SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
LOGO 
www.themegallery.com 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ 
กาญจนบุรี 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
รายวิชา เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์1 ( ว ว30286) 
เรื่อง เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี 
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
www.themegallery.com 
อุปกรณ์วัดปริมาตรของของเหลวที่สาคัญได้แก่ ขวดปริมาตร บิวเรตต์ ปิเปตต์ และกระบอกตวง เมื่อใส่ของเหลวลงในอุปกรณ์วัดปริมาตร เหล่านี้ ระดับของเหลวตอนบนจะมีลักษณะโค้งเว้าเกิดขึ้น ส่วนโค้งเว้านี้เกิด จากแรงดึงดูดผิวระหว่างผิวแก้วกับของเหลว
www.themegallery.com 
หลักในการอ่านปริมาตรของของเหลวที่ถูกต้องในอุปกรณ์วัด ปริมาตรเหล่านี้ก็คือ จะต้องให้ สายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับจุดต่าสุดของส่วน โค้งเว้า
www.themegallery.com 
ตาแหน่งของระดับสายตาในการอ่านปริมาตร มีความสาคัญต่อค่าที่ ได้จากการอ่านปริมาตรมาก 
1. ถ้าระดับสายตาอยู่เหนือส่วนโค้งเว้าต่าสุดของของเหลว ปริมาตรที่อ่านได้จะมากกว่า ปริมาตรจริง 
2. ถ้าระดับสายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับส่วนโค้งเว้าต่าสุดของของเหลว ปริมาตรที่อ่าน ได้จะมีค่าถูกต้อง 
3. ถ้าระดับสายตาอยู่ต่ากว่าส่วนโค้งเว้าต่าสุดของของเหลว ปริมาตรที่อ่านได้จะน้อย กว่าปริมาตรจริง
www.themegallery.com
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ 
www.themegallery.com 
บิวเรตต์เป็นอุปกรณ์วัดปริมาตร ที่มีลักษณะคล้ายกับ Measuring pipet คือมีขีดบอกปริมาตรต่าง ๆ ไว้ บิวเรตต์มีหลายขนาด ดังนั้นเมื่อจะนา บิวเรตต์ไปใช้จึงควรเลือกให้เหมาะสม กับลักษณะของงานที่จะนาไปใช้ด้วย
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ 
www.themegallery.com 
ก่อนใช้บิวเรตต์จะต้องล้างให้ สะอาด และต้องตรวจดูก๊อก สาหรับ 
ไขให้สารละลายไหลด้วยว่า อยู่ในสภาพที่ ใช้งานได้ดีหรือไม่
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ 
www.themegallery.com 
1. ก่อนนาบิวเรตต์ไปใช้ต้องล้างบิวเรตต์ให้สะอาดด้วยสาร ซักฟอกหรือสารละลาย ทาความสะอาด ล้างให้สะอาดด้วย น้าประปาแล้วล้างด้วยน้ากลั่นอีก 2-3 ครั้ง 
2. ล้างบิวเรตต์ด้วยสารละลายที่จะใช้เพียงเล็กน้อยอีก 2-3 ครั้ง แล้วปล่อยให้สารละลาย นี้ไหลออกทางปลายบิวเรตต์
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ 
www.themegallery.com 
3. ก่อนเทสารละลายลงในบิวเรตต์ต้องปิดบิวเรตต์ก่อนเสมอ และเท สารละลายลงในบิวเรตต์โดยผ่านทางกรวยกรอง ให้มีปริมาตรเหนือขีดศูนย์ เล็กน้อย และปรับให้ปริมาตรของสารละลายอยู่ที่ขีดศูนย์พอดี (ที่บริเวณ ปลายบิวเรตต์จะต้องไม่มีฟองอากาศเหลืออยู่ หากมีฟองอากาศจะต้องเปิด ก๊อกให้สารละลายไล่อากาศออกไปจนหมด) 
4. ถ้าปลายบิวเรตต์มีหยดน้าของสารละลายติดอยู่ ต้องเอาออกโดย ให้ปลายบิวเรตต์แตะกับบีกเกอร์หยดน้าก็จะไหลออกไป
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ 
www.themegallery.com 
5. การจับปลายบิวเรตต์ที่ถูกต้อง(ดังภาพ) หากใช้บิวเรตต์เพื่อการไทเทรต หรือการถ่ายเทสารในบิวเรตต์ลงสู่ภาชนะที่รองรับจะต้องให้ปลายบิวเรตต์อยู่ ในภาชนะนั้น ทั้งนี้เพื่อไม่ให้สารละลายหก
www.themegallery.com 
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ 
X
เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ 
www.themegallery.com 
6. เมื่อปล่อยสารละลายออกจากบิวเรตต์จนสารละลายลดลงถึงขีด บอกปริมาตรสุดท้ายของบิวเรตต์นั้น ๆ ต้องรีบปิดบิวเรตต์ทันที หากปล่อยให้สารละลายเลยขีดบอกปริมาตรสุดท้ายลงมา จะไม่ ทราบปริมาตรที่แน่นอนของสารละลายที่ผ่านบิวเรตต์ลงมา 
ในกรณีที่ต้องใช้สารละลายที่มีจานวนมาก และใช้บิวเรตต์ในการถ่ายเท?
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com 
1.ก่อนใช้ปิเปตต้องมีการทาความสะอาด โดยดูดน้ากลั่นเข้าไปจนเกือบเต็ม แล้ว ปล่อยให้ไหลออกมาจนหมด สังเกตดู ว่าถ้าไม่มีหยดน้าเกาะติดอยู่ภายใน แสดงว่าปิเปตสะอาดดีแล้ว
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com 
2. เมื่อจะนาปิเปตที่เปียกไปใช้วัดปริมาตร ต้องล้างปิเปตด้วย สารละลายที่จะวัด 2-3 ครั้ง โดยใช้สารละลายครั้งละเล็กน้อยและให้ สารละลายถูกผิวแก้วโดยทั่วถึง แล้วเช็ดปลายปิเปตด้วยกระดาษ tissue ที่สะอาด 
3. จุ่มปลายปิเปตลงในสารละลายที่จะวัดปริมาตร โดยที่ปลายปิเปตอยู่ ต่ากว่าระดับสารละลายตลอดเวลาที่ทาการดูด
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com 
4. ใช้เครื่องดูดหรือกระเปาะยางดูดสารละลายเข้าไปใน 
ปิเปตอย่างช้าๆ จนกระทั่งสารละลายขึ้นมาอยู่เหนือขีดบอกปริมาตร และใช้นิ้วชี้ปิดปลายปิเปตให้แน่นโดยทันที จับก้านปิเปตด้วย นิ้วหัวแม่มือและนิ้วกลาง (ไม่ควรใช้ปากดูด ถ้าสารละลายนั้นเป็นสารที่ มีพิษ หรือเป็นกรดแก่ ด่างแก่ ต้องใช้เครื่องดูดหรือกระเปาะยางต่อ ตอนบนของปิเปต)
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com 
5. จับปิเปตให้ตั้งตรงแล้วค่อยๆ ผ่อนนิ้วชี้เพื่อให้สารละลายที่เกินขีดบอก ปริมาตรไหลออกไปจนกระทั่งส่วนเว้าต่าสุดของสารละลายแตะกับขีดบอก ปริมาตรพอดี ปิดแน่นด้วยนิ้วชี้และ แตะปลายปิเปตกับข้างภาชนะที่ใส่ สารละลาย 
6. ปล่อยสารละลายที่อยู่ในปิเปตลงในภาชนะที่เตรียมไว้โดยยกนิ้วชี้ขึ้น ให้สารละลายไหลลงตามปกติตามแรงโน้มถ่วงของโลกจนหมด แล้วแตะ ปลายปิเปตกับข้างภาชนะเพื่อให้สารละลายหยดสุดท้ายไหลลงสู่ภาชนะ
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com 
ข้อควรจา!!!! 
1. การปรับปริมาตรของสารละลายให้อยู่ตรงขีดปริมาตรพอดีนั้น จะต้องไม่มีฟองอากาศเกิดขึ้น 
2. ห้ามเป่าขณะทาการปล่อยสารละลายออกจากปิเปตอย่าเด็ดดาด เพราะการ เป่าจะทาให้ผนังด้านในของปิเปตสกปรก และยังทาให้สารละลายที่ติดอยู่กับ ผนังด้านในของ ปิเปตแต่ละครั้งแตกต่างกันด้วย ทาให้การวัดปริมาตรของ สารละลายที่วัดมีค่าไม่เท่ากันเมื่อได้มีการทดลองซ้า
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com 
3. หลังจากนาปิเปตไปใช้แล้ว จะต้องทาความสะอาดแล้วล้างด้วยน้ากลั่น หลายๆ ครั้ง
เทคนิคการใช้ปิเปต 
www.themegallery.com
www.themegallery.com 
สามารถละลายได้ในตัวทาละลายแตกต่างกัน คุณสมบัติอันนี้จะ นามาใช้เป็นหลักในการแยกตัวละลายออกจากสารละลาย 
ใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า กรวยแยก
www.themegallery.com 
1. ทาความสะอาดกรวยแยกที่ใช้ให้สะอาด สาหรับที่ก๊อกปิด เปิดให้ทาเช่นเดียวกับบิวเรตต์ 
2. เทสารละลายที่จะสกัดลงในกรวยแยก ไม่ควรใส่สารละลายมากเกินไป
www.themegallery.com 
3. เติมตัวทาละลายที่ใช้ในการสกัด แล้วปิดจุกให้แน่น 
4. เขย่ากรวยแยกเบา ๆ ในแนวนอน แล้วเปิด ก๊อกเป็นครั้งคราวหลังจากหยุดเขย่าเพื่อลด แรงดันภายในกรวยแยก
www.themegallery.com 
5. นากรวยแยกไปตั้งในแนวดิ่งบนที่ยึดวงแหวน เพื่อให้ สารละลายแยกเป็น 2 ชั้น เอาจุกที่ปิดออก
www.themegallery.com 
6. เปิดก๊อกให้สารละลายที่อยู่ชั้นล่างไหลลงในภาชนะรองรับ อย่างช้า ๆ 
7. ทาซ้า โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นที่ 3 
8. นาสารละลายที่สกัดออกมารวมกันจะเป็นสารที่สกัดได้ ทั้งหมด
www.themegallery.com 
1. ยึดวงแหวนกับกรวยแยกจึงควรกั้นด้วยยาง 
ข้อควรระวัง !!! 
2. ก๊อกกรวยแยกจะต้องปิดให้อยู่ในตาแหน่งเดิม ก่อนที่จะตั้ง กรวยแยก ให้อยู่ใน ตาแหน่งปกติ และควรระมัดระวังในการวาง กรวยแยกบนที่ยึดวงแหวนด้วย
www.themegallery.com 
3. ลดความดันโดยขณะเขย่ากรวยแยก มือทั้งสองจะต้องจับกรวยแยกให้ มีลักษณะดังภาพ คือมือหนึ่งจับที่ก๊อกปิดเปิด อีกมือหนึ่งจับที่จุกปิดเปิด ของกรวยแยกค่อย ๆ เปิดก๊อกเพื่อให้ความดันภายในออกไป 
ข้อควรระวัง !!!
www.themegallery.com 
4. เมื่อแยกชั้นของของเหลวชั้นล่างในกรวยแยกออกมาแล้ว ตรงรอยต่อระหว่างชั้น ทั้งสองไม่สามารถจะแยกออกจากกันได้ อย่างเด็ดขาด ส่วนนี้จึงมีของเหลวทั้ง 2 ชนิดปนกันอยู่ต้อง นามาแยกออกจากกันโดยการกรองเมื่อการสกัดได้สิ้นสุดลงแล้ว 
ข้อควรระวัง !!!
เทคนิคการไทเทรต 
www.themegallery.com 
การไทเทรตเป็นการวิเคราะห์หา ความเข้มข้นของสารละลายที่ยังไม่ ทราบความเข้มข้นจากสารละลายที่ ทราบความเข้มข้นแล้วหรือที่เรียกกันว่า สารละลายมาตรฐาน อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ไทเทรตก็คือบิวเรตต์ ตามปกติจะบรรจุ สารละลายที่ต้องการหาความเข้มข้นลง ในบิวเรตต์ ส่วนสารละลายมาตรฐาน บรรจุอยู่ในขวดรูปชมพู่
เทคนิคการไทเทรต 
www.themegallery.com 
1. ล้างบิวเรตต์ให้สะอาดแล้วตั้ง บิวเรตต์ให้มีลักษณะดังภาพ 
2. เติมสารละลายที่ต้องการจะหาความ เข้มข้นลงในบิวเรตต์ (ใช้กรวยกรอง) ให้ มีปริมาตรเหนือขีดศูนย์เล็กน้อย
เทคนิคการไทเทรต 
www.themegallery.com 
3. ปล่อยสารละลายออกทางปลายบิวเรตต์ลงในบีกเกอร์เพื่อไล่ฟองอากาศ ที่อยู่ทางปลายบิวเรตต์ออกไปให้หมด แล้วปรับระดับสารละลายในบิวเรตต์ ให้อยู่ตรงขีดศูนย์พอดี 
4. ใช้ปิเปตต์ดูดสารละลายมาตรฐานตามปริมาตรที่ต้องการใส่ลงใน 
ขวดรูปชมพู่ แล้วหยดอินดิเคเตอร์ 2-3 หยดเพื่อใช้เป็นตัวบอกจุดยุติ 
5. หยดสารละลายในบิวเรตต์ลงในขวดรูปชมพู่อย่างช้า ๆ พร้อมทั้งแกว่ง ชวดรูปชมพู่ด้วยมือขวาให้วนไปในทิศทางเดียวกัน จนกระทั่งถึงจุดยุติ
เทคนิคการไทเทรต 
www.themegallery.com 
1.การจับบิวเรตต์เพื่อปล่อยสารละลายออกจากบิวเรตต์ คือจับ บิวเรตต์ด้วยมือซ้าย จับขวดรูปชมพู่ด้วยมือขวาขณะไทเทรต ปลายบิวเรตต์จะต้องจุ่มอยู่ในปากขวดรูปชมพู่ 
ข้อควรจา!!!!
เทคนิคการไทเทรต 
www.themegallery.com 
2. ขณะไทเทรตควรใช้กระดาษสีขาววางไว้ใต้ชวดรูปชมพู่ เพื่อให้สังเกตการเปลี่ยนแปลง สีได้อย่างชัดเจน 
ข้อควรจา!!!! 
3. ในระหว่างการไทเทรตควรมีการล้างผนังด้านในของขวดรูปชมพู่ เพื่อให้เนื้อสารที่ติดอยู่ข้าง ๆ ไหลลงไปทาปฏิกิริยากันอย่างสมบูรณ์ 
กระดาษสีขาว
www.themegallery.com 
เมื่อของเหลวอยู่ในหลอดทดลอง ควรปฏิบัติดังนี้ 
1.ปริมาตรของของเหลวไม่ควรเกินครึ่งหนึ่งของหลอดทดลอง 
2. ถือหลอดทดลองด้วยที่จับหลอดทดลอง อย่าจับหลอด ทดลองด้วยนิ้วมือโดยตรง 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
www.themegallery.com 
3. นาหลอดทดลองไปให้ความร้อนโดยตรงจากเปลวไฟ ควรใช้เปลวไฟอ่อน ๆ และเอียง หลอดทดลองเล็กน้อย พยายามให้ส่วนที่เป็นของเหลวในหลอดทดลองถูกเปลว ไฟทีละน้อย พร้อมแกว่งหลอดทดลองไปมา 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
www.themegallery.com 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
www.themegallery.com 
ข้อควรระวัง 
1. ขณะให้ความร้อนหลอดทดลองจะต้องหันปาก หลอดทดลองออกจากตัวเรา และชี้ไป ในทิศทางที่ไม่มี ผู้อื่น หรือสิ่งของอยู่ใกล้ ๆ 
2. อย่าก้มดูของเหลวในหลอดทดลองขณะกาลังให้ ความร้อนเป็นอันขาด เพราะถ้าของ เหลวพุ่งออกมาอาจ เป็นอันตรายต่อใบหน้าและนัยน์ตาได้ 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
www.themegallery.com 
3. ขณะให้ความร้อนแก่ของเหลวในหลอดทดลอง ต้อง แกว่งหลอดทดลองไปด้วยเพื่อให้ ของเหลวในหลอด ทดลองเคลื่อนไหวและได้รับความร้อนเท่าเทียมกันทุกส่วน และยังช่วยป้องกันของเหลวพุ่งออกมาด้วย 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
www.themegallery.com 
ของเหลวอยู่ในบีกเกอร์หรือขวดรูปชมพู่ ควรปฏิบัติดังนี้ 
1. นาบีกเกอร์ตั้งบนตะแกงลวด ซึ่งวางอยู่ บนสามขาหรือที่ยึดวงแหวน 
2. ให้ความร้อนโดยใช้ตะเกียงแก๊ส 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
www.themegallery.com 
เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
วิธีที่ 1 วิธีนี้ใช้กับขวดที่ด้านในของจุกปิดมีช่องว่างสามารถใส่สารได้ มีวิธีทาดังนี้ 
1. เอียงขวดในตาแหน่งที่เหมาะสมแล้วหมุนขวดไปมาเพื่อให้สารเข้าไปในช่องว่างของ จุกขวด ถ้าของแข็งในขวดนั้นติดแน่นอาจต้องเขย่าขวดเบา ๆ เพื่อให้พื้นผิวของ ของแข็งนั้นแตกออกหรืออาจจะเปิดฝาขวดออกก่อนแล้วใช้ช้อนที่สะอาดขูดให้พื้นผิว ของสารแตกออกก่อนก็ได้
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
2. ถือขวดในตาแหน่งที่ เหมาะสม ระวังอย่าให้สาร หก เมื่อเปิดจุกขวดออกซึ่ง ในจุกจะมีสารอยู่ด้วย
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
3. วางขวดใส่สารลงบนโต๊ะ เอียงจุกขวดเพื่อเทสารออก อาจใช้ ดินสอหรือนิ้วมือเคาะที่ จุกขวด เพื่อให้สารนั้นหล่นลงมายังภาชนะ รองรับ หรือใช้ช้อนตวงขนาดเล็กตักออกก็ได้
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
4. ทาซ้าจนกว่าจะได้ปริมาณของสารตามต้องการ 
5. เมื่อได้ปริมาณของสารตามที่ต้องการแล้ว หากมีสาร เหลืออยู่ในจุกขวดให้เทสาร กลับ เข้าไว้ในขวดได้ เพราะสาร ที่เหลือนี้ไม่ได้สัมผัสกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเลยจึงมีความบริสุทธิ์ เหมือนเดิม 
6. ปิดจุกขวด
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
วิธีที่ 2 วิธีนี้ใช้กับขวดด้านในไม่มีช่องว่างที่จะใส่สารได้ ในกรณีนี้ จาเป็นจะต้องใช้ช้อนตวง ตักสารออกมาจากขวดมีวิธีการดังนี้ 
1. หมุนจุกขวดเบา ๆ เพื่อให้หลวมแล้วเปิดออก ถ้าจุกขวดมีส่วนบน แบนเรียบให้วาง หงายบนพื้นโต๊ะที่เรียบและสะอาด แต่ถ้าจุกขวดมี ลักษณะอื่นห้ามวางจุกขวดลงบนโต๊ะอย่างเด็ดขาด จะต้องถือจุกขวดไว้ 
2. ใช้ช้อนตวงที่สะอาดตักสารออกจากขวด
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
3. ถือช้อนที่มีสารออกจากขวดเบา ๆ เพื่อไม่ให้สารหกนามาใส่ ภาชนะที่รองรับจนได้ปริมาณตามต้องการ 
4. ปิดจุกขวด
เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด 
www.themegallery.com 
วิธีที่ 3 ในกรณีที่ไม่สามารถจะใช้วิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 เพื่อนาสารที่เป็น ของแข็งออกจากขวด ได้ก็อาจใช้วิธีที่ 3 ซึ่งมีวิธีทาเป็นขั้น ๆ ดังนี้ 
1. ทาให้ขวดใส่สารสะเทือนเล็กน้อย โดยการเคาะเบา ๆ กับพื้น โต๊ะเพื่อให้สารในขวดเคลื่อนไหวและเกาะกันอย่างหลวม ๆ 
2. เปิดจุกขวดและวางจุกขวดหงายขึ้นบนพื้นที่เรียบและสะอาด 
3. ยกขวดใส่สารขึ้นเหนือภาชนะที่จะใส่สารเอียงขวดสารแล้วหมุนขวด ไปมา เพื่อให้สารตกลงมายังภาชนะที่รองรับจนได้ปริมาณตามต้องการ
เทคนิคการเทของเหลวหรือ สารละลายออกจากขวด 
www.themegallery.com 
1. การจับขวดสารละลายควรจับทางด้านที่มีป้ายบอกความเข้มข้นหรือ บอกชื่อสารในขวด แล้วเทสารละลายออกจากขวดทางด้านตรงข้ามกับ ป้าย ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้สารละลายไหลลงมาถูกป้าย 
2. หมุนจุกขวดเบา ๆ เพื่อทาให้จุกขวดหลวม
www.themegallery.com 
3. เปิดจุกขวดออก ถ้าจุกขวดนั้นมีส่วนบนแบนเรียบก็วางหงายขึ้น ถ้าจุกขวดเป็นยอดแหลมหรือมีส่วนที่ยาวออกมาให้ถือโดยให้ส่วน ที่เป็นยอดแหลมหรือส่วนที่ยาวออกมานี้อยู่ระหว่างนิ้วชี้กับนิ้วกลาง หงายมือขึ้นใช้นิ้วทั้งสองคีบส่วนที่เป็นยอดแหลม แล้วใช้ฝ่ามือจับ ขวดไว้ 
เทคนิคการเทของเหลวหรือ สารละลายออกจากขวด
www.themegallery.com 
4. เมื่อเทของเหลวหรือสารละลายได้ตามต้องการแล้ว ก่อนที่จะเอาขวด สารออก ควรให้ปากขวดตรงบริเวณที่สารละลายนั้นไหลออกมาแตะกับ อุปกรณ์ที่รองรับสารละลายก่อน เพื่อป้องกันมิให้สารละลายไหลลงมา ข้างขวดเพราะจะทาให้เปรอะเปื้อนได้ 
5. ปิดจุกขวดทันที และอย่าหลงลืมวางจุกขวดไว้บนโต๊ะอย่างเด็ดขาด 
เทคนิคการเทของเหลวหรือ สารละลายออกจากขวด
เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง 
www.themegallery.com 
1. ต้องทาความสะอาดเครื่องแก้วนั้นทันทีหลังจากนาไปใช้งานแล้ว เพื่อให้เครื่องแก้ว แห้งก่อนที่จะนาไปใช้งานในครั้งต่อไป 
2.การทาความสะอาดเครื่องแก้ว ต้องทาด้วยความระมัดระวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่อง แก้วที่มีลักษณะเป็นก้านยาว เช่น ขวดวัด ปริมาตร ปิเปตต์ บิวเรตต์ ฯลฯ
www.themegallery.com 
3. ต้องล้างสบู่ สารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาดออกให้หมด 
4.การล้างเครื่องแก้วที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทั่ว ๆ ไป ในขั้นสุดท้ายต้อง ล้างด้วยน้ากลั่นอีก 1-2 ครั้ง ถ้าเครื่องแก้วนั้นสะอาดจะสังเกตเห็นน้าที่ พื้นผิวเครื่องแก้วเปียกสม่าเสมอเป็นแบบเดียวกัน แต่ถ้าเครื่องแก้วยังไม่ สะอาด จะสังเกตเห็นเป็นหยดน้ามาเกาะข้างเครื่องแก้วนั้น 
เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
www.themegallery.com 
เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
www.themegallery.com 
5. การใช้แปลงล้างเครื่องแก้วต้องระมัดระวังให้มาก เพราะก้านแปรง เป็นโลหะอาจทาให้ เครื่องแก้วนั้นแตกได้ แปรงล้างเครื่องแก้วมีหลาย ชนิด หลายขนาด จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของเครื่องแก้ว 
เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
www.themegallery.com 
ข้อควรระวัง !!! 
การล้างเครื่องแก้วโดยใช้แปรงถู อย่าถูแรงเกินไป เนื่องจากก้าน แปรงเป็นโลหะเมื่อไปกระทบกับแก้วอาจทาให้แตกและเกิด อันตรายได้ 
เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
เทคนิคการทาความสะอาดเครื่องแก้ว ที่ใช้ในการทดลอง 
www.themegallery.com 
การทาความสะอาดเครื่องแก้วที่ใช้วัดปริมาตร 
ให้ล้างด้วยสารละลายสารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาด แล้วล้างด้วยน้ากลั่นประมาณ 3 ครั้ง 
ตั้งเครื่องแก้วทิ้งไว้ให้แห้งที่อุณหภูมิห้อง อย่านาใส่ในเตาอบที่ร้อน 
ลักษณะผิวของเครื่องแก้วที่เปียกน้าจะดูเรียบเมื่อเครื่องแก้วนั้นสะอาด 
แต่ถ้ามีลักษณะเป็นหยดน้าแสดงว่ายังสกปรกต้องนาไปล้างใหม่
LOGO 
www.themegallery.com

More Related Content

What's hot

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 

What's hot (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4

  • 1. LOGO www.themegallery.com โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์1 ( ว ว30286) เรื่อง เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
  • 2. www.themegallery.com อุปกรณ์วัดปริมาตรของของเหลวที่สาคัญได้แก่ ขวดปริมาตร บิวเรตต์ ปิเปตต์ และกระบอกตวง เมื่อใส่ของเหลวลงในอุปกรณ์วัดปริมาตร เหล่านี้ ระดับของเหลวตอนบนจะมีลักษณะโค้งเว้าเกิดขึ้น ส่วนโค้งเว้านี้เกิด จากแรงดึงดูดผิวระหว่างผิวแก้วกับของเหลว
  • 3. www.themegallery.com หลักในการอ่านปริมาตรของของเหลวที่ถูกต้องในอุปกรณ์วัด ปริมาตรเหล่านี้ก็คือ จะต้องให้ สายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับจุดต่าสุดของส่วน โค้งเว้า
  • 4. www.themegallery.com ตาแหน่งของระดับสายตาในการอ่านปริมาตร มีความสาคัญต่อค่าที่ ได้จากการอ่านปริมาตรมาก 1. ถ้าระดับสายตาอยู่เหนือส่วนโค้งเว้าต่าสุดของของเหลว ปริมาตรที่อ่านได้จะมากกว่า ปริมาตรจริง 2. ถ้าระดับสายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับส่วนโค้งเว้าต่าสุดของของเหลว ปริมาตรที่อ่าน ได้จะมีค่าถูกต้อง 3. ถ้าระดับสายตาอยู่ต่ากว่าส่วนโค้งเว้าต่าสุดของของเหลว ปริมาตรที่อ่านได้จะน้อย กว่าปริมาตรจริง
  • 6. เทคนิคการใช้บิวเรตต์ www.themegallery.com บิวเรตต์เป็นอุปกรณ์วัดปริมาตร ที่มีลักษณะคล้ายกับ Measuring pipet คือมีขีดบอกปริมาตรต่าง ๆ ไว้ บิวเรตต์มีหลายขนาด ดังนั้นเมื่อจะนา บิวเรตต์ไปใช้จึงควรเลือกให้เหมาะสม กับลักษณะของงานที่จะนาไปใช้ด้วย
  • 7. เทคนิคการใช้บิวเรตต์ www.themegallery.com ก่อนใช้บิวเรตต์จะต้องล้างให้ สะอาด และต้องตรวจดูก๊อก สาหรับ ไขให้สารละลายไหลด้วยว่า อยู่ในสภาพที่ ใช้งานได้ดีหรือไม่
  • 8. เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ www.themegallery.com 1. ก่อนนาบิวเรตต์ไปใช้ต้องล้างบิวเรตต์ให้สะอาดด้วยสาร ซักฟอกหรือสารละลาย ทาความสะอาด ล้างให้สะอาดด้วย น้าประปาแล้วล้างด้วยน้ากลั่นอีก 2-3 ครั้ง 2. ล้างบิวเรตต์ด้วยสารละลายที่จะใช้เพียงเล็กน้อยอีก 2-3 ครั้ง แล้วปล่อยให้สารละลาย นี้ไหลออกทางปลายบิวเรตต์
  • 9. เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ www.themegallery.com 3. ก่อนเทสารละลายลงในบิวเรตต์ต้องปิดบิวเรตต์ก่อนเสมอ และเท สารละลายลงในบิวเรตต์โดยผ่านทางกรวยกรอง ให้มีปริมาตรเหนือขีดศูนย์ เล็กน้อย และปรับให้ปริมาตรของสารละลายอยู่ที่ขีดศูนย์พอดี (ที่บริเวณ ปลายบิวเรตต์จะต้องไม่มีฟองอากาศเหลืออยู่ หากมีฟองอากาศจะต้องเปิด ก๊อกให้สารละลายไล่อากาศออกไปจนหมด) 4. ถ้าปลายบิวเรตต์มีหยดน้าของสารละลายติดอยู่ ต้องเอาออกโดย ให้ปลายบิวเรตต์แตะกับบีกเกอร์หยดน้าก็จะไหลออกไป
  • 10. เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ www.themegallery.com 5. การจับปลายบิวเรตต์ที่ถูกต้อง(ดังภาพ) หากใช้บิวเรตต์เพื่อการไทเทรต หรือการถ่ายเทสารในบิวเรตต์ลงสู่ภาชนะที่รองรับจะต้องให้ปลายบิวเรตต์อยู่ ในภาชนะนั้น ทั้งนี้เพื่อไม่ให้สารละลายหก
  • 12. เทคนิคการใช้บิวเรตต์ที่ถูกต้องควรปฏิบัติดังนี้ www.themegallery.com 6. เมื่อปล่อยสารละลายออกจากบิวเรตต์จนสารละลายลดลงถึงขีด บอกปริมาตรสุดท้ายของบิวเรตต์นั้น ๆ ต้องรีบปิดบิวเรตต์ทันที หากปล่อยให้สารละลายเลยขีดบอกปริมาตรสุดท้ายลงมา จะไม่ ทราบปริมาตรที่แน่นอนของสารละลายที่ผ่านบิวเรตต์ลงมา ในกรณีที่ต้องใช้สารละลายที่มีจานวนมาก และใช้บิวเรตต์ในการถ่ายเท?
  • 13. เทคนิคการใช้ปิเปต www.themegallery.com 1.ก่อนใช้ปิเปตต้องมีการทาความสะอาด โดยดูดน้ากลั่นเข้าไปจนเกือบเต็ม แล้ว ปล่อยให้ไหลออกมาจนหมด สังเกตดู ว่าถ้าไม่มีหยดน้าเกาะติดอยู่ภายใน แสดงว่าปิเปตสะอาดดีแล้ว
  • 14. เทคนิคการใช้ปิเปต www.themegallery.com 2. เมื่อจะนาปิเปตที่เปียกไปใช้วัดปริมาตร ต้องล้างปิเปตด้วย สารละลายที่จะวัด 2-3 ครั้ง โดยใช้สารละลายครั้งละเล็กน้อยและให้ สารละลายถูกผิวแก้วโดยทั่วถึง แล้วเช็ดปลายปิเปตด้วยกระดาษ tissue ที่สะอาด 3. จุ่มปลายปิเปตลงในสารละลายที่จะวัดปริมาตร โดยที่ปลายปิเปตอยู่ ต่ากว่าระดับสารละลายตลอดเวลาที่ทาการดูด
  • 15. เทคนิคการใช้ปิเปต www.themegallery.com 4. ใช้เครื่องดูดหรือกระเปาะยางดูดสารละลายเข้าไปใน ปิเปตอย่างช้าๆ จนกระทั่งสารละลายขึ้นมาอยู่เหนือขีดบอกปริมาตร และใช้นิ้วชี้ปิดปลายปิเปตให้แน่นโดยทันที จับก้านปิเปตด้วย นิ้วหัวแม่มือและนิ้วกลาง (ไม่ควรใช้ปากดูด ถ้าสารละลายนั้นเป็นสารที่ มีพิษ หรือเป็นกรดแก่ ด่างแก่ ต้องใช้เครื่องดูดหรือกระเปาะยางต่อ ตอนบนของปิเปต)
  • 16. เทคนิคการใช้ปิเปต www.themegallery.com 5. จับปิเปตให้ตั้งตรงแล้วค่อยๆ ผ่อนนิ้วชี้เพื่อให้สารละลายที่เกินขีดบอก ปริมาตรไหลออกไปจนกระทั่งส่วนเว้าต่าสุดของสารละลายแตะกับขีดบอก ปริมาตรพอดี ปิดแน่นด้วยนิ้วชี้และ แตะปลายปิเปตกับข้างภาชนะที่ใส่ สารละลาย 6. ปล่อยสารละลายที่อยู่ในปิเปตลงในภาชนะที่เตรียมไว้โดยยกนิ้วชี้ขึ้น ให้สารละลายไหลลงตามปกติตามแรงโน้มถ่วงของโลกจนหมด แล้วแตะ ปลายปิเปตกับข้างภาชนะเพื่อให้สารละลายหยดสุดท้ายไหลลงสู่ภาชนะ
  • 17. เทคนิคการใช้ปิเปต www.themegallery.com ข้อควรจา!!!! 1. การปรับปริมาตรของสารละลายให้อยู่ตรงขีดปริมาตรพอดีนั้น จะต้องไม่มีฟองอากาศเกิดขึ้น 2. ห้ามเป่าขณะทาการปล่อยสารละลายออกจากปิเปตอย่าเด็ดดาด เพราะการ เป่าจะทาให้ผนังด้านในของปิเปตสกปรก และยังทาให้สารละลายที่ติดอยู่กับ ผนังด้านในของ ปิเปตแต่ละครั้งแตกต่างกันด้วย ทาให้การวัดปริมาตรของ สารละลายที่วัดมีค่าไม่เท่ากันเมื่อได้มีการทดลองซ้า
  • 18. เทคนิคการใช้ปิเปต www.themegallery.com 3. หลังจากนาปิเปตไปใช้แล้ว จะต้องทาความสะอาดแล้วล้างด้วยน้ากลั่น หลายๆ ครั้ง
  • 20. www.themegallery.com สามารถละลายได้ในตัวทาละลายแตกต่างกัน คุณสมบัติอันนี้จะ นามาใช้เป็นหลักในการแยกตัวละลายออกจากสารละลาย ใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า กรวยแยก
  • 21. www.themegallery.com 1. ทาความสะอาดกรวยแยกที่ใช้ให้สะอาด สาหรับที่ก๊อกปิด เปิดให้ทาเช่นเดียวกับบิวเรตต์ 2. เทสารละลายที่จะสกัดลงในกรวยแยก ไม่ควรใส่สารละลายมากเกินไป
  • 22. www.themegallery.com 3. เติมตัวทาละลายที่ใช้ในการสกัด แล้วปิดจุกให้แน่น 4. เขย่ากรวยแยกเบา ๆ ในแนวนอน แล้วเปิด ก๊อกเป็นครั้งคราวหลังจากหยุดเขย่าเพื่อลด แรงดันภายในกรวยแยก
  • 23. www.themegallery.com 5. นากรวยแยกไปตั้งในแนวดิ่งบนที่ยึดวงแหวน เพื่อให้ สารละลายแยกเป็น 2 ชั้น เอาจุกที่ปิดออก
  • 24. www.themegallery.com 6. เปิดก๊อกให้สารละลายที่อยู่ชั้นล่างไหลลงในภาชนะรองรับ อย่างช้า ๆ 7. ทาซ้า โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นที่ 3 8. นาสารละลายที่สกัดออกมารวมกันจะเป็นสารที่สกัดได้ ทั้งหมด
  • 25. www.themegallery.com 1. ยึดวงแหวนกับกรวยแยกจึงควรกั้นด้วยยาง ข้อควรระวัง !!! 2. ก๊อกกรวยแยกจะต้องปิดให้อยู่ในตาแหน่งเดิม ก่อนที่จะตั้ง กรวยแยก ให้อยู่ใน ตาแหน่งปกติ และควรระมัดระวังในการวาง กรวยแยกบนที่ยึดวงแหวนด้วย
  • 26. www.themegallery.com 3. ลดความดันโดยขณะเขย่ากรวยแยก มือทั้งสองจะต้องจับกรวยแยกให้ มีลักษณะดังภาพ คือมือหนึ่งจับที่ก๊อกปิดเปิด อีกมือหนึ่งจับที่จุกปิดเปิด ของกรวยแยกค่อย ๆ เปิดก๊อกเพื่อให้ความดันภายในออกไป ข้อควรระวัง !!!
  • 27. www.themegallery.com 4. เมื่อแยกชั้นของของเหลวชั้นล่างในกรวยแยกออกมาแล้ว ตรงรอยต่อระหว่างชั้น ทั้งสองไม่สามารถจะแยกออกจากกันได้ อย่างเด็ดขาด ส่วนนี้จึงมีของเหลวทั้ง 2 ชนิดปนกันอยู่ต้อง นามาแยกออกจากกันโดยการกรองเมื่อการสกัดได้สิ้นสุดลงแล้ว ข้อควรระวัง !!!
  • 28. เทคนิคการไทเทรต www.themegallery.com การไทเทรตเป็นการวิเคราะห์หา ความเข้มข้นของสารละลายที่ยังไม่ ทราบความเข้มข้นจากสารละลายที่ ทราบความเข้มข้นแล้วหรือที่เรียกกันว่า สารละลายมาตรฐาน อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ไทเทรตก็คือบิวเรตต์ ตามปกติจะบรรจุ สารละลายที่ต้องการหาความเข้มข้นลง ในบิวเรตต์ ส่วนสารละลายมาตรฐาน บรรจุอยู่ในขวดรูปชมพู่
  • 29. เทคนิคการไทเทรต www.themegallery.com 1. ล้างบิวเรตต์ให้สะอาดแล้วตั้ง บิวเรตต์ให้มีลักษณะดังภาพ 2. เติมสารละลายที่ต้องการจะหาความ เข้มข้นลงในบิวเรตต์ (ใช้กรวยกรอง) ให้ มีปริมาตรเหนือขีดศูนย์เล็กน้อย
  • 30. เทคนิคการไทเทรต www.themegallery.com 3. ปล่อยสารละลายออกทางปลายบิวเรตต์ลงในบีกเกอร์เพื่อไล่ฟองอากาศ ที่อยู่ทางปลายบิวเรตต์ออกไปให้หมด แล้วปรับระดับสารละลายในบิวเรตต์ ให้อยู่ตรงขีดศูนย์พอดี 4. ใช้ปิเปตต์ดูดสารละลายมาตรฐานตามปริมาตรที่ต้องการใส่ลงใน ขวดรูปชมพู่ แล้วหยดอินดิเคเตอร์ 2-3 หยดเพื่อใช้เป็นตัวบอกจุดยุติ 5. หยดสารละลายในบิวเรตต์ลงในขวดรูปชมพู่อย่างช้า ๆ พร้อมทั้งแกว่ง ชวดรูปชมพู่ด้วยมือขวาให้วนไปในทิศทางเดียวกัน จนกระทั่งถึงจุดยุติ
  • 31. เทคนิคการไทเทรต www.themegallery.com 1.การจับบิวเรตต์เพื่อปล่อยสารละลายออกจากบิวเรตต์ คือจับ บิวเรตต์ด้วยมือซ้าย จับขวดรูปชมพู่ด้วยมือขวาขณะไทเทรต ปลายบิวเรตต์จะต้องจุ่มอยู่ในปากขวดรูปชมพู่ ข้อควรจา!!!!
  • 32. เทคนิคการไทเทรต www.themegallery.com 2. ขณะไทเทรตควรใช้กระดาษสีขาววางไว้ใต้ชวดรูปชมพู่ เพื่อให้สังเกตการเปลี่ยนแปลง สีได้อย่างชัดเจน ข้อควรจา!!!! 3. ในระหว่างการไทเทรตควรมีการล้างผนังด้านในของขวดรูปชมพู่ เพื่อให้เนื้อสารที่ติดอยู่ข้าง ๆ ไหลลงไปทาปฏิกิริยากันอย่างสมบูรณ์ กระดาษสีขาว
  • 33. www.themegallery.com เมื่อของเหลวอยู่ในหลอดทดลอง ควรปฏิบัติดังนี้ 1.ปริมาตรของของเหลวไม่ควรเกินครึ่งหนึ่งของหลอดทดลอง 2. ถือหลอดทดลองด้วยที่จับหลอดทดลอง อย่าจับหลอด ทดลองด้วยนิ้วมือโดยตรง เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
  • 34. www.themegallery.com 3. นาหลอดทดลองไปให้ความร้อนโดยตรงจากเปลวไฟ ควรใช้เปลวไฟอ่อน ๆ และเอียง หลอดทดลองเล็กน้อย พยายามให้ส่วนที่เป็นของเหลวในหลอดทดลองถูกเปลว ไฟทีละน้อย พร้อมแกว่งหลอดทดลองไปมา เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
  • 36. www.themegallery.com ข้อควรระวัง 1. ขณะให้ความร้อนหลอดทดลองจะต้องหันปาก หลอดทดลองออกจากตัวเรา และชี้ไป ในทิศทางที่ไม่มี ผู้อื่น หรือสิ่งของอยู่ใกล้ ๆ 2. อย่าก้มดูของเหลวในหลอดทดลองขณะกาลังให้ ความร้อนเป็นอันขาด เพราะถ้าของ เหลวพุ่งออกมาอาจ เป็นอันตรายต่อใบหน้าและนัยน์ตาได้ เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
  • 37. www.themegallery.com 3. ขณะให้ความร้อนแก่ของเหลวในหลอดทดลอง ต้อง แกว่งหลอดทดลองไปด้วยเพื่อให้ ของเหลวในหลอด ทดลองเคลื่อนไหวและได้รับความร้อนเท่าเทียมกันทุกส่วน และยังช่วยป้องกันของเหลวพุ่งออกมาด้วย เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
  • 38. www.themegallery.com ของเหลวอยู่ในบีกเกอร์หรือขวดรูปชมพู่ ควรปฏิบัติดังนี้ 1. นาบีกเกอร์ตั้งบนตะแกงลวด ซึ่งวางอยู่ บนสามขาหรือที่ยึดวงแหวน 2. ให้ความร้อนโดยใช้ตะเกียงแก๊ส เทคนิคการให้ความร้อนของเหลวหรือ สารละลายที่ไม่ติดไฟ
  • 40. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com วิธีที่ 1 วิธีนี้ใช้กับขวดที่ด้านในของจุกปิดมีช่องว่างสามารถใส่สารได้ มีวิธีทาดังนี้ 1. เอียงขวดในตาแหน่งที่เหมาะสมแล้วหมุนขวดไปมาเพื่อให้สารเข้าไปในช่องว่างของ จุกขวด ถ้าของแข็งในขวดนั้นติดแน่นอาจต้องเขย่าขวดเบา ๆ เพื่อให้พื้นผิวของ ของแข็งนั้นแตกออกหรืออาจจะเปิดฝาขวดออกก่อนแล้วใช้ช้อนที่สะอาดขูดให้พื้นผิว ของสารแตกออกก่อนก็ได้
  • 41. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com 2. ถือขวดในตาแหน่งที่ เหมาะสม ระวังอย่าให้สาร หก เมื่อเปิดจุกขวดออกซึ่ง ในจุกจะมีสารอยู่ด้วย
  • 42. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com 3. วางขวดใส่สารลงบนโต๊ะ เอียงจุกขวดเพื่อเทสารออก อาจใช้ ดินสอหรือนิ้วมือเคาะที่ จุกขวด เพื่อให้สารนั้นหล่นลงมายังภาชนะ รองรับ หรือใช้ช้อนตวงขนาดเล็กตักออกก็ได้
  • 43. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com 4. ทาซ้าจนกว่าจะได้ปริมาณของสารตามต้องการ 5. เมื่อได้ปริมาณของสารตามที่ต้องการแล้ว หากมีสาร เหลืออยู่ในจุกขวดให้เทสาร กลับ เข้าไว้ในขวดได้ เพราะสาร ที่เหลือนี้ไม่ได้สัมผัสกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเลยจึงมีความบริสุทธิ์ เหมือนเดิม 6. ปิดจุกขวด
  • 44. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com วิธีที่ 2 วิธีนี้ใช้กับขวดด้านในไม่มีช่องว่างที่จะใส่สารได้ ในกรณีนี้ จาเป็นจะต้องใช้ช้อนตวง ตักสารออกมาจากขวดมีวิธีการดังนี้ 1. หมุนจุกขวดเบา ๆ เพื่อให้หลวมแล้วเปิดออก ถ้าจุกขวดมีส่วนบน แบนเรียบให้วาง หงายบนพื้นโต๊ะที่เรียบและสะอาด แต่ถ้าจุกขวดมี ลักษณะอื่นห้ามวางจุกขวดลงบนโต๊ะอย่างเด็ดขาด จะต้องถือจุกขวดไว้ 2. ใช้ช้อนตวงที่สะอาดตักสารออกจากขวด
  • 45. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com 3. ถือช้อนที่มีสารออกจากขวดเบา ๆ เพื่อไม่ให้สารหกนามาใส่ ภาชนะที่รองรับจนได้ปริมาณตามต้องการ 4. ปิดจุกขวด
  • 46. เทคนิคการนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวด www.themegallery.com วิธีที่ 3 ในกรณีที่ไม่สามารถจะใช้วิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 เพื่อนาสารที่เป็น ของแข็งออกจากขวด ได้ก็อาจใช้วิธีที่ 3 ซึ่งมีวิธีทาเป็นขั้น ๆ ดังนี้ 1. ทาให้ขวดใส่สารสะเทือนเล็กน้อย โดยการเคาะเบา ๆ กับพื้น โต๊ะเพื่อให้สารในขวดเคลื่อนไหวและเกาะกันอย่างหลวม ๆ 2. เปิดจุกขวดและวางจุกขวดหงายขึ้นบนพื้นที่เรียบและสะอาด 3. ยกขวดใส่สารขึ้นเหนือภาชนะที่จะใส่สารเอียงขวดสารแล้วหมุนขวด ไปมา เพื่อให้สารตกลงมายังภาชนะที่รองรับจนได้ปริมาณตามต้องการ
  • 47. เทคนิคการเทของเหลวหรือ สารละลายออกจากขวด www.themegallery.com 1. การจับขวดสารละลายควรจับทางด้านที่มีป้ายบอกความเข้มข้นหรือ บอกชื่อสารในขวด แล้วเทสารละลายออกจากขวดทางด้านตรงข้ามกับ ป้าย ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้สารละลายไหลลงมาถูกป้าย 2. หมุนจุกขวดเบา ๆ เพื่อทาให้จุกขวดหลวม
  • 48. www.themegallery.com 3. เปิดจุกขวดออก ถ้าจุกขวดนั้นมีส่วนบนแบนเรียบก็วางหงายขึ้น ถ้าจุกขวดเป็นยอดแหลมหรือมีส่วนที่ยาวออกมาให้ถือโดยให้ส่วน ที่เป็นยอดแหลมหรือส่วนที่ยาวออกมานี้อยู่ระหว่างนิ้วชี้กับนิ้วกลาง หงายมือขึ้นใช้นิ้วทั้งสองคีบส่วนที่เป็นยอดแหลม แล้วใช้ฝ่ามือจับ ขวดไว้ เทคนิคการเทของเหลวหรือ สารละลายออกจากขวด
  • 49. www.themegallery.com 4. เมื่อเทของเหลวหรือสารละลายได้ตามต้องการแล้ว ก่อนที่จะเอาขวด สารออก ควรให้ปากขวดตรงบริเวณที่สารละลายนั้นไหลออกมาแตะกับ อุปกรณ์ที่รองรับสารละลายก่อน เพื่อป้องกันมิให้สารละลายไหลลงมา ข้างขวดเพราะจะทาให้เปรอะเปื้อนได้ 5. ปิดจุกขวดทันที และอย่าหลงลืมวางจุกขวดไว้บนโต๊ะอย่างเด็ดขาด เทคนิคการเทของเหลวหรือ สารละลายออกจากขวด
  • 50. เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง www.themegallery.com 1. ต้องทาความสะอาดเครื่องแก้วนั้นทันทีหลังจากนาไปใช้งานแล้ว เพื่อให้เครื่องแก้ว แห้งก่อนที่จะนาไปใช้งานในครั้งต่อไป 2.การทาความสะอาดเครื่องแก้ว ต้องทาด้วยความระมัดระวัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่อง แก้วที่มีลักษณะเป็นก้านยาว เช่น ขวดวัด ปริมาตร ปิเปตต์ บิวเรตต์ ฯลฯ
  • 51. www.themegallery.com 3. ต้องล้างสบู่ สารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาดออกให้หมด 4.การล้างเครื่องแก้วที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทั่ว ๆ ไป ในขั้นสุดท้ายต้อง ล้างด้วยน้ากลั่นอีก 1-2 ครั้ง ถ้าเครื่องแก้วนั้นสะอาดจะสังเกตเห็นน้าที่ พื้นผิวเครื่องแก้วเปียกสม่าเสมอเป็นแบบเดียวกัน แต่ถ้าเครื่องแก้วยังไม่ สะอาด จะสังเกตเห็นเป็นหยดน้ามาเกาะข้างเครื่องแก้วนั้น เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
  • 53. www.themegallery.com 5. การใช้แปลงล้างเครื่องแก้วต้องระมัดระวังให้มาก เพราะก้านแปรง เป็นโลหะอาจทาให้ เครื่องแก้วนั้นแตกได้ แปรงล้างเครื่องแก้วมีหลาย ชนิด หลายขนาด จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของเครื่องแก้ว เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
  • 54. www.themegallery.com ข้อควรระวัง !!! การล้างเครื่องแก้วโดยใช้แปรงถู อย่าถูแรงเกินไป เนื่องจากก้าน แปรงเป็นโลหะเมื่อไปกระทบกับแก้วอาจทาให้แตกและเกิด อันตรายได้ เทคนิคการล้างเครื่องแก้ว ที่ใช้ในหลอดทดลอง
  • 55. เทคนิคการทาความสะอาดเครื่องแก้ว ที่ใช้ในการทดลอง www.themegallery.com การทาความสะอาดเครื่องแก้วที่ใช้วัดปริมาตร ให้ล้างด้วยสารละลายสารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาด แล้วล้างด้วยน้ากลั่นประมาณ 3 ครั้ง ตั้งเครื่องแก้วทิ้งไว้ให้แห้งที่อุณหภูมิห้อง อย่านาใส่ในเตาอบที่ร้อน ลักษณะผิวของเครื่องแก้วที่เปียกน้าจะดูเรียบเมื่อเครื่องแก้วนั้นสะอาด แต่ถ้ามีลักษณะเป็นหยดน้าแสดงว่ายังสกปรกต้องนาไปล้างใหม่