ง. หน้าที่ของขะยม คือ การรับใช้พระและเดินตามพระบิณฑบาต
1. ข ง ค ก 2. ก ข ง ค
3. ก ค ข ง 4. ก ค ง ข
49. “ภาพพจน์ไม่ใช่เพ่งเล็งไปที่รูปหรือภาพ / แต่หมายถึงความรู้สึกนึกคิด ที่เกิดขึ้นในใจ / ในการพูด เขียน
หรือแสดงออกถึงภาพพจน์ / โดยอาศัยคาที่มีความหมายโดยนัย” ข้อใดหมายถึงคาว่าภาพพจน์
1. เพ่งเล็ง 2. ความรู้สึกนึกคิด
3. แสดง 4. คา
50. คาในข้อใดไม่มีความหมายเชิงอุปมา
1. เขาไม่ชอบกินแรงเพื่อน
2. เขาข่มขืนใจไม่ให้ฉันทางาน
3. เขาเป็นมือดีของหน่วยงานนี้
4. เขาเปิดไฟเขียวให้ฉันไปหาเฉพาะวันหยุด
51. “อันว่าแก้วกระจกรวมอยู่กับสุวรรณ ย่อมได้แสงจับเป็นเลื่อมพรายคล้ายมรกต ผู้ที่โง่ เขลา
แม้ได้อยู่ใกล้นักปราชญ์ ก็อาจเป็นคนเฉลียวฉลาดได้ฉันเดียวกัน” เป็นโวหารชนิดใด
1.บรรยายโวหาร 2. สาธกโวหาร
3. อุปมาโวหาร 4. พรรณนาโวหาร
52. "โรคชิคุนกุนยาหรือชื่อเรียกภาษาไทย ว่าโรคไข้ปวดข้อยุงลาย มียุงลายเป็นพาหะนาโรค
แต่ทางภาคใต้ของไทยจะเรียกกันว่าโรคไข้ญี่ปุ่ นเพราะชื่อโรคชิคุนกุนยาจะ คล้ายกับภาษาญี่ปุ่ น แต่ความจริงแล้ว
โรคชิคุนกุนยามาจากภาษามากอนดี ซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองทางตอนใต้ของประเทศแทนซาเนียในทวีปแอฟริกา
อธิบายถึงลักษณะบูดเบี้ยวหรือ บิดงอตัว จากอาการปวดข้ออย่างรุนแรง"บทความนี้สรุปได้ว่าอย่างไร
1. ที่มาของโรคชิคุนกุนยา 2.ประวัติของโรคชิคุนกุนยา
3. มารู้จักกับโรคชิคุนกุนยากันเถอะ 4. มหันตภัยจากโรคชิคุนกุนยา
53. ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. คานวณ 2. ผัดเวลา
3. ถนนราดยาง 4. เงินทดลองจ่าย
54. “ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง”
จากข้อความข้างต้น เป็นการกล่าวในลักษณะ ใด
1. ให้ข้อคิดคนไทยเรื่องการขาดความ สามัคคี
2. เตือนสติคนไทยเรื่องการขาดความสามัคคี
3. เสนอแนะวิธีการป้ องกันการขาดความสามัคคี
4. ประชดประชันคนไทยเรื่องการขาดความสามัคคี
แนวของ อ.ปิง น่าสนใจครับ ลองฝึกทาดู
การตีความร้อยกรอง
1.คนเห็นคนเป็นคนนั่นแหละคนคนเห็นคนใช่คนใช่คนไม่
เกิดเป็นคนต้องเป็นคนทุกคนไปจนหรือมีผู้ดีไพร่ไม่พ้นคน”
บทประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งแบบใด
1. การเล่นคาซ้า
2. การเล่นคาพ้อง
3. การใช้สัมผัสสระอักษร
4. การใช้ปฏิพากย์
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 2-4
“มาทาลายรั้วระวังให้พังราบมาร่ายเสกมนต์สาปให้หมดเศร้า
มาให้ห่วงคิดถึงทุกค่าเช้ามาปล้นเอาหัวใจไปหมดแล้ว”
2.น้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร
1. อาลัย
2. จริงจัง
3. เพ้อฝัน
4. มีความสุข
3.ลักษณะการแต่งที่เด่นที่สุดในบทประพันธ์คือข้อใด
1. สัมผัสสระ
2. สัมผัสอักษร
3. การใช้ภาพพจน์
4. การใช้กลบท
4.บุคคลใดน่าจะเป็นประธานของบทประพันธ์นี้มากที่สุด
1. ทหารที่ออกไปรบ
2. ขโมย
3. นางอันเป็นที่รัก
4. พ่อมด
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 5-7
ขอบคุณ...
ขอบคุณสาหรับโรงบุหรี่
ขอบคุณอีกทีกับโรงหวย
ขอบคุณสนามม้าชาติหน้ารวย
ขอบคุณโรงเหล้าด้วยช่วยชาติไทย
5.ข้อใดเแสดงความรู้สึกของผู้ประพันธ์เด่นชัดที่สุด
1. เกลียดชัง
2. ประชด
3. ชื่นชม
4. ยกย่อง
6.ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายตามข้อใด
1. เตือนให้คิด
2. แนะให้ทา
3. ติเตียน
4. สั่งสอน
7.คาประพันธ์ในข้อใดใช้น้าเสียงเหมือนกับคาประพันธ์ข้างต้น
1. ไทยคงเอกราชด้วยฝีมือไทยเอย
2. ขอบคุณไมตรีที่มีให้ความห่วงใยอาทรแต่ก่อนเก่า
แม้วันนี้ไม่มีทางระหว่างเราก็ไม่เศร้าเหงาหรอกใจบอกมา
3. หนึ่งจะต้องอกหักกับรักแรกสองจะต้องไม่แปลกกับรักใหม่
สามจะต้องผิดหวังทุกครั้งไปสี่จะต้องจาไว้รักคือทุกข์
4. จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิดจะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง
จะยอมตายหมายให้เกียรติดารงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 8-10
“มิ่งมิตร...เธอมีสิทธิ์ที่จะล่องแม่น้ารื่น
ที่จะบุกดงดากลางค่าคืนที่จะชื่นใจหลายกับสายลม
ที่จะร่าเพลงเกี่ยวโลมเรียวข้าวที่จะยิ้มกับดาวพราวผสม
ที่จะเหม่อมองหญ้าน้าตาพรมที่จะขมขื่นลึกโลกหมึกมน”
8.แนวคิดใดไม่ปรากฏในบทประพันธ์นี้
1. สิทธิของมนุษย์
2. ธรรมชาติของชีวิตที่มีทุกข์มีสุขสลับกัน
3. การต่อสู้กับอุปสรรค
4. ความยุติธรรมและความถูกต้อง
9.ในบทร้อยกรองนี้ กวีวางตนไว้ในฐานะอะไร
1. อาจารย์
2. เพื่อน
3. พระ
4. บุคคลอันเป็นที่รัก
10.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคาประพันธ์ข้างต้น
1. ความหมายเชิงสัญลักษณ์ของถ้อยคา
2. ความง่ายและความงามของบทกลอน
3. การใช้อุปลักษณ์และบุคคลวัต
4. แสดงแนวคิดทางพุทธศาสนา
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 11-14
โหยหวนหวูดหวูดรถไฟจุดหมายอยู่ไหนในโลกกว้าง
ผ่านหุบเหวทะเลทรายไปตามรางเลื้อยลอดอุโมงค์กว้างอันมืดนาน
เด็กน้อยยองยองแม่ใช้ไปซื้อของซื้อข้าวสาร
เอาไม้เขี่ยรถไฟบนใบลานรถไฟคลานเป็น อ.อ่าง ละลานลือ
พลางควานกระเป๋ าพบรอยขาดตรงที่คาดว่าจะมีเหรียญวางทื่อ
ฉันทาความอิ่มหายไปหลายมื้อเด็กน้อยตีมือกระทืบรถไฟจนแหลกเหลว
11.“รถไฟ” ในที่นี้เป็นการใช้ภาพพจน์ประเภทใด
1. อุปลักษณ์
2. สัญลักษณ์
3. บุคคลวัต
4. อติพจน์
12.“เด็กน้อย” เป็นคนอย่างไร
1. ช่างจินตนาการ
2. โหดเหี้ยมอามหิต
3. ร่ารวย
4. ไม่ระมัดระวัง
13.แนวคิดสาคัญของบทประพันธ์คือ
1. ความฝันกับจินตนาการ
2. ความยากจนกับความฝัน
3. ความยากจนกับจินตนาการ
4. ความยากจนกับความไม่ระมัดระวัง
14.บทประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏโวหารภาพพจน์แบบใด
1. สัทพจน์
2. อุปลักษณ์
3. สัญลักษณ์
4. บุคคลวัต
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 15-16
เขียนคนด้วยคนใหม่เขียนหัวใจด้วยไมตรี
เขียนปากด้วยพจีสุจริตจานรรจา
เขียนสมองและสองมือด้วยซื่อสัตย์และศรัทธา
มุ่งมั่นและปัญญามาเถิดมามาช่วยกัน
15.บทประพันธ์ข้างต้นเป็นสารประเภทใด
1. ชวนเชื่อ
2. โน้มน้าว
3. ให้เหตุผล
4. ให้ความรู้
16.แนวคิดใดไม่ปรากฏในบทประพันธ์
1. โลกสวยด้วยมือเรา
2. การพัฒนาตนเอง
3. สามัคคีคือพลัง
4. ปัญญาประดุจดังอาวุธ
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 17-18
หยุดประเดี๋ยวได้ไหมพายุร้ายหยุดส่งสายสุนีบาตมาข่มขู่
กัมปนาทกราดเกรี้ยวกันเกรียวกรูเพื่อสักครู่เจ้าจะหลั่งซึ่งฝนริน
เติมความรักสักหน่อยนะหัวใจเติมความหวังไกลอยู่ให้สิ้น
ให้หยัดอยู่คู่ท้าเถื่อนธรนินทร์เพื่อแผ่นดินจะงดงามด้วยความรัก
17.คาประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งในข้อใด
1. เล่นสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
2. เล่นคาพ้องความหมาย
3. ใช้สัญลักษณ์
4. ซ้าคาย้าความหมาย
18.ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายในข้อใด
1. ให้มีความอดทน
2. ให้มองโลกในแง่ดี
3. ให้มีอุดมการณ์
4. ให้กาลังใจ
จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 19-20
เป็นสร้อยโสภิศพ้นอุปรมา
โสรมสรวงศิรธิรางค์เวี่ยไว้
จงคงคู่กัลปายืนโยค
หายแผ่นดินฟ้าไหม้อย่าหาย ฯ
19.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคาประพันธ์ข้างต้น
1. การใช้อติพจน์
2. การใช้อุปลักษณ์
3. การใช้คาอลังการ
4. การใช้อุปมา
20.บทประพันธ์นี้ต้องการสื่ออะไร
1. แสดงความสาคัญของบทกวี
2. แสดงความยิ่งใหญ่ของบทกวี
3. แสดงความสามารถของกวี
4. แสดงความรู้สึกของกวี
ธรรมชาติของภาษา
21. ข้อใดเป็นลักษณะร่วมของการใช้เสียงพูดและการใช้ตัวเขียนในการสื่อสาร
1. อวัยวะที่ใช้ในการสื่อสาร
2. อวัยวะที่ใช้ในการรับสาร
3. ตัวสาร
4. ความคงทนของสาร
22. เหตุใดจึงไม่จัดภาษาเขียนไว้ในภาษาในความหมายอย่างแคบ
1. ภาษาเขียนมีความแน่นอนน้อยกว่าภาษาพูด
2. บางภาษายังไม่มีภาษาเขียน
3. ภาษาเขียนไม่สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้
4. ภาษาพูดมีมาก่อนภาษาเขียน
23. กลุ่มคาในข้อใดแสดงให้เห็นว่าเสียงและความหมายในแต่ละภาษาไม่สัมพันธ์กัน
1. ผู้หญิงนารีสตรีกัลยา
2. เคียดแค้นขุ่นขึ้ง
3. ตุ๊กแกฉู่ฉี่โครมทุ่ม
4. เกเขเย้เป๋
24. หน่วยที่เล็กที่สุดของภาษาคือข้อใด
1. เสียงสระ
2. เสียงพยัญชนะ
3. พยางค์
4. ถูกทั้ง 1. และ 2.
25. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ถึงแม้ว่าจะมีเสียงจากัด เราไม่สามารถสร้างประโยคที่ยาวที่สุดได้
2. ในแต่ละภาษา หน่วยที่ใหญ่กว่าสามารถจาแนกเป็นหน่วยที่เล็กกว่าได้เสมอ
3. ภาษาเป็นพฤติกรรมการสื่อสารแบบที่ต้องเรียนรู้ซึ่งผู้ใช้กาหนดขึ้นเองทั้งระบบ
4. เนื่องจากภาษาใช้เสียงสื่อสารทาให้ผู้ใช้ภาษาต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันเข้าใจได้ทั้งหมด
26. การที่คนบางกลุ่มออกเสียงคาว่า “เต้าเจี้ยว” เป็นคาว่า “เจ้าเจี้ยว” แสดงว่าภาษามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
1. เกิดการกร่อนเสียง
2. เกิดการผลักเสียง
3. เกิดการกลมกลืนเสียง
4. เกิดการสลับที่ของเสียง
27. คาในข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากคาอื่น
1. มะพร้าว
2. กระดุม
3. วะวับ
4. ตะเข้
28. ข้อใดไม่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
1. การแปรของภาษาตามระดับภาษาและสถานการณ์
2. การพูดในชีวิตประจาวัน
3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
4. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 29-32
ร้างศาสตร์ฉกหยุดเพชรวุ่นเพศสั่งชาติพากย์ภาพอยากเมฆค่าผัดซัดเวรซึ้งพรรคด้วงโรคหนอนเพลยากหญิงเลขลิ้นฉัตร
29. คาที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกันตั้งแต่ 3 คาขึ้นไปมีทั้งหมดกี่ชุดคา
1. 5 ชุด
2. 4 ชุด
3. 3 ชุด
4. 2 ชุด
30. คาที่มีเสียงสระ “เอ” มีทั้งหมดกี่คา
1. 7 คา
2. 6 คา
3. 5 คา
4. 4 คา
31. คาที่สะกดในมาตราแม่กก มีมากกว่าคาที่สะกดในมาตราแม่กดกี่คา
1. มีจานวนเท่ากัน
2. 1 คา
3. 2 คา
4. 3 คา
32. จากรายการคาข้างต้น มีคาที่มีเสียงวรรณยุกต์ใดน้อยที่สุด
1. เอก
2. โท
3. ตรี
4. จัตวา
คาสั่งจงเติมคาหรือข้อความสั้น ๆ เพื่อตอบคาถามให้วิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสารต่อไปนี้
"นิดโบกมือลาแดงก่อนไปขึ้นเครื่องบิน"
33. ผู้ส่งสาร : ………………………………
34. ผู้รับสาร : ………………………………
35. สื่อ : ………………………………
36. สาร : ………………………………
"ป้ ายห้ามส่งเสียงดังในห้องสมุด"
37. ผู้ส่งสาร : ………………………………
38. ผู้รับสาร : ………………………………
39. สื่อ : ………………………………
40. สาร : ………………………………
เสียงในภาษา
41. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ภาษาต่างประเทศ
1. เดิน
2.ทบ
3. ปราบ
4. ระฆัง
42. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย
1. วางคาขยายหลังคาหลัก
2. ไม่เปลี่ยนรูปคาเพื่อบอกเพศ พจน์ กาล
3. มีเสียงควบกล้าในพยัญชนะท้าย
4. มีลักษณะเหมือนเสียงดนตรี
43. คาควบกล้าในข้อใดมีเสียงควบกล้าเป็นเสียงที่มีมาตั้งแต่ภาษาไทยดั้งเดิม
1. เฟรนฟรายด์
2. บรั่นดี
3. คริสตัล
4. จันทรา
44. จากลักษณะต่อไปนี้ ข้อใดไม่สามารถจาแนกคาไทยได้
1. มักจะเป็นคาพยางค์เดียว
2. มักจะสะกดตรงมาตรา
3. มีความหมายในตัวเอง
4. เป็นคาที่อ่านเนื่องเสียง
45. ข้อใดต่างจากพวก
1. แสร้ง
2. เศร้า
3. ทราบ
4. ผลิ
46. เป็นศรีแก่ปากผู้ ผจงฉันท์
คือคู่มาลาสรร เรียบร้อย
เป็นถนิมประดับกรรณ ทุกเมื่อ
กลกระแจะต้องน้อย หนึ่งได้แรงใจ
ข้อความนี้มีเสียงควบกล้าและอักษรนาอย่างละกี่คา
1. ควบกล้า 2 คา อักษรนา 2 คา
2. ควบกล้า 2 คา อักษรนา 3 คา
3. ควบกล้า 3 คา อักษรนา 2 คา
4. ควบกล้า 4 คา อักษรนา 4 คา
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 47-48
“อันน้าใจกวนอูนั้น ถ้าผู้ใดมีคุณแล้วเห็นจะเป็นเหมือนอิเยียวอันเล่าปี่กับกวนอูนั้นมิได้เป็น พี่น้องกัน
ซึ่งมีความรักกันนั้นเพราะได้สาบานต่อกัน เล่าปี่เป็นแต่ผู้น้อย เลี้ยงกวนอูไม่ถึงขนาดกวนอูยังมีน้าใจกตัญญูต่อเล่าปี่
จึงคิดจะติดตามมิได้ทิ้งเสีย...”
47. จากข้อความข้างต้น มีคาที่มีเสียงสระประสมกี่คา
1. 6 คา
2. 7 คา
3. 8 คา
4. 9 คา
48. จากข้อความข้างต้น มีคาที่ประสมสระเกินกี่คา
1. 10 คา
2. 11 คา
3. 12 คา
4. 13 คา
49. ข้อใดมีคาที่มีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด
1. ลางลิงลิงลอดไม้ลางลิง
2. แลลูกลิงลงชิงลูกไม้
3. ลิงลมไล่ลมติงลิงโลด หนีนา
4. แลลูกลิงลางไหล้ลอดเลี้ยว ลางลิง
50. ข้อใดมีวรรณยุกต์ไม่ครบห้าเสียง
1. ปางนั้นส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทราเทพกัญญา
2. จาเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับพระอาวาส
3. พระทัยนางให้หวั่นหวาดพะวงหลัง
4. ตั้งพระทัยเป็นทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิขาดสาย
51. คาในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทั้ง 2 คา
1. ประทิ่นประมาท
2. น้ามันกะปิ
2. เกะกะห่วงใย
3. ลูกเสือแม่น้า
52. รูปพยัญชนะที่ทาหน้าที่เป็นทั้งตัวสะกดและพยัญชนะต้นในข้อใดที่เป็นเสียงเดียวกัน
1. คัคนางค์
2.เอกราช
3. ชลนา
4. เทวทัต
53. ข้อใดมีเสียงสระสั้นทุกพยางค์
1. น้าจิ้มน้าตาลน้าหวานน้ามัน
2. แม่น้าแม่ทัพแม่ยายแม่สื่อ
3. นมข้นนมผงนมกล่องนมสด
4. กระต่ายกระเต็นกระตั้วกระปุก
54. ข้อใดมีคาที่ออกเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกับรูปมากที่สุด
1. กาจับกาฝากต้นตุมกา
2. กาลอดกาลามาร่อนร้อง
3. เพกาหมู่กามาจับอยู่
4. กาม่ายมัดกาจ้องกิ่งก้านกาหลง
จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 55-60
ก.สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสนข.ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอมค.กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพยอมง.อาจจะน้อมจิตโ
น้มด้วยโลมลม
55. ข้อใดมีคาที่มีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวมากที่สุด (ไม่นับเสียงซ้า)
1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
56. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม
1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
57. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดน้อยที่สุด (ไม่นับเสียงซ้า)
1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
58. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง
1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
59. ข้อใดมีพยางค์เปิดน้อยที่สุด
1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
60. ข้อใดประสมสระเสียงสั้นมากที่สุด
1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
61. ข้อใดมีคาลหุมากที่สุด
1. ถ้าหากฉันเกิดเป็นนกที่โผบิน
2. ติดปีกบินไปให้ไกลไกลแสนไกล
3. จะขอเป็นนกพิราบขาว
4. ช่วยชี้นาชาวประชาสู่เสรี
ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 62-63
เสียทีก็มีชื่อ ได้เลื่องลือสรรเสริญ
สงสารว่ากรรมเกิน กาลังดอกจึงจมสูญ
62. ข้อความข้างต้นมีคาลหุกี่คา
1. 1 คา
2. 2 คา
3. 3 คา
4. 4 คา
63. ข้อความข้างต้นมีคาตายกี่คา
1. 1 คา
2. 2 คา
3. 3 คา
4. 4 คา
64. คาครุ-ลหุ จะปรากฏในฉันทลักษณ์ประเภทใด
1. ลิลิต
2. ร่ายยาว
3. คาฉันท์
4. กลอนนิราศ
65. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งสองคา
1. กลบเกลื่อน
2. ทรุดโทรม
3. ว่องไว
4. โครมคราม
66. ข้อใดมีโครงสร้างพยางค์ต่างกับข้ออื่น
1. น้าตาล
2. น้าใจ
3. น้าลาย
4. น้าแดง
67. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันคาว่า “ปากกา”
1. ดักแด้
2. แหกตา
3. ทานา
4. ท้องฟ้า
68. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งหมด
1. กินสินหินริน
2. ปัด จัด หั่น ตุ่ม
3. อย่าอยู่อย่างอยาก
4. ดินน้าทอง สวย
69. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. คาลหุทุกคาเป็นคาตาย
2. พยางค์เปิดทุกพยางค์เป็นคาลหุ
3. คาตายทุกคาเป็นพยางค์เปิด
4. พยางค์เปิดทุกพยางค์เป็นคาตาย
70. ข้อใดมีจานวนพยางค์น้อยที่สุด
1. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
2. ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช
3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. คณบดีคณะอักษรศาสตร์

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบJutamassiri
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2Junior Lahtum
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Piroj Poolsuk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJUnity' PeeBaa
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำGoy Saranghae
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยsomchai2505
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
ไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรtommy
 

What's hot (19)

thai
thaithai
thai
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
โครงงานJ
โครงงานJโครงงานJ
โครงงานJ
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
Kam
KamKam
Kam
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมรไทยเตะเขมร
ไทยเตะเขมร
 

Similar to คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Marr Ps
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพThanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)Thanit Lawyer
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 

Similar to คำราชาศัพท์ (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
99
9999
99
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 

More from Marr Ps

สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560Marr Ps
 
Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS
 Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS
Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OSMarr Ps
 
ข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
ภาษาอังกฤษ 201
ภาษาอังกฤษ 201ภาษาอังกฤษ 201
ภาษาอังกฤษ 201Marr Ps
 
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจสิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจวิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจวิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
ภาษาอังกฤษ 202
ภาษาอังกฤษ 202ภาษาอังกฤษ 202
ภาษาอังกฤษ 202Marr Ps
 
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6Marr Ps
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรมMarr Ps
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรมMarr Ps
 
คำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษ
คำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษคำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษ
คำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษMarr Ps
 
ความรู้ความสามารถทั่วไป3
ความรู้ความสามารถทั่วไป3ความรู้ความสามารถทั่วไป3
ความรู้ความสามารถทั่วไป3Marr Ps
 
ความรู้ความสามารถทั่วไป2
ความรู้ความสามารถทั่วไป2ความรู้ความสามารถทั่วไป2
ความรู้ความสามารถทั่วไป2Marr Ps
 

More from Marr Ps (20)

สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
 
Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS
 Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS
Teclast Tbook 10 Tablet PC Dual OS
 
ข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบภาษาไทย นักเรียนนายสิบตำรวจ
 
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
ภาษาอังกฤษ 201
ภาษาอังกฤษ 201ภาษาอังกฤษ 201
ภาษาอังกฤษ 201
 
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจสิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ปัญหาข้อสอบในการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจวิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจวิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
ภาษาอังกฤษ 202
ภาษาอังกฤษ 202ภาษาอังกฤษ 202
ภาษาอังกฤษ 202
 
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6
แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ นสต ม6
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
คำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษ
คำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษคำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษ
คำแนะนำการพัฒนาภาษาอังกฤษ
 
ความรู้ความสามารถทั่วไป3
ความรู้ความสามารถทั่วไป3ความรู้ความสามารถทั่วไป3
ความรู้ความสามารถทั่วไป3
 
ความรู้ความสามารถทั่วไป2
ความรู้ความสามารถทั่วไป2ความรู้ความสามารถทั่วไป2
ความรู้ความสามารถทั่วไป2
 

คำราชาศัพท์

  • 1. การใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพ คาราชาศัพท์ คือ คาที่ใช้สาหรับพระราชาและเจ้านาย หลักการใช้คาราชาศัพท์ 1. การใช้คาว่า ทรง ถ้ามีคาว่า ทรง นาหน้าจะเป็นคากริยาราชาศัพท์ 1.1เติมทรงไว้ข้างหน้า คากริยาธรรมดา เพื่อทาให้เป็นคากริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงฟัง ทรงถาม ทรงใช้ทรงยินดี ทรงถือ ทรงรับ ทรงจับ ทรงขอบใจ เป็นต้น 1.2เติมทรงไว้ข้างหน้าคานามราชาศัพท์ เพื่อทาให้เป็นคากริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระเมตตา ทรงพระอักษร ทรงพระสุบิน ทรงพระราชดาริ เป็นต้น 1.3เติมทรงไว้ข้างหน้าคานามสามัญบางคา เพื่อให้เป็นคากริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงดนตรี ทรงม้า ทรงกีฬา ทรงศีล ทรงบาตร ทรงปืน เป็นต้น 1.4ห้ามใช้ทรง นาหน้าคากริยาที่เป็นคาราชาศัพท์อยู่แล้ว เช่น ตรัส กริ้ว เสด็จ เสวย ทอดพระเนตร ประทับ ประทาน บรรทม ประสูติ สวรรคต พระราชทาน โปรด 2. การใช้คากริยา มี และ เป็น 2.1หากคาที่ตามหลัง มี และ เป็น เป็นนามราชาศัพท์ ไม่ต้องเติม ทรง หน้าคาว่า มี หรือ เป็น เช่น – สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี มี พระราชดาริในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย แก่เยาวชน – พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เป็น พระราชธิดาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 2.2หากคาที่ตามหลัง มี และ เป็น เป็นคาสามัญให้เติม ทรง ไว้หน้าคากริยา มี หรือ เป็น – พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเป็น บัณฑิตนิติศาสตร์ 3. การใช้คาว่า พระบรม นาหน้าคานามหรือกริยา ไว้ใช้เฉพาะกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เท่านั้น เช่น พระบรมราชโองการ พระบรมราชาภิเษก พระบรมราชานุเคราะห์ แต่ ถ้าจะใช้กับพระราชินี ให้ตัดคาว่า บรม ออก เช่น พระราชโองการ พระราชานุเคราะห์ 4. การใช้คาว่า พระราช นาหน้าคานามหรือกริยาสามัญ จะใช้กับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เช่น พระราชทาน เสด็จพระราชดาเนิน ทรงพระราชนิพนธ์ ส่วนพระบรมวงศานุวงศ์ในระดับเจ้าฟ้าลงมาให้ใช้คาว่า ประทาน = ให้ เสด็จ =ไป และทรงพระนิพนธ์ = แต่งหนังสือ 5. การใช้คาว่า ทูลเกล้าฯ กับ น้อมเกล้าฯ ในการถวายของ – ถ้าเป็นของเล็กๆ ยกขึ้นให้ได้จะใช้คาว่า ทูลเกล้าฯ ถวาย (ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย) – ถ้าเป็นของใหญ่ๆ ยกขึ้นให้ไม่ได้จะใช้คาว่า น้อมเกล้าฯ ถวาย (น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย) 6. ถวายการต้อนรับ ควรใช้คาว่า เฝ้าฯ รับเสด็จ
  • 2. ถวายความจงรักภักดี ควรใช้คาว่า มีความจงรักภักดี, แสดงความจงรักภักดี 7. การใช้คาว่า พระราชอาคันตุกะ กับ อาคันตุกะ แปลว่า แขกมาเยือน พระราชอาคันตุกะ ใช้เมื่อเป็นแขกของพระมหากษัตริย์ อาคันตุกะ ใช้เมื่อเป็นแขกของผู้นาประเทศที่เป็นคนธรรมดา เช่น – ประธานาธิบดี เป็น พระราชอาคันตุกะ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น อาคันตุกะ ของประธานาธิบดี 8. หมายกาหนดการ คือ หมายรับสั่งที่สานักพระราชวัง แจ้งกาหนดการเสด็จพระราชดาเนินไปยัง สถานีตารวจต่างๆ เพื่อรักษาความปลอดภัย หรือเอกสารแจ้งขั้นตอนงานพระราชพิธี กาหนดการ คือเอกสารแจ้งขั้นตอนงานทั่วๆ ไป โดยสานักพระราชวังไม่ได้เกี่ยวข้อง – สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานุญาตให้สื่อมวลชน เข้าเฝ้าฯ ตามหมายกาหนดการ ในวโรกาสที่เสด็จฯ ยังศูนย์ศิลปาชีพพิเศษ-บางไทร – นายกรัฐมนตรีเปิดประชุมคณะทูตไทยในภาคพื้นยุโรปตรงตาม กาหนดการ ดอกรักบานในหัวใจใครทั้งโลก แต่ดอกโศกบานในหัวใจฉัน และอาจเป็นเช่นนี้ชั่วชีวัน เมื่อรักอันแจ่มกระจ่างกลับร้างไกล 1. ดอกโศกมิได้หมายถึงสิ่งใด ๑. ผิดหวัง ๒. เศร้าใจ ๓. ดอกไม้ ๔. ช้าใจ 2. คาเขียนจดหมายถึงพระสังฆราชเจ้าข้อใดถูกต้อง ๑. กราบทูล ๒. ขอประทานกราบทูล ๓. กราบนมัสการ ๔. นมัสการ 3 . ข้อใดมีการใช้สัญลักษณ์ ๑. ความจนเป็นแรงให้แข็งสู้ หากชีพอยู่จะมิยอมค้อมหัวให้ ๒. น้าตาเปรียบเหมือนเพื่อน คอยตักเตือนกระตุ้นใจ ๓. ลมหวนครวญเสียงลม พาใจครบตามครวญ ๔. วันนี้ฉันมีสายรุ้งสวย นาทางช่วยมุ่งมั่นพาสร้างสรรค์ 4. อุบลวรรณฟังสุนทรพจน์เรื่อง “สามัคคีธรรม นาไทยให้เป็นสุข” หลังจากฟังแล้ว ตระหนักว่าควรปฏิบัติชีวิตให้อยู่ในความสามัคคี อุบลวรรณมีความสามารถในการฟังด้านใด ๑. สรุปความ ๒. วิเคราะห์ ๓. ตีความ ๔. ประเมินค่า 5. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสาราญพระราชหฤทัย คาที่ขีดเส้นใต้หมายถึง ๑. สดชื่น ๒. สบายกาย ๓. สดใส ๔. สบายใจ
  • 3. 6. ข้อใดเป็นภาษาสื่อสารมวลชน ๑. บุคคลหลายฝ่ายให้ความร่วมมือกับโครงการสมานฉันท์ ๒. ปีนี้ทบวงมหาวิทยาลัยประกาศผลสอบเร็วกว่ากาหนด ๓. เบื้องหลัง ๑๐ เมษายน ถล่ม “บูรพาพยัคฆ์” ๔. นายกรัฐมนตรีประกาศไม่ยุบสภา 7. ในเทศกาลต่าง ๆ คุณยายไปทาบุญที่วัดบางครั้งก็บังสกุล อุทิศส่วนกุศลให้ญาติที่ล่วงลับและ กรวดน้าทุกครั้ง คาใดเขียนผิด ๑. เทศกาล ๒. บังสกุล ๓. ส่วนกุศล ๔. กรวดน้า 8. เมื่อคนเมืองคับคั่งด้วยคนป่ า เมื่อคนดีด้อยค่าเหมือนกรวดหิน เมื่อสัตว์ป่ าสร้างป่ าไว้หากิน สัตว์เมืองก็ต้องสิ้นวิสัยเมือง คาประพันธ์ข้างต้นเป็นโวหารประเภทใด ๑. เทศนาโวหาร ๒. บรรยายโวหาร ๓. อุปมาโวหาร ๔. พรรณนาโวหาร 9. ทักษะที่ใช้ในชีวิตประจาวันข้อใดมีความสาคัญต่อข้าราชการตารวจมากที่สุด ๑. ฟัง ๒. พูด ๓. อ่าน ๔. เขียน 10. ขอให้มีความรักที่มั่นคง ซื่อตรงดุจนภากับแขไข รู้จักอ่อน ผ่อนปรน ให้อภัย รักสดใส สุขสันต์ นิรันดร ใจความสาคัญของข้อความข้างต้นกล่าวถึงเรื่องใด ๑. ความรัก ๒. ความซื่อสัตย์ ๓. ความเมตตา ๔. ความอ่อนโยน 11. คณะกรรมาธิการจัดให้มีการประชุม... คาที่ขีดเส้นใต้อ่านอย่างไร ๑. กัน-มา-ทิ-กาน ๒. กัน – ทิ – กาน ๓. กา-มา-ทิ-กาน ๔. กา – ทิ – กาน 12. ขึ้นรถเมล์ไม่เสียเกียรติ แม้เบียดนิดก็ทนหน่อย เพราะน้ามันนั้นมีน้อย ควรใช้สอยเมื่อจาเป็น ๑.เพื่อให้ความรู้ ๒.เพื่อโน้มน้าวใจ ๓.เพื่อจรรโลงใจ ๔.เพื่อเตือนใจ 13. “ต้องอยู่กันไปอีกนาน ในบ้านหลังนี้ เติบโตมาจนป่ านนี้ ก็เพราะมีที่ให้อาศัย บ้านเรามีท้องฟ้ า มีสายน้า มีภูเขา มีต้นไม้ แล้วเราจะอยู่อย่างไร ถ้าไม่มีอะไรเหลือเลย” ข้อความข้างต้นมุ่งให้เกิดสิ่งใด ๑. รักและสามัคคี ๒. ความสุขและเสียสละ ๓. ภาคภูมิใจและหวงแหน ๔. ท้อแท้และสิ้นหวัง
  • 4. 14. “จากใจรวงใจแรงเป็นล้านล้าน ถึงใจด้านใจดาน้าใจหิน ว่าเลือดเล็ดเม็ดข้าวที่เจ้ากิน จงถวิลทุกข์เทวษทุเรศร้าว” บทประพันธ์นี้ผู้แต่งมีวัตถุประสงค์อะไร ๑. เตือนสติ ๒. ปลุกจิตสานึก ๓. โน้มน้าว ๔. สร้างค่านิยมใหม่ 15. บทความชนิดใดใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ดีที่สุด ๑. บทความเชิงวิจารณ์ ๒. บทความเชิงวิเคราะห์ ๓. บทความเชิงบรรยาย ๔. บทความเชิงพรรณนา 16. สานวนใดที่ไม่เกี่ยวกับการฟัง ๑. ฟังหูไว้หู ๒. ฟังความข้างเดียว ๓. สีซอให้ควายฟัง ๔. ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด 17. ปีนี้ปีเสือช่างเหลือร้าย ผู้คนล้มตายกันหลายที่ แผ่นดินไหวที่เฮติและชิลี อดโซ อดอยาก ทั่วหล้าทั้งแผ่นดิน แต่ที่นี่มีภัย (ไม่) ธรรมชาติ คนทั้งชาติเบาะแว้งทะเลาะกัน ความโกรธ ความชัง ความคลั่ง โลโภ โทสะ โทโส ในประเทศ สมเพชไทย ๑. เตือนสติ ๒. ข้อเท็จจริง ๓. ข้อคิดเห็น ๔. ข้อสังเกต 18. “ถ้าเราอ่อนแอแม้เนินเล็ก ๆ ก็เป็นภูเขาที่สูงใหญ่ แต่ถ้าเราเข้มแข็ง แม้ลมพายุพัดแรงก็เป็นเพียงสายลมแผ่วเบา”ผู้เขียนต้องการสื่ออะไร ๑. ชีวิตอย่าสิ้นหวัง ๒. ชีวิตนี้ต้องสู้ ๓. ชีวิตย่อมมีอุปสรรค ๔. ชีวิตนี้อย่าท้อแท้ 19. “เพื่อหนีจนคนเราเอาทุกอย่าง หาหนทางใช้ชีวีนี้เป็นสุข ปล้น ขโมย โกยกิน ปลิ้นปล้อนซุก คดีอุกฉกรรจ์หลากเกิดจากใด จุดประสงค์ของผู้เขียนกล่าวถึงอะไร ๑. เตือนสติคนจนให้ดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ๒. ขอเห็นใจคนจน ๓. เรียกร้องให้สังคมช่วยเหลือคนจน ๔. ชี้ให้เห็นปัญหาที่เกิดจากความยากจน 20. คาที่ขีดเส้นใต้คาใดแสดงจานวนน้อยที่สุด ๑. ผ่าแตงโมให้แม่หน่อยซิคะ ๒. ดอกจันกะพ้อร่วงพรู ๓. นักเรียนวิ่งกรูกันออกมาอย่างรวดเร็ว ๔. พราหมณ์โปรยดอกไม้ในพิธี 21. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ถูกต้อง ๑. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงตรัสกับประชาชน ๒. ประชาชนมาถวายการต้อนรับพระบรมราชินีนาถ ๓. สมเด็จพระเทพฯเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน
  • 5. ๔. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ทรงเสด็จไปบรรยายแก่นักศึกษา มหิดล 22. คาขวัญข้อใดให้ข้อคิด ๑. ตารวจอยู่ไหน ประชาอุ่นใจทั่วกัน ๒. ขับรถให้เตือนตน ข้ามถนนให้เตือนตา ๓. ยาเสพติดอันตราย ผู้เสพถึงตาย ผู้ขายติดคุก ๔. เอดส์ป้ องกันได้ ถ้าใช้ถุงยางอนามัย 23. ข้อใดใช้คาฟุ่ มเฟือย ๑. สมุนไพรไทยคลายเครียดมีทั้งที่เป็นอาหารและเครื่องดื่ม เช่น ยาตะไคร้ น้าขิง ฯลฯ ๒. ผู้คนในหลายประเทศกาลังให้ความสนใจในการใช้สมุนไพรลดความเครียด ๓. ปัญหาสุขภาพจิตเป็นผลมาจากความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ๔. ความเครียดนับว่าเป็นสาเหตุทาให้เกิดปัญหาสังคมจนถึงขั้นวิกฤติ 24. คาในข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบทั้งห้าเสียง ๑. ขิงก็ราข่าก็แรง ๒. น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่า ๓. คดในข้องอในกระดูก ๔. ทรัพย์ในดินสินในน้า 25. ชาวบ้าน.....................เรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมไปยังองค์กรส่วนท้อง ถิ่น ก็กลับถูก......................ไม่ได้รับการเหลียวแล ควรเติมคาใดในช่องว่าง ๑. ร้องเรียน, วางเฉย ๒. ร้องเรียน, เพิกเฉย ๓. ร้องขอ, วางเฉย ๔. ร้องขอ, เพิกเฉย 26. ข้อใดมีคาที่มีความหมายกว้าง 1.เขาอยากมีร้านจาหน่ายเครื่องเสียงมานานแล้ว 2.ฉันชอบเปิดเครื่องทาน้าอุ่นให้อุณหภูมิสูงหน่อย 3.ช่างกาลังติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องทางานของผม 4.เด็กๆ พากันสนใจเครื่องฉายสไลด์ที่ตั้งอยู่กลางห้องเรียน 27. ข้อใดใช้คาไม่ถูกต้อง 1.ฉันหาเงินมาชาระหนี้ไม่ทันตามกาหนด จึงขอผัดผ่อนไปก่อน 2.เจ้าของบ้านผ่อนผันให้เขาจ่ายค่าเช่าบ้านได้ภายในสัปดาห์หน้า 3.หลังจากพี่ชายของฉันมีงานทา เหตุการณ์ร้ายๆ ในครอบครัวก็ผ่อนปรนไป 4.เมื่อรู้ว่าลูกปลอดภัยแล้ว ความวิตกกังวลของเขาก็ผ่อนคลายลง 28. ข้อใดใช้คาถูกต้องตรงความหมาย 1.เดินขึ้นเขามาเหนื่อยเต็มทน ต้องปลดระวางตัวเองเสียที 2.สอบเข้ามหาวิทยาลัยมา 3 ปี ไม่เคยได้ปีนี้เขาเลยปลงตก ไม่ไปสอบอีกแล้ว 3.เห็นผู้ใหญ่นั่งอยู่หลายคน เธอต้องค่อยๆ ปลีกตัวเดินให้ดีๆ ไม่ให้กระทบท่าน 4.เวลาอ่านหนังสือจนสมองเมื่อยล้า ฉันใช้วิธีดื่มกาแฟกระตุ้นให้กระปรี้กระเปร่า 29. ข้อใดแสดงน้าเสียงชื่นชมได้ชัดเจนที่สุด 1.เขาทาได้ดี ทุกคนที่มาก็พอใจ 2.ทุกคนประทับใจที่เขาได้สู้จนสุดความสามารถ
  • 6. 3.เราได้ส่งจดหมายแสดงความยินดีไปให้เขาแล้ว 4.รางวัลที่เขาได้รับเป็นกาลังใจให้เขาพยายามต่อไป 30. ข้อใดไม่ใช่ข้อบกพร่องในการฟัง 1.สีซอให้ควายฟัง 2. เข้าหูซ้าย ทะลุหูขวา 3.ไปไหนมา สามวาสองศอก 4. ฟังไม่ได้ศัพท์จับไปกระเดียด 31. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง 1.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จลง ณ ท้องพระโรง ศาลาเริง วังไกลกังวล ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 2.สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารเสด็จพระราชดาเนินในการพระราชพิธีราช บาเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา 3.สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาเสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปประทาน รางวัล วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน 4.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง “เมื่อข้าพเจ้าเป็น นักเรียนนอก” นับเป็นพระราชนิพนธ์ลาดับที่ 44 32. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง 1.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัสพระราชทานพรแก่พสกนิกรชาวไทยเนื่องในโอกาส วันขึ้นปีใ หม่ 2.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะพระบรมรา ชานุสาวรีย์สองรัชกาล 3.พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาทรงบาเพ็ญพระกุศลทรงบาตรในโอกาสวันคล้ายวัน ประสูติ 4.หม่อมเจ้าสิริวัณวรี มหิดล เสด็จฯ ไปทรงเป็นประธานเปิดงานมหกรรมสัตว์เลี้ยงแห่งประเทศไทย อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ 33 – 34 “ถ้าคิดในด้านดีการที่หนังต่างประเทศเข้ามาถ่ายทาในประเทศไทย ประเทศไทยก็ได้ประโยชน์เหมือนกันที่เห็นได้ชัดก็คือเงินเป็นแสนถึงล้านบาท สาหรับหนังสารคดี เป็นสิบล้านถึงร้อยล้านบาท สาหรับหนังโรง เงินจานวนดังกล่าวนี้คือค่าใช้จ่ายที่คณะถ่ายทาภาพยนตร์แต่ละคณะใช้จ่ายใน ประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นค่าจ้างบริษัทประสานงาน ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าพาหนะ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประมาณกันว่าในปีหนึ่งๆ ประเทศไทยได้เงินจากคณะถ่ายทาภาพยนตร์ต่างประเทศเหล่านี้มาหมุนเวียนในระบบ เศรษฐกิจไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท นับเป็นตัวเลขที่น่าสนใจทีเดียว น่าสนใจจนทาให้รัฐบาลลืมด้านที่จะเสียประโยชน์ไปได้ในทันที” 33. ข้อความข้างต้นนี้ผู้เขียนไม่ได้ใช้วิธีการนาเสนอตามข้อใด 1.การให้ขัดแย้งจริง 2. การโต้แย้ง
  • 7. 3.การโน้มน้าวใจ 4. การให้รายละเอียด 34. ผู้เขียนเห็นว่าการกระทาของรัฐบาลใกล้เคียงกับสานวนได้มากที่สุด 1.น้าขึ้นให้รับตัก 2. เห็นเงินตาโต 3.สิบเบี้ยใกล้มือ 4. ดีดลูกคิดรางแก้ว 35. คาประพันธ์ต่อไปนี้กล่าวถึงเรื่องใด “แสยงขนยลเหยียบไม้ ราแพน หกหัวหอกตั้งแปลน เสียดข้าง ช้างไล่ม้าราแพน ผัดล่อ จีนกลแล่นอวดอ้าง ชักไส้กลางสนาม” 1.พฤติกรรมของสัตว์ 2. การแสดงกายกรรม 3.การซ้อมรบของทหาร 4. การละเล่นในงานพิธี 36. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีวัตถุประสงค์ตามข้อใดมากที่สุด “หากใจเจ้าบริสุทธิ์งามผุดผ่อง ปากเขาที่ป่าวร้องไม่เสียหาย ดีหรือชั่วตนรู้ตนไปจนตาย ใช่จะคลายเสื่อมค่าราคาคน” 1.สอนให้ทาจิตใจให้บริสุทธิ์ 2. แนะนาให้ทาความดีต่อไป 3.เตือนไม่ให้ตอบโต้การนินทา 4. ให้กาลังใจให้มั่นคงในการทาความดี 37. คาประพันธ์ต่อไปนี้มีวัตถุประสงค์ตามข้อใด “เรามีมือเท้าเท่า เทียมเขา สิ้นพ่อ กิจซึ่งไม่เกินภูมิ มนุษย์แล้ว แม้บากบั่นหมั่นเอา ใจใส่ ฝึกแฮ คงสิทธิ์สักครั้งแคล้ว คลาดไฉน” 1.ให้รู้จักพึ่งตนเอง 2. ให้พัฒนาตนเอง 3.ให้พยายามรักษาสิทธิของตน 4. ให้เชื่อมั่นในความสามารถของตน 38. “พระสงฆ์สดับปกรณ์” คาว่าสดับปกรณ์ หมายถึง 1. บังสุกุล 2.ให้พร 3. ฟังพระอภิธรรม 4. ฟังอย่างตั้งใจ 39. หนังสือราชการ (จดหมาย)ส่งถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ใช้คาขึ้นต้นและ คาลงท้ายว่าอย่างไร 1. เรียน , ขอแสดงความนับถือ 2. เรียน , ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง 3. กราบเรียน , ขอแสดงความนับถือ 3. กราบเรียน , ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง 40. ข้อใดเขียนถูกต้องทุกคา 1. สถานการณ์ , เหตุการณ์ , อนุญาติ 2. อุดมการณ์ , อิสรภาพ , สัณนิษฐาน 3. ลายเซ็น , ยาเสพติด , มรณกรรม 4. เกร็ดความรู้ , เกษียณ , ลาดตระเวณ 41. “ตีเข่าปับรับโปกสองมือปิด ประจบติดเตะผางหมัดขว้างหวือ” เป็นการละเล่นใด 1. มวยไทย 2. มวยปล้า 3. มวยสากล 4. มวยทะเล 42. เขา ........ ออกจากบ้านเพราะได้ข่าวว่าคนงานถูกไฟ .......... ควรเติมคาใดในช่องว่าง
  • 8. 1. ลุกลี้ลุกลน , คลอก 2. ลุกรี้ลุกรน , ครอก 3. ลุกลี้ลุกลน , ครอก 4. ลุกรี้ลุกรน , คลอก 43. ข้อใดใช้คาเปรียบเทียบได้ถูกต้อง 1. พูดมากเหลือเกินเหมือนตักน้ารดหัวสากไม่ยอมหยุด 2. ตัวเองเป็นคนต่าต้อยถึงเพียงนี้ ยังไม่รู้จักตักน้าใส่กะโหลกชะโงกดูเงาตัวเองอีก 3. คนพวกนี้เวลารวมตัวกันแล้วชอบนินทาคนโน้นคนนี้ เหมือนที่เขาบอกว่าปากหวานก้นเปรี้ยว 4. ฟังเรื่องราวแค่นิดเดียว แต่เขาสามารถพูดได้อย่างยืดยาว ช่างพูด ปากไม่มีหูรูด 44. “ ขณะนี้กาลังมีการฟอกขาว กรณีโครงการชุมชนพอเพียงเป็นที่วิจารณ์อย่างมากคณะกรรมการที่คัดเลือกมา เพื่อหวังการันตีความสะอาด แต่มีการเบี่ยงประเด็นทานอง ว่า “ข้าเลว เอ็งก็ชั่ว” เป็นที่น่าจับตามองว่าจะจบลงแบบมือเปล่าหรือไม่” ผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร 1. ห่วงใย 2. เสียดสี 3. เยาะเย้ย 4. เหยียดหยาม 45. ข้อใดใช้คาฟุ่ มเฟือย 1. วันนี้จราจรติดขัดมาก เพราะเป็นวันเปิดเทอมวันแรก 2. ตารวจเข้าทาการจับกุมคนร้ายได้หลังจากที่มีการติดตามมานาน 3. อดีตข้าราชการตารวจชั้นผู้ใหญ่ร่วมมือกับบริษัทเอกชนรายใหญ่ กว้านซื้อที่ดินของชาวนา 4. ชาวนาสวมหมวกใบตาลเดินอยู่ในทุ่งนา 46. “ เป็นคนสุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ” หมายถึงข้อใด 1. พูดดีได้ดี 2. พูดดีเป็นศรีแก่ปาก 3.พูดอย่างมีวิจารณญาณ 4. คนจะนิยมก็อยู่ที่คาพูด 47. ข้อใดจาเป็นต้องใช้คาทับศัพท์ 1. เขาเป็นสปอนเซอร์ในการแข่งขันกีฬาครั้งนี้ 2. เธอมาซื้อของที่นี่ เธอขึ้นลิฟต์แก้วหรือบันไดเลื่อน 3. เธอได้เปอร์เซ็นต์จากการขายเครื่องสาอาง 4. เขาให้ทิปพนักงานทุกคนที่บริการ 48. จงเรียงลาดับข้อความ ก. การเรียนธรรมล้านนา คือการเขียนภาษาล้านนา ข. ชาวล้านนาที่มีลูกชาย เมื่อมีอายุ 8-9 ปี ก็จะส่งลูกเข้าวัดเพื่อเป็นขะยม ค. เมื่อมีเวลาว่าง ตุ๊หลวงหรือเจ้าอาวาสวัด ก็จะสอนหนังสือให้ ง. หน้าที่ของขะยม คือ การรับใช้พระและเดินตามพระบิณฑบาต 1. ข ง ค ก 2. ก ข ง ค 3. ก ค ข ง 4. ก ค ง ข 49. “ภาพพจน์ไม่ใช่เพ่งเล็งไปที่รูปหรือภาพ / แต่หมายถึงความรู้สึกนึกคิด ที่เกิดขึ้นในใจ / ในการพูด เขียน หรือแสดงออกถึงภาพพจน์ / โดยอาศัยคาที่มีความหมายโดยนัย” ข้อใดหมายถึงคาว่าภาพพจน์
  • 9. 1. เพ่งเล็ง 2. ความรู้สึกนึกคิด 3. แสดง 4. คา 50. คาในข้อใดไม่มีความหมายเชิงอุปมา 1. เขาไม่ชอบกินแรงเพื่อน 2. เขาข่มขืนใจไม่ให้ฉันทางาน 3. เขาเป็นมือดีของหน่วยงานนี้ 4. เขาเปิดไฟเขียวให้ฉันไปหาเฉพาะวันหยุด 51. “อันว่าแก้วกระจกรวมอยู่กับสุวรรณ ย่อมได้แสงจับเป็นเลื่อมพรายคล้ายมรกต ผู้ที่โง่ เขลา แม้ได้อยู่ใกล้นักปราชญ์ ก็อาจเป็นคนเฉลียวฉลาดได้ฉันเดียวกัน” เป็นโวหารชนิดใด 1.บรรยายโวหาร 2. สาธกโวหาร 3. อุปมาโวหาร 4. พรรณนาโวหาร 52. "โรคชิคุนกุนยาหรือชื่อเรียกภาษาไทย ว่าโรคไข้ปวดข้อยุงลาย มียุงลายเป็นพาหะนาโรค แต่ทางภาคใต้ของไทยจะเรียกกันว่าโรคไข้ญี่ปุ่ นเพราะชื่อโรคชิคุนกุนยาจะ คล้ายกับภาษาญี่ปุ่ น แต่ความจริงแล้ว โรคชิคุนกุนยามาจากภาษามากอนดี ซึ่งเป็นภาษาพื้นเมืองทางตอนใต้ของประเทศแทนซาเนียในทวีปแอฟริกา อธิบายถึงลักษณะบูดเบี้ยวหรือ บิดงอตัว จากอาการปวดข้ออย่างรุนแรง"บทความนี้สรุปได้ว่าอย่างไร 1. ที่มาของโรคชิคุนกุนยา 2.ประวัติของโรคชิคุนกุนยา 3. มารู้จักกับโรคชิคุนกุนยากันเถอะ 4. มหันตภัยจากโรคชิคุนกุนยา 53. ข้อใดถูกต้องที่สุด 1. คานวณ 2. ผัดเวลา 3. ถนนราดยาง 4. เงินทดลองจ่าย 54. “ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง” จากข้อความข้างต้น เป็นการกล่าวในลักษณะ ใด 1. ให้ข้อคิดคนไทยเรื่องการขาดความ สามัคคี 2. เตือนสติคนไทยเรื่องการขาดความสามัคคี 3. เสนอแนะวิธีการป้ องกันการขาดความสามัคคี 4. ประชดประชันคนไทยเรื่องการขาดความสามัคคี แนวของ อ.ปิง น่าสนใจครับ ลองฝึกทาดู การตีความร้อยกรอง 1.คนเห็นคนเป็นคนนั่นแหละคนคนเห็นคนใช่คนใช่คนไม่ เกิดเป็นคนต้องเป็นคนทุกคนไปจนหรือมีผู้ดีไพร่ไม่พ้นคน” บทประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งแบบใด
  • 10. 1. การเล่นคาซ้า 2. การเล่นคาพ้อง 3. การใช้สัมผัสสระอักษร 4. การใช้ปฏิพากย์ จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 2-4 “มาทาลายรั้วระวังให้พังราบมาร่ายเสกมนต์สาปให้หมดเศร้า มาให้ห่วงคิดถึงทุกค่าเช้ามาปล้นเอาหัวใจไปหมดแล้ว” 2.น้าเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร 1. อาลัย 2. จริงจัง 3. เพ้อฝัน 4. มีความสุข 3.ลักษณะการแต่งที่เด่นที่สุดในบทประพันธ์คือข้อใด 1. สัมผัสสระ 2. สัมผัสอักษร 3. การใช้ภาพพจน์ 4. การใช้กลบท 4.บุคคลใดน่าจะเป็นประธานของบทประพันธ์นี้มากที่สุด 1. ทหารที่ออกไปรบ 2. ขโมย 3. นางอันเป็นที่รัก 4. พ่อมด จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 5-7 ขอบคุณ... ขอบคุณสาหรับโรงบุหรี่ ขอบคุณอีกทีกับโรงหวย ขอบคุณสนามม้าชาติหน้ารวย ขอบคุณโรงเหล้าด้วยช่วยชาติไทย 5.ข้อใดเแสดงความรู้สึกของผู้ประพันธ์เด่นชัดที่สุด 1. เกลียดชัง 2. ประชด 3. ชื่นชม
  • 11. 4. ยกย่อง 6.ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายตามข้อใด 1. เตือนให้คิด 2. แนะให้ทา 3. ติเตียน 4. สั่งสอน 7.คาประพันธ์ในข้อใดใช้น้าเสียงเหมือนกับคาประพันธ์ข้างต้น 1. ไทยคงเอกราชด้วยฝีมือไทยเอย 2. ขอบคุณไมตรีที่มีให้ความห่วงใยอาทรแต่ก่อนเก่า แม้วันนี้ไม่มีทางระหว่างเราก็ไม่เศร้าเหงาหรอกใจบอกมา 3. หนึ่งจะต้องอกหักกับรักแรกสองจะต้องไม่แปลกกับรักใหม่ สามจะต้องผิดหวังทุกครั้งไปสี่จะต้องจาไว้รักคือทุกข์ 4. จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิดจะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง จะยอมตายหมายให้เกียรติดารงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 8-10 “มิ่งมิตร...เธอมีสิทธิ์ที่จะล่องแม่น้ารื่น ที่จะบุกดงดากลางค่าคืนที่จะชื่นใจหลายกับสายลม ที่จะร่าเพลงเกี่ยวโลมเรียวข้าวที่จะยิ้มกับดาวพราวผสม ที่จะเหม่อมองหญ้าน้าตาพรมที่จะขมขื่นลึกโลกหมึกมน” 8.แนวคิดใดไม่ปรากฏในบทประพันธ์นี้ 1. สิทธิของมนุษย์ 2. ธรรมชาติของชีวิตที่มีทุกข์มีสุขสลับกัน 3. การต่อสู้กับอุปสรรค 4. ความยุติธรรมและความถูกต้อง 9.ในบทร้อยกรองนี้ กวีวางตนไว้ในฐานะอะไร 1. อาจารย์ 2. เพื่อน 3. พระ 4. บุคคลอันเป็นที่รัก 10.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคาประพันธ์ข้างต้น 1. ความหมายเชิงสัญลักษณ์ของถ้อยคา
  • 12. 2. ความง่ายและความงามของบทกลอน 3. การใช้อุปลักษณ์และบุคคลวัต 4. แสดงแนวคิดทางพุทธศาสนา จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 11-14 โหยหวนหวูดหวูดรถไฟจุดหมายอยู่ไหนในโลกกว้าง ผ่านหุบเหวทะเลทรายไปตามรางเลื้อยลอดอุโมงค์กว้างอันมืดนาน เด็กน้อยยองยองแม่ใช้ไปซื้อของซื้อข้าวสาร เอาไม้เขี่ยรถไฟบนใบลานรถไฟคลานเป็น อ.อ่าง ละลานลือ พลางควานกระเป๋ าพบรอยขาดตรงที่คาดว่าจะมีเหรียญวางทื่อ ฉันทาความอิ่มหายไปหลายมื้อเด็กน้อยตีมือกระทืบรถไฟจนแหลกเหลว 11.“รถไฟ” ในที่นี้เป็นการใช้ภาพพจน์ประเภทใด 1. อุปลักษณ์ 2. สัญลักษณ์ 3. บุคคลวัต 4. อติพจน์ 12.“เด็กน้อย” เป็นคนอย่างไร 1. ช่างจินตนาการ 2. โหดเหี้ยมอามหิต 3. ร่ารวย 4. ไม่ระมัดระวัง 13.แนวคิดสาคัญของบทประพันธ์คือ 1. ความฝันกับจินตนาการ 2. ความยากจนกับความฝัน 3. ความยากจนกับจินตนาการ 4. ความยากจนกับความไม่ระมัดระวัง 14.บทประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏโวหารภาพพจน์แบบใด 1. สัทพจน์ 2. อุปลักษณ์ 3. สัญลักษณ์ 4. บุคคลวัต จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 15-16
  • 13. เขียนคนด้วยคนใหม่เขียนหัวใจด้วยไมตรี เขียนปากด้วยพจีสุจริตจานรรจา เขียนสมองและสองมือด้วยซื่อสัตย์และศรัทธา มุ่งมั่นและปัญญามาเถิดมามาช่วยกัน 15.บทประพันธ์ข้างต้นเป็นสารประเภทใด 1. ชวนเชื่อ 2. โน้มน้าว 3. ให้เหตุผล 4. ให้ความรู้ 16.แนวคิดใดไม่ปรากฏในบทประพันธ์ 1. โลกสวยด้วยมือเรา 2. การพัฒนาตนเอง 3. สามัคคีคือพลัง 4. ปัญญาประดุจดังอาวุธ จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 17-18 หยุดประเดี๋ยวได้ไหมพายุร้ายหยุดส่งสายสุนีบาตมาข่มขู่ กัมปนาทกราดเกรี้ยวกันเกรียวกรูเพื่อสักครู่เจ้าจะหลั่งซึ่งฝนริน เติมความรักสักหน่อยนะหัวใจเติมความหวังไกลอยู่ให้สิ้น ให้หยัดอยู่คู่ท้าเถื่อนธรนินทร์เพื่อแผ่นดินจะงดงามด้วยความรัก 17.คาประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งในข้อใด 1. เล่นสัมผัสสระและสัมผัสอักษร 2. เล่นคาพ้องความหมาย 3. ใช้สัญลักษณ์ 4. ซ้าคาย้าความหมาย 18.ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายในข้อใด 1. ให้มีความอดทน 2. ให้มองโลกในแง่ดี 3. ให้มีอุดมการณ์ 4. ให้กาลังใจ จงใช้คาประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 19-20 เป็นสร้อยโสภิศพ้นอุปรมา โสรมสรวงศิรธิรางค์เวี่ยไว้
  • 14. จงคงคู่กัลปายืนโยค หายแผ่นดินฟ้าไหม้อย่าหาย ฯ 19.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคาประพันธ์ข้างต้น 1. การใช้อติพจน์ 2. การใช้อุปลักษณ์ 3. การใช้คาอลังการ 4. การใช้อุปมา 20.บทประพันธ์นี้ต้องการสื่ออะไร 1. แสดงความสาคัญของบทกวี 2. แสดงความยิ่งใหญ่ของบทกวี 3. แสดงความสามารถของกวี 4. แสดงความรู้สึกของกวี ธรรมชาติของภาษา 21. ข้อใดเป็นลักษณะร่วมของการใช้เสียงพูดและการใช้ตัวเขียนในการสื่อสาร 1. อวัยวะที่ใช้ในการสื่อสาร 2. อวัยวะที่ใช้ในการรับสาร 3. ตัวสาร 4. ความคงทนของสาร 22. เหตุใดจึงไม่จัดภาษาเขียนไว้ในภาษาในความหมายอย่างแคบ 1. ภาษาเขียนมีความแน่นอนน้อยกว่าภาษาพูด 2. บางภาษายังไม่มีภาษาเขียน 3. ภาษาเขียนไม่สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้ 4. ภาษาพูดมีมาก่อนภาษาเขียน 23. กลุ่มคาในข้อใดแสดงให้เห็นว่าเสียงและความหมายในแต่ละภาษาไม่สัมพันธ์กัน 1. ผู้หญิงนารีสตรีกัลยา 2. เคียดแค้นขุ่นขึ้ง 3. ตุ๊กแกฉู่ฉี่โครมทุ่ม 4. เกเขเย้เป๋ 24. หน่วยที่เล็กที่สุดของภาษาคือข้อใด 1. เสียงสระ
  • 15. 2. เสียงพยัญชนะ 3. พยางค์ 4. ถูกทั้ง 1. และ 2. 25. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. ถึงแม้ว่าจะมีเสียงจากัด เราไม่สามารถสร้างประโยคที่ยาวที่สุดได้ 2. ในแต่ละภาษา หน่วยที่ใหญ่กว่าสามารถจาแนกเป็นหน่วยที่เล็กกว่าได้เสมอ 3. ภาษาเป็นพฤติกรรมการสื่อสารแบบที่ต้องเรียนรู้ซึ่งผู้ใช้กาหนดขึ้นเองทั้งระบบ 4. เนื่องจากภาษาใช้เสียงสื่อสารทาให้ผู้ใช้ภาษาต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันเข้าใจได้ทั้งหมด 26. การที่คนบางกลุ่มออกเสียงคาว่า “เต้าเจี้ยว” เป็นคาว่า “เจ้าเจี้ยว” แสดงว่าภาษามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 1. เกิดการกร่อนเสียง 2. เกิดการผลักเสียง 3. เกิดการกลมกลืนเสียง 4. เกิดการสลับที่ของเสียง 27. คาในข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากคาอื่น 1. มะพร้าว 2. กระดุม 3. วะวับ 4. ตะเข้ 28. ข้อใดไม่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา 1. การแปรของภาษาตามระดับภาษาและสถานการณ์ 2. การพูดในชีวิตประจาวัน 3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม 4. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 29-32 ร้างศาสตร์ฉกหยุดเพชรวุ่นเพศสั่งชาติพากย์ภาพอยากเมฆค่าผัดซัดเวรซึ้งพรรคด้วงโรคหนอนเพลยากหญิงเลขลิ้นฉัตร 29. คาที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกันตั้งแต่ 3 คาขึ้นไปมีทั้งหมดกี่ชุดคา 1. 5 ชุด 2. 4 ชุด 3. 3 ชุด 4. 2 ชุด
  • 16. 30. คาที่มีเสียงสระ “เอ” มีทั้งหมดกี่คา 1. 7 คา 2. 6 คา 3. 5 คา 4. 4 คา 31. คาที่สะกดในมาตราแม่กก มีมากกว่าคาที่สะกดในมาตราแม่กดกี่คา 1. มีจานวนเท่ากัน 2. 1 คา 3. 2 คา 4. 3 คา 32. จากรายการคาข้างต้น มีคาที่มีเสียงวรรณยุกต์ใดน้อยที่สุด 1. เอก 2. โท 3. ตรี 4. จัตวา คาสั่งจงเติมคาหรือข้อความสั้น ๆ เพื่อตอบคาถามให้วิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสารต่อไปนี้ "นิดโบกมือลาแดงก่อนไปขึ้นเครื่องบิน" 33. ผู้ส่งสาร : ……………………………… 34. ผู้รับสาร : ……………………………… 35. สื่อ : ……………………………… 36. สาร : ……………………………… "ป้ ายห้ามส่งเสียงดังในห้องสมุด" 37. ผู้ส่งสาร : ……………………………… 38. ผู้รับสาร : ……………………………… 39. สื่อ : ……………………………… 40. สาร : ………………………………
  • 17. เสียงในภาษา 41. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ภาษาต่างประเทศ 1. เดิน 2.ทบ 3. ปราบ 4. ระฆัง 42. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย 1. วางคาขยายหลังคาหลัก 2. ไม่เปลี่ยนรูปคาเพื่อบอกเพศ พจน์ กาล 3. มีเสียงควบกล้าในพยัญชนะท้าย 4. มีลักษณะเหมือนเสียงดนตรี 43. คาควบกล้าในข้อใดมีเสียงควบกล้าเป็นเสียงที่มีมาตั้งแต่ภาษาไทยดั้งเดิม 1. เฟรนฟรายด์ 2. บรั่นดี 3. คริสตัล 4. จันทรา 44. จากลักษณะต่อไปนี้ ข้อใดไม่สามารถจาแนกคาไทยได้ 1. มักจะเป็นคาพยางค์เดียว 2. มักจะสะกดตรงมาตรา 3. มีความหมายในตัวเอง 4. เป็นคาที่อ่านเนื่องเสียง 45. ข้อใดต่างจากพวก 1. แสร้ง 2. เศร้า 3. ทราบ 4. ผลิ 46. เป็นศรีแก่ปากผู้ ผจงฉันท์ คือคู่มาลาสรร เรียบร้อย
  • 18. เป็นถนิมประดับกรรณ ทุกเมื่อ กลกระแจะต้องน้อย หนึ่งได้แรงใจ ข้อความนี้มีเสียงควบกล้าและอักษรนาอย่างละกี่คา 1. ควบกล้า 2 คา อักษรนา 2 คา 2. ควบกล้า 2 คา อักษรนา 3 คา 3. ควบกล้า 3 คา อักษรนา 2 คา 4. ควบกล้า 4 คา อักษรนา 4 คา จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 47-48 “อันน้าใจกวนอูนั้น ถ้าผู้ใดมีคุณแล้วเห็นจะเป็นเหมือนอิเยียวอันเล่าปี่กับกวนอูนั้นมิได้เป็น พี่น้องกัน ซึ่งมีความรักกันนั้นเพราะได้สาบานต่อกัน เล่าปี่เป็นแต่ผู้น้อย เลี้ยงกวนอูไม่ถึงขนาดกวนอูยังมีน้าใจกตัญญูต่อเล่าปี่ จึงคิดจะติดตามมิได้ทิ้งเสีย...” 47. จากข้อความข้างต้น มีคาที่มีเสียงสระประสมกี่คา 1. 6 คา 2. 7 คา 3. 8 คา 4. 9 คา 48. จากข้อความข้างต้น มีคาที่ประสมสระเกินกี่คา 1. 10 คา 2. 11 คา 3. 12 คา 4. 13 คา 49. ข้อใดมีคาที่มีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด 1. ลางลิงลิงลอดไม้ลางลิง 2. แลลูกลิงลงชิงลูกไม้ 3. ลิงลมไล่ลมติงลิงโลด หนีนา 4. แลลูกลิงลางไหล้ลอดเลี้ยว ลางลิง 50. ข้อใดมีวรรณยุกต์ไม่ครบห้าเสียง 1. ปางนั้นส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทราเทพกัญญา 2. จาเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับพระอาวาส 3. พระทัยนางให้หวั่นหวาดพะวงหลัง 4. ตั้งพระทัยเป็นทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิขาดสาย
  • 19. 51. คาในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทั้ง 2 คา 1. ประทิ่นประมาท 2. น้ามันกะปิ 2. เกะกะห่วงใย 3. ลูกเสือแม่น้า 52. รูปพยัญชนะที่ทาหน้าที่เป็นทั้งตัวสะกดและพยัญชนะต้นในข้อใดที่เป็นเสียงเดียวกัน 1. คัคนางค์ 2.เอกราช 3. ชลนา 4. เทวทัต 53. ข้อใดมีเสียงสระสั้นทุกพยางค์ 1. น้าจิ้มน้าตาลน้าหวานน้ามัน 2. แม่น้าแม่ทัพแม่ยายแม่สื่อ 3. นมข้นนมผงนมกล่องนมสด 4. กระต่ายกระเต็นกระตั้วกระปุก 54. ข้อใดมีคาที่ออกเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกับรูปมากที่สุด 1. กาจับกาฝากต้นตุมกา 2. กาลอดกาลามาร่อนร้อง 3. เพกาหมู่กามาจับอยู่ 4. กาม่ายมัดกาจ้องกิ่งก้านกาหลง จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 55-60 ก.สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสนข.ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอมค.กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพยอมง.อาจจะน้อมจิตโ น้มด้วยโลมลม 55. ข้อใดมีคาที่มีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวมากที่สุด (ไม่นับเสียงซ้า) 1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 56. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม 1. ก.
  • 20. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 57. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดน้อยที่สุด (ไม่นับเสียงซ้า) 1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 58. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง 1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 59. ข้อใดมีพยางค์เปิดน้อยที่สุด 1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 60. ข้อใดประสมสระเสียงสั้นมากที่สุด 1. ก. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 61. ข้อใดมีคาลหุมากที่สุด 1. ถ้าหากฉันเกิดเป็นนกที่โผบิน 2. ติดปีกบินไปให้ไกลไกลแสนไกล 3. จะขอเป็นนกพิราบขาว 4. ช่วยชี้นาชาวประชาสู่เสรี ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 62-63 เสียทีก็มีชื่อ ได้เลื่องลือสรรเสริญ
  • 21. สงสารว่ากรรมเกิน กาลังดอกจึงจมสูญ 62. ข้อความข้างต้นมีคาลหุกี่คา 1. 1 คา 2. 2 คา 3. 3 คา 4. 4 คา 63. ข้อความข้างต้นมีคาตายกี่คา 1. 1 คา 2. 2 คา 3. 3 คา 4. 4 คา 64. คาครุ-ลหุ จะปรากฏในฉันทลักษณ์ประเภทใด 1. ลิลิต 2. ร่ายยาว 3. คาฉันท์ 4. กลอนนิราศ 65. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งสองคา 1. กลบเกลื่อน 2. ทรุดโทรม 3. ว่องไว 4. โครมคราม 66. ข้อใดมีโครงสร้างพยางค์ต่างกับข้ออื่น 1. น้าตาล 2. น้าใจ 3. น้าลาย 4. น้าแดง 67. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันคาว่า “ปากกา” 1. ดักแด้ 2. แหกตา 3. ทานา 4. ท้องฟ้า
  • 22. 68. คาในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งหมด 1. กินสินหินริน 2. ปัด จัด หั่น ตุ่ม 3. อย่าอยู่อย่างอยาก 4. ดินน้าทอง สวย 69. ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. คาลหุทุกคาเป็นคาตาย 2. พยางค์เปิดทุกพยางค์เป็นคาลหุ 3. คาตายทุกคาเป็นพยางค์เปิด 4. พยางค์เปิดทุกพยางค์เป็นคาตาย 70. ข้อใดมีจานวนพยางค์น้อยที่สุด 1. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2. ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. คณบดีคณะอักษรศาสตร์