SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
ลมฟ้าอากาศ
เมฆและฝน 
ลมและพายุ 
บรรยากาศ (ตอนที่ 2) 
การพยากรณ์อากาศ 
การเปลี่ยนแปลง 
อุณหภูมิของโลก
เมฆและฝน
การเกิดเมฆและฝน
ประเภทของเมฆ
โดยหากแบ่งระดับความสูงของเมฆชั้นต่างๆ โดยพิจารณาจากความสูงของ 
ฐานเมฆ แบ่งได้เป็น 3 เขต ดังนี้
การเกิดฝน 
• เมื่อไอน้า ในอากาศลอยตัวสูงขึ้นไปกระทบกับอากาศเย็น 
เบื้องบน จะกลั่นตัวเป็นหยดน้า เล็กๆ รวมตัวกันเป็นเมฆ 
• หยดน้า ขนาดเล็กรวมตัวกันมีขนาดใหญ่ขึ้น และมีน้า หนักมากขึ้น 
แต่อากาศยังสามารถอุ้มไว้ได้ 
• หยดน้า รวมตัวกันต่อไปอีกมีขนาดและมีน้า หนักเพิ่มมากขึ้น แต่ยัง 
สามารถล่องลอยอยู่ได้ 
• เมื่อหยดน้า รวมตัวกันมีขนาดใหญ่มากขึ้น และมีน้า หนักมากเกินกว่า 
ที่อากาศจะอุ้มไว้ได้ก็จะตกลงมาเป็นฝน
ประเภทของฝน 
• ฝน เป็นหยาดน้า ฟ้าซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 
0.5 มิลลิเมตร 
• ละอองฝน เป็นเม็ดน้า ฝนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 0.5 มิลลิเมตร 
• ฝนซู่ เป็นเม็ดน้า ฝนที่ตกหนักในระยะเวลาสั้นๆ แล้วหยุดทันที 
• พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นฝนที่เกิดขึ้นพร้อมกับพายุ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง บางครั้งอาจมี 
ฟ้าผ่า และลูกเห็บตกด้วย 
• ลูกเห็บ เป็นเกล็ดน้า แข็งที่มีรูปร่างและขนาดต่างกัน เกิดจากกระแสอากาศร้อนและ 
ชื้นไหลขึ้นสู่ด้านบนอย่างรวดเร็ว เมื่อกระทบอากาศเย็นจึงกลั่นตัวเป็นหยดน้า 
จากนั้นหยดน้า ถูกดันให้สูงขึ้นไปอีกจนถึงระดับหนึ่ง หยดน้า จะกลายเป็นน้า แข็ง 
และมีขนาดใหญ่ มีน้า หนักมาก จนอากาศไม่สามารถอุ้มไว้ได้ จึงตกลงมา
การวัดปริมาณน้าฝน 
• จะวัดเป็นความสูงของน้า ฝนที่ตกลงมาบน 
พื้นที่นั้น มีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตร 
• เครื่องมือวัดความสูงของน้า ฝน คือ เรนเกจ 
ประกอบด้วยตัวถังทรงกระบอกทา ด้วยทองแดง 
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ด้านบนมี 
กรวยสา หรับรองรับน้า ฝนให้ไหลลงถ้วยหรือ 
ขวดแก้วด้านล่าง โดยจะติดตั้งไว้ในที่โล่งห่างจาก 
อาคารและต้นไม้ และสูงจากพื้นดินประมาณ 
ครึ่งเมตร
ลมและพายุ
การเกิดลมและพายุ 
• อากาศเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว ทา ให้บริเวณนั้นมีความกดอากาศต่า และ 
อากาศลอยตัวสูงขึ้น ทา ให้อากาศเย็นที่มีความกดอากาศสูงจากบริเวณใกล้เคียง 
ไหลเข้าแทนที่ ซึ่งทา ให้เกิด ลม 
• ถ้าทั้ง 2 บริเวณ มีความกดอากาศต่างกันมากๆ ลมจะพัดแรง ซึ่งลมที่พัดแรงมากๆ 
จะเรียกว่า พายุ
เกณฑ์ความเร็วลมจะวัดจากความเร็วลมที่ระดับความสูงมาตรฐาน 10 เมตร เหนือ 
พื้นดินในบริเวณที่โล่งแจ้ง ซึ่งสามารถแบ่งชนิดของความเร็วลมได้ ดังตารางต่อไปนี้
ชนิดของลมและพายุ 
ลมประจาฤดู 
เป็นลมที่พัดประจา ตามฤดูกาล ในประเทศไทย มีดังนี้ 
 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุม 
ประเทศไทยระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึง 
กลางเดือนตุลาคม มีแหล่งกา เนิดจากบริเวณ 
ความกดอากาศสูงในซีกโลกใต้แถบมหาสมุทร 
อินเดีย ซึ่งจะนา มวลอากาศชื้นมาสู่ประเทศไทย 
ทา ให้มีเมฆมากฝนตกชุก
 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ 
พัดปกคลุมประเทศไทยระหว่างกลางเดือน 
ตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีแหล่งกา เนิด 
จากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือ 
แถบประเทศมองโกเลียและจีนซึ่งจะพัดมวล 
อากาศเย็นและแห้งเข้าปกคลุมประเทศไทย 
ทา ให้ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
มีท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวและแห้งแล้ง 
ส่วนภาคใต้จะมีฝนตกชุก
ลมประจาถิ่น 
เป็นลมที่เกิดและพัดในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น ลมว่าว หรือลมข้าวเบา 
ลมตะเภา ลมพัทยา เป็นต้น 
ลมประจาเวลา 
เป็นลมที่เกิดเป็นประจาในช่วงเวลาที่ต่างกัน 
• ลมบก เกิดจากในเวลากลางคืน 
อากาศเหนือพื้นดินเย็นกว่าอากาศ 
เหนือพื้นน้า อากาศจึงเคลื่อนที่ 
จากฝั่งออกสู่ทะเล 
• ลมทะเล เกิดจากในเวลากลางวัน 
อากาศเหนือพื้นดินร้อนกว่า 
อากาศเหนือพื้นน้า อากาศ 
จึงเคลื่อนที่จากทะเลเข้าสู่ฝั่ง
พายุหมุนเขตร้อน 
• เกิดเหนือมหาสมุทรในเขตร้อน 
• มีเส้นผ่านศูนย์กลางพายุประมาณ 100 กิโลเมตรขึ้นไป 
• พัดเวยีนเป็นวงทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ 
เข้าสู่ศูนย์กลางด้วยความเร็ว 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (64 นอต) ขึ้นไป 
• ความกดอากาศโดยทั่วไปต่า กว่า 1,000 มิลลิบาร์ บางครั้งมีฝนตกหนัก และมี 
พายุฝนฟ้าคะนอง
พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกตามแหล่งกาเนิด 
• ไซโคลน (Cyclone) เป็นพายุที่เกิดในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอินเดีย 
• เฮอริเคน (Hurricane) เป็นพายุที่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ อ่าวเม็กซิโก 
ทะเลแคริบเบียน และทางตะวันตกของเม็กซิโก 
• ไต้ฝุ่น (Typhoon) เป็นพายุที่เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านทิศตะวันตก 
มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ และทะเลจีนใต้ 
• วิลลี-วิลลี (Willy-willy) เป็นพายุที่เกิดแถบทวีปออสเตรเลีย
เกณฑ์การแบ่งความรุนแรงของพายุ 
ใช้ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเป็นเกณฑ์ 
• พายุดีเปรสชัน มีความเร็วลมไม่เกิน 33 นอต (61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 
• พายุโซนร้อน มีความเร็วลม 34-63 นอต (62-117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 
• พายุไต้ฝุ่น มีความเร็วลม 64 นอตขึ้นไป (118 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป)
อุปกรณ์ที่ใช้วัดเกี่ยวกับลม 
ศรลม : ใช้ตรวจสอบทิศทางลม โดยหัวลูกศรจะชี้ไปใน 
ทิศทางที่ลมพัดมา 
มาตรวัดความเร็วลม หรือแอนีมอมเิตอร์ : ใช้วัดความเร็วลม โดย 
จา นวนรอบที่กรวยหมุนเมื่อมีลมมาปะทะจะแสดงถึงความเร็วลม 
ซึ่งสามารถอ่านค่าได้จากตัวเลขที่หน้าปัดเครื่อง 
แอโรเวน : ใช้วัดทั้งทิศทางลมและความเร็วลม โดยปลายด้าน 
ใบพัดของอุปกรณ์จะชี้ไปในทิศทางที่ลมพัดมา ส่วนการหมุน 
ของใบพัดจะใช้วัดความเร็วลม
ผลกระทบของพายุต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 
ภัยที่เกิดจากพายุ เรียกว่า วาตภัย ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากปรากฏการณ์ทาง 
ธรรมชาติ ดังนี้ 
พายุหมุนเขตร้อน 
• พายุที่พัดเข้าสู่ประเทศไทยตอนบนจะเป็นพายุดีเปรสชัน 
• พายุที่พัดเข้าสู่ตอนใต้ของประเทศไทยจะเป็นพายุโซนร้อนและไต้ฝุ่น ซึ่งก่อ 
ให้เกิดความเสียหายมากกว่าทางตอนบน เนื่องจากทางตอนใต้ไม่มีแนว 
เทือกเขาช่วยลดความรุนแรงของพายุ จึงทา ให้เกิดลมพัดแรง และฝนตกหนัก 
พายุฤดูร้อน 
• เกิดในช่วงที่อากาศร้อนอบอ้าวติดต่อกัน แล้วมีกระแสอากาศเย็นจากประเทศจีน 
พัดมาปะทะกัน ทา ให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้
ลมงวง (ทอร์นาโด) 
• เป็นพายุหมุนขนาดเล็ก เกิดจากการหมุนเวียนของลมภายใต้เมฆคิวมูโลนิมบัส 
ทา ให้กระแสอากาศหมุนเป็นลา พุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้าหรือย้อยลงมาจากฐานเมฆ 
• ทา ความเสียหายแก่บ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งปลูกสร้างเป็นวงกว้าง
การพยากรณ์อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ กับการพยากรณ์อากาศ 
การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้ง 
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า 
การพยากรณ์อากาศที่ถูกต้องแม่นยา 
ต้องทราบถึงสภาวะอากาศที่ครอบคลุม 
บริเวณนั้น และสภาพอากาศย้อนหลัง 
ตามระยะเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งยัง 
ต้องใช้ข้อมูลอื่นๆ มาประกอบ โดยใน 
ประเทศไทยสามารถขอข้อมูลได้จาก 
กรมอุตุนิยมวิทยา
เกณฑ์การรายงานพยากรณ์อากาศ 
เกณฑ์ที่ใช้ในการพยากรณ์อากาศ 
เกณฑ์อากาศร้อน ใช้อุณหภมูิสูงสุดประจา วันและใช้เฉพาะในฤดูร้อน 
เกณฑ์อากาศหนาว ใช้อุณหภูมิต่า สุดประจา วันและใช้เฉพาะในฤดูหนาว
เกณฑ์การกระจายของฝน พิจารณาจากแนวโน้มปริมาณฝนที่จะตกครอบคลุมพื้นที่ 
เกณฑ์ปริมาณฝน พิจารณาถึงปริมาณฝนที่ตกลงมาในแต่ละพื้นที่
เกณฑ์จานวนเมฆในท้องฟ้า พิจารณาจา นวนเมฆในท้องฟ้า โดยแบ่งท้องฟ้าออกเป็น 
10 ส่วน 
เกณฑ์สถานะของทะเล พิจารณาจากความสูงของคลื่น
เกณฑ์ความเร็วลมพื้นผิว พิจารณาถึงความเร็วของลมบริเวณพื้นผิวแต่ละพื้นที่ 
พายุฝนฟ้าคะนอง พิจารณาถึงความรุนแรงของพายุ 
พายุหมุนเขตร้อน พิจารณาถึงความเร็วลม
ร่องมรสุม 
• เป็นโซนหรือร่องแคบๆ ที่ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือของซีกโลกเหนือ กับลมค้า 
ตะวันตกเฉียงใต้ของซีกโลกใต้มาบรรจบกัน มีลักษณะเป็นแนวพาดขวางใน 
ทิศตะวันออก-ตะวันตก 
• เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่า มีกระแสอากาศไหลขึ้น-ลงสลับกัน โดยอยู่ 
ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีการเลื่อนขึ้น-ลงตามแนวโคจรของดวงอาทิตย์ 
• เป็นบริเวณที่มีเมฆมากและฝนตกอย่างหนาแน่น 
เปรียบเทียบแนวพาดผ่านของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ซ้าย) และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้(ขวา)
ลมพัดสอบ เป็นการเบียดตัวเข้าหากันของลม 2 ฝ่ายบริเวณใกล้พื้นโลก ทา ให้อากาศ 
บริเวณแนวเบียดตัวลอยขึ้นด้านบน ซึ่งเป็นบริเวณที่มักมีเมฆฝนเกิดขึ้น 
ฟ้าหลัว เป็นลักษณะของอากาศที่ประกอบด้วยอนุภาคเกลือจากทะเลหรือมหาสมุทร 
หรืออนุภาคควันไฟหรือฝุ่นละออง ทา ให้มองเห็นอากาศเป็นฝ้าขาว โดยฟ้าหลัวจะทา ให้ 
ทัศนวิสัยในการมองเห็นลดลง
บริเวณความกดอากาศสูง หรือ แอนติ-ไซโคลน เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศ 
สูงกว่าบริเวณข้างเคียง มีท้องฟ้าแจ่มใสและอากาศหนาวเย็น กระแสลมจะพัดเวยีน 
ออกจากศูนย์กลางในทิศทางตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และทวนเข็มนาฬิกาใน 
ซีกโลกใต้ 
แผนที่อากาศแสดงบริเวณที่มี 
ความกดอากาศสูงและความกดอากาศต่า 
บริเวณความกดอากาศต่า เป็นบริเวณที่มี 
ความกดอากาศลดลงจากขอบนอกเข้าสู่ 
ศูนย์กลาง มีเมฆมากและมีฝนตก กระแสลม 
จะพัดเข้าหาศูนย์กลางในทิศทางทวนเข็ม 
นาฬิกาในซีกโลกเหนือ และตามเข็มนาฬิกา 
ในซีกโลกใต้
• แผนที่แสดงลักษณะลมฟ้าอากาศของสถานที่ 
แห่งหนึ่งในระยะเวลาหนึ่งที่ผ่านมา 
• ลักษณะอากาศพื้นผิวที่ปรากฏบนแผนที่อากาศ 
จะได้รับการตรวจวัดโดย สถานีตรวจอากาศ 
• นอกจากนี้ยังมีการรวบรวมข้อมูล 
สภาพอากาศเบื้องบนโดยใช้ดาวเทียม 
อุตุนิยมวิทยา ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจาก 
แหล่งต่างๆ ได้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหน้าที่จะ 
นามาเขียนลงบนแผนที่อากาศโดยใช้ 
สัญลักษณ์และตัวเลขตามตา แหน่งต่างๆ 
ที่กา หนดไว้ 
บอลลูนตรวจอากาศใช้ตรวจสอบ 
และเก็บข้อมูลสภาพอากาศเบื้องบน 
แผนที่อากาศ
สัญลักษณ์และตัวเลขที่ใช้ในการเขียนแผนที่อากาศ 
ความเร็วลม ใช้สัญลักษณ์ดังตาราง ต่อไปนี้
ทิศทางลม ให้ดูจากทิศทางของเส้นในสัญลักษณ์ เช่น 
หมายถึง ลมตะวันตกเฉียงใต้ 
ความเร็วลม 1-5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 
หมายเหตุ 
หมายถึง ลมตะวันตกเฉียงเหนือ 
ความเร็วลม 12-19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 
แทน จา นวนเมฆในท้องฟ้า 
แทน ทิศทางลม 
แทน ความเร็วลม
ปริมาณเมฆในท้องฟ้า ใช้สัญลักษณ์ดังตาราง ต่อไปนี้ 
อุณหภูมิของอากาศ ใช้ตัวเลขที่แสดงค่าอุณหภูมิที่วัดได้ โดยเขียนไว้ด้านบนของ 
วงกลม
ความกดอากาศและหย่อมความกดอากาศ แสดงด้วยเส้นที่ลากผ่านจุดที่มี 
ความกดอากาศเท่ากัน เรียกว่า เส้นไอโซบาร์ และกา หนดให้ 
H แทน หย่อมความกดอากาศสูง L แทน หย่อมความกดอากาศต่า 
เส้นไอโซบาร์และหย่อมความกดอากาศสูง-ต่า
การเขียนสัญลักษณ์ต่างๆ ในแผนที่อากาศ
ประโยชน์ของการพยากรณ์อากาศ 
ด้านการคมนาคม เพื่อให้เกิด 
ความปลอดภัยต่อการคมนาคมทั้ง 
ทางบก ทางน้า และทางอากาศ 
ด้านการเกษตร เพื่อเป็นข้อมูล 
ให้ทราบถึงสภาพลมฟ้าอากาศ ซึ่งเป็น 
ประโยชน์ต่อการวางแผนทางการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก 
ปัจจัยทางธรรมชาติ 
• ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา 
เอลนีโญ เป็นปรากฏการณ์ที่ 
ผิวน้า ทะเลทางด้านตะวันออก 
ของมหาสมุทรแปซิฟิก 
เขตร้อนอุ่นขึ้นกว่าปกติ 
และแผ่ขยายออกไปถึง 
กลางมหาสมุทรแปซิฟิกแถบ 
ศูนย์สูตร แต่ถ้าผิวน้า บริเวณนี้ 
เย็นลง จะเรียกว่า ลานีญา ซึ่ง 
เกิดขึ้นสลับกันไปมา 
เส้นทางกระแสน้า อุ่นและน้า เนน
ตัวอย่างผลกระทบจากปรากฏการ์เอลนีโญในปี พ.ศ. 2540 
• ในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤศจิกายน อากาศของแต่ละภูมิภาคมีอุณหภูมิที่สูงขึ้นกว่าปกติ 
เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลให้เกิดไฟป่าได้ง่าย 
• เกิดฝนตกหนักและน้า ท่วมในประเทศต่างๆ แถบมหาสมุทรอินเดีย แอฟริกาตะวันออก 
และอเมริกาใต้ 
• สา หรับประเทศไทยมีผลทา ให้ปริมาณฝนลดน้อยลง และอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้นกว่าปกติ 
ไฟป่าในอินโดนีเซีย น้า ท่วมในบังคลาเทศ
• การปะทุของภูเขาไฟ เกิดการพ่นแก๊สและเถ้าถ่านที่มีขนาดเล็กๆ จา นวนมหาศาล 
ขึ้นไปสู่บรรยากาศ ทา ให้เกิดการขวางกั้นรังสีจากดวงอาทิตย์ที่แผ่ลงมายังพื้น 
ผิวโลก ส่งผลให้อุณหภูมิของอากาศลดต่า ลง อากาศจึงหนาวเย็นผิดปกติในช่วง 
ฤดูหนาว
• การเปลี่ยนแปลงแนววงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ วงโคจรของโลกรอบ 
ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนแปลงในรอบประมาณ 1 แสนปี โดยวงโคจรจะยาวและรี 
มากขึ้น จึงทา ให้ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับเปลี่ยนแปลงไป อุณหภูมิ 
ของโลกจะแตกต่างจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 
แทน วงโคจรในปัจจุบัน แทน วงโคจรในอีก 1 แสนปี
การกระทาของมนุษย์ มนุษย์เป็นตัวการปล่อยแก๊สเรือนกระจก ซึ่งทา ให้เกิด 
ปรากฏการณ์เรือนกระจก ส่งผลให้อุณหภูมิของโลกเปลี่ยนแปลง โดยแก๊ส 
เรือนกระจก มีดังนี้ 
• แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีสาเหตุมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ ซึ่งที่ใช้ 
กันมาก ได้แก่ น้า มัน ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ นอกจากนี้การตัดไม้ทา ลายป่า 
ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของการเพิ่มปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
• แก๊สมีเทน เกิดจากการปลูกข้าวแบบน้า ท่วมขัง 
การขับถ่ายของสัตว์พวกเคี้ยวเอื้อง และบางส่วน 
มาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่ง 
แก๊สมีเทนสามารถดูดกลืนความร้อนได้ 
มากกว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 25 เท่า 
• แก๊สซีเอฟซี เป็นสารประกอบคลอโรฟลูออโร- 
คาร์บอนที่มีอยู่ในเครื่องปรับอากาศ สเปรย์ 
ตู้เย็น และน้า ยาดับเพลิง เป็นตัวการทา ให้เกิด 
รูโหว่ของโอโซนในชั้นบรรยากาศ และดูดกลืน 
รังสีอินฟาเรดไม่ให้ออกสู่ภายนอกบรรยากาศ 
เป็นผลให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
• แก๊สไนตรัสออกไซด์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตเส้นใยไนลอน สารเคมี และ 
พลาสติก เป็นตัวการในการปล่อยแก๊สไนตรัสออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ รวมทั้ง 
การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในการเกษตรก็เป็นการเพิ่มปริมาณของแก๊สไนตรัสออกไซด์ 
ซึ่งเป็นผลให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
ภาวะโลกร้อน 
ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะที่บรรยากาศของโลกมีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงขึ้น ซึ่งมี 
ผลกระทบต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ โดยปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน 
มีดังนี้ 
ปรากฏการณ์เรือนกระจก 
เป็นปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น 
เนื่องจากรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ 
จะสะท้อนกลับออกไปนั้นถูกดูดกลืนไว้ 
โดยแก๊สเรือนกระจกที่อยู่ในบรรยากาศ 
และถูกปล่อยกลับมายังผิวโลก จึงทา ให้ 
อุณหภูมิที่ผิวโลกสูงขึ้น
รูโหว่โอโซน 
กิจกรรมบางอย่างของมนุษย์มีการปล่อย 
สารเคมีบางชนิดที่ไปทา ลายชั้นโอโซนของ 
โลกให้เสียหาย โดยเฉพาะแก๊สคลอโร- 
ฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) สามารถทา ลาย 
ชั้นโอโซนจนเกิดเป็นช่องโหว่ได้ เรียกว่า 
รูโหว่โอโซน 
ทา ให้พื้นที่บริเวณนั้นได้รับรังสี 
อัลตราไวโอเลตในความเข้มสูง ส่งผล 
กระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม เช่น 
ทา ให้เกิดมะเร็งผิวหนัง เกิดต้อกระจก 
ทา ลายแพลงก์ตอนที่เป็นอาหารของสัตว์น้า 
และทา ให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก 
เกิดพายุหมุนบ่อยขึ้น 
และมีความรุนแรงมากขึ้น 
เกิดปัญหาอุทกภัย และบางบริเวณ 
อาจเกิดติดต่อกันหลายปี
เกิดปัญหาฝนแล้ง ไฟป่า ชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะ 
ระดับน้า ทะเลสูงขึ้น เนื่องจากธารน้า แข็ง 
ที่ขั้วโลกละลายเร็วขึ้นกว่าปกติ
ทา ให้เกิดโรคระบาด โดยอุณหภูมิที่สูง 
ทา ให้การฟักตัวของแมลงบางชนิดที่เป็น 
พาหะของโรคเพิ่มจา นวนขึ้นอย่างรวดเร็ว 
เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย 
พืชและสัตว์สูญพันธุ์ เช่น หมีขั้วโลกมี 
โอกาสสูญพันธุ์สูงมาก เนื่องจากขาดแหล่ง 
ที่อยู่อาศัย เพราะธารน้า แข็งขั้วโลกละลายไป
วิธีการลดภาวะโลกร้อน
ฝนกรด 
สาเหตุที่ทาให้เกิดฝนกรด 
เกิดจากฝนตกลงมาแล้วทา ปฏิกิริยากับแก๊สต่างๆ ที่ถูกปล่อยออกมาจากรถยนต์และ 
โรงงานต่างๆ 
• แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) เกิดจากอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ 
• แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) เกิดจากอุตสาหกรรมผลิตกรดดินประสิว 
อุตสาหกรรมผลิตปุ๋ย และอุตสาหกรรมผลิตวัตถุระเบิด 
เมื่อแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สไนโตรเจนออกไซด์ทา ปฏิกิริยากับไอน้า 
ในอากาศ ทา ให้เกิดกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริก ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดฝนกรด
ผลกระทบจากฝนกรด 
• ผลกระทบต่อดิน ฝนกรดจะพัดพา 
สารอาหารในดินที่จาเป็นต่อการ 
เจริญเติบโตของต้นไม้ไป และละลาย 
สารพิษในดินลงสู่แหล่งน้า 
• ผลกระทบต่อแหล่งน้า ฝนกรดทา ให้ 
ค่า pH ในแหล่งน้า ลดลง ความสามารถ 
ในการละลายออกซิเจนในน้า ลดลง 
ทา ให้สิ่งมีชีวิตในน้า ขาดอากาศหายใจ
• ผลกระทบต่อต้นไม้ โดยฝนกรดจะ 
กัดกร่อนใบพืชจนเกิดรูโหว่ ทา ให้ 
พืชสังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้ 
• ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง โดยฝนกรด 
จะกัดกร่อนวัสดุและสิ่งก่อสร้างต่างๆ 
ให้สึกกร่อนได้
ฝนกรดกับสภาวะแวดล้อม 
ฝนกรดสามารถช่วยลดปัญหาโลกร้อนได้ โดยซัลเฟตที่ละลายอยู่ในบรรยากาศ 
สามารถสะท้อนแสงอาทิตย์ออกไปจากโลกได้ ทา ให้ความร้อนของโลกเพิ่มขึ้นช้าลง 
การป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนกรด 
ทา ได้โดยการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล การประหยัดพลังงาน การใช้บริการ 
ขนส่งมวลชน เป็นต้น
สรุปทบทวนประจาหน่วยการเรียนรู้ที่8 
• เมฆ คือ กลุ่มของหยดน้า ขนาดเล็กจา นวนมากที่มารวมตัวกันอยู่ได้เนื่องจากมีอากาศอุ้มไว้ 
ซึ่งยังไม่ตกลงมาสู่พื้นโลก 
• ฝนเกิดจากหยดน้า ขนาดเล็กในก้อนเมฆรวมตัวกันเป็นหยดน้า ขนาดใหญ่ขึ้นจนอากาศ 
อุ้มไว้ไม่ได้ จึงตกลงมาเป็นฝนสู่พื้นผิวโลก 
• ลม คือ อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (อากาศเย็น) ไปยังบริเวณ 
ที่มีความกดอากาศต่า (อากาศร้อน) 
• การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศรวมทั้งปรากฏการณ์ 
ธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า 
• ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก มีทั้งปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น 
การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา การปะทุของภูเขาไฟ เป็นต้น และเกิดจาก 
การกระทา ของมนุษย์ ได้แก่ การปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกสู่บรรยากาศ 
• ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะที่บรรยากาศของโลกมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงขึ้น โดยส่วนใหญ่เกิดจากการ 
กระทา ของมนุษย์ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

More Related Content

What's hot

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 

What's hot (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 

Viewers also liked

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศkulruedee_chm
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pagePrachoom Rangkasikorn
 

Viewers also liked (8)

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
เมฆ
เมฆเมฆ
เมฆ
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
 
SMMS Rainfall
SMMS  RainfallSMMS  Rainfall
SMMS Rainfall
 

Similar to ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนdnavaroj
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองdnavaroj
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)พัน พัน
 
2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docxnoeynymon
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 

Similar to ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ (20)

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
วาตภัย
วาตภัยวาตภัย
วาตภัย
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)บรรยากาศ(Atmosphere)
บรรยากาศ(Atmosphere)
 
2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx2562 final-project 21-waigoon.docx
2562 final-project 21-waigoon.docx
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 

More from Supaluk Juntap

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5Supaluk Juntap
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5Supaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสSupaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 

More from Supaluk Juntap (12)

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
 
Interest/opinion
Interest/opinionInterest/opinion
Interest/opinion
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Prepositions of Place
Prepositions of PlacePrepositions of Place
Prepositions of Place
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Homophones
HomophonesHomophones
Homophones
 

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ

  • 2. เมฆและฝน ลมและพายุ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) การพยากรณ์อากาศ การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของโลก
  • 7. การเกิดฝน • เมื่อไอน้า ในอากาศลอยตัวสูงขึ้นไปกระทบกับอากาศเย็น เบื้องบน จะกลั่นตัวเป็นหยดน้า เล็กๆ รวมตัวกันเป็นเมฆ • หยดน้า ขนาดเล็กรวมตัวกันมีขนาดใหญ่ขึ้น และมีน้า หนักมากขึ้น แต่อากาศยังสามารถอุ้มไว้ได้ • หยดน้า รวมตัวกันต่อไปอีกมีขนาดและมีน้า หนักเพิ่มมากขึ้น แต่ยัง สามารถล่องลอยอยู่ได้ • เมื่อหยดน้า รวมตัวกันมีขนาดใหญ่มากขึ้น และมีน้า หนักมากเกินกว่า ที่อากาศจะอุ้มไว้ได้ก็จะตกลงมาเป็นฝน
  • 8. ประเภทของฝน • ฝน เป็นหยาดน้า ฟ้าซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 0.5 มิลลิเมตร • ละอองฝน เป็นเม็ดน้า ฝนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 0.5 มิลลิเมตร • ฝนซู่ เป็นเม็ดน้า ฝนที่ตกหนักในระยะเวลาสั้นๆ แล้วหยุดทันที • พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นฝนที่เกิดขึ้นพร้อมกับพายุ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง บางครั้งอาจมี ฟ้าผ่า และลูกเห็บตกด้วย • ลูกเห็บ เป็นเกล็ดน้า แข็งที่มีรูปร่างและขนาดต่างกัน เกิดจากกระแสอากาศร้อนและ ชื้นไหลขึ้นสู่ด้านบนอย่างรวดเร็ว เมื่อกระทบอากาศเย็นจึงกลั่นตัวเป็นหยดน้า จากนั้นหยดน้า ถูกดันให้สูงขึ้นไปอีกจนถึงระดับหนึ่ง หยดน้า จะกลายเป็นน้า แข็ง และมีขนาดใหญ่ มีน้า หนักมาก จนอากาศไม่สามารถอุ้มไว้ได้ จึงตกลงมา
  • 9. การวัดปริมาณน้าฝน • จะวัดเป็นความสูงของน้า ฝนที่ตกลงมาบน พื้นที่นั้น มีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตร • เครื่องมือวัดความสูงของน้า ฝน คือ เรนเกจ ประกอบด้วยตัวถังทรงกระบอกทา ด้วยทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ด้านบนมี กรวยสา หรับรองรับน้า ฝนให้ไหลลงถ้วยหรือ ขวดแก้วด้านล่าง โดยจะติดตั้งไว้ในที่โล่งห่างจาก อาคารและต้นไม้ และสูงจากพื้นดินประมาณ ครึ่งเมตร
  • 11. การเกิดลมและพายุ • อากาศเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว ทา ให้บริเวณนั้นมีความกดอากาศต่า และ อากาศลอยตัวสูงขึ้น ทา ให้อากาศเย็นที่มีความกดอากาศสูงจากบริเวณใกล้เคียง ไหลเข้าแทนที่ ซึ่งทา ให้เกิด ลม • ถ้าทั้ง 2 บริเวณ มีความกดอากาศต่างกันมากๆ ลมจะพัดแรง ซึ่งลมที่พัดแรงมากๆ จะเรียกว่า พายุ
  • 12. เกณฑ์ความเร็วลมจะวัดจากความเร็วลมที่ระดับความสูงมาตรฐาน 10 เมตร เหนือ พื้นดินในบริเวณที่โล่งแจ้ง ซึ่งสามารถแบ่งชนิดของความเร็วลมได้ ดังตารางต่อไปนี้
  • 13. ชนิดของลมและพายุ ลมประจาฤดู เป็นลมที่พัดประจา ตามฤดูกาล ในประเทศไทย มีดังนี้  ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุม ประเทศไทยระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึง กลางเดือนตุลาคม มีแหล่งกา เนิดจากบริเวณ ความกดอากาศสูงในซีกโลกใต้แถบมหาสมุทร อินเดีย ซึ่งจะนา มวลอากาศชื้นมาสู่ประเทศไทย ทา ให้มีเมฆมากฝนตกชุก
  • 14.  ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดปกคลุมประเทศไทยระหว่างกลางเดือน ตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีแหล่งกา เนิด จากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือ แถบประเทศมองโกเลียและจีนซึ่งจะพัดมวล อากาศเย็นและแห้งเข้าปกคลุมประเทศไทย ทา ให้ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวและแห้งแล้ง ส่วนภาคใต้จะมีฝนตกชุก
  • 15. ลมประจาถิ่น เป็นลมที่เกิดและพัดในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น ลมว่าว หรือลมข้าวเบา ลมตะเภา ลมพัทยา เป็นต้น ลมประจาเวลา เป็นลมที่เกิดเป็นประจาในช่วงเวลาที่ต่างกัน • ลมบก เกิดจากในเวลากลางคืน อากาศเหนือพื้นดินเย็นกว่าอากาศ เหนือพื้นน้า อากาศจึงเคลื่อนที่ จากฝั่งออกสู่ทะเล • ลมทะเล เกิดจากในเวลากลางวัน อากาศเหนือพื้นดินร้อนกว่า อากาศเหนือพื้นน้า อากาศ จึงเคลื่อนที่จากทะเลเข้าสู่ฝั่ง
  • 16. พายุหมุนเขตร้อน • เกิดเหนือมหาสมุทรในเขตร้อน • มีเส้นผ่านศูนย์กลางพายุประมาณ 100 กิโลเมตรขึ้นไป • พัดเวยีนเป็นวงทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ เข้าสู่ศูนย์กลางด้วยความเร็ว 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (64 นอต) ขึ้นไป • ความกดอากาศโดยทั่วไปต่า กว่า 1,000 มิลลิบาร์ บางครั้งมีฝนตกหนัก และมี พายุฝนฟ้าคะนอง
  • 17. พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกตามแหล่งกาเนิด • ไซโคลน (Cyclone) เป็นพายุที่เกิดในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอินเดีย • เฮอริเคน (Hurricane) เป็นพายุที่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ อ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน และทางตะวันตกของเม็กซิโก • ไต้ฝุ่น (Typhoon) เป็นพายุที่เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านทิศตะวันตก มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ และทะเลจีนใต้ • วิลลี-วิลลี (Willy-willy) เป็นพายุที่เกิดแถบทวีปออสเตรเลีย
  • 18. เกณฑ์การแบ่งความรุนแรงของพายุ ใช้ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุเป็นเกณฑ์ • พายุดีเปรสชัน มีความเร็วลมไม่เกิน 33 นอต (61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) • พายุโซนร้อน มีความเร็วลม 34-63 นอต (62-117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) • พายุไต้ฝุ่น มีความเร็วลม 64 นอตขึ้นไป (118 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป)
  • 19. อุปกรณ์ที่ใช้วัดเกี่ยวกับลม ศรลม : ใช้ตรวจสอบทิศทางลม โดยหัวลูกศรจะชี้ไปใน ทิศทางที่ลมพัดมา มาตรวัดความเร็วลม หรือแอนีมอมเิตอร์ : ใช้วัดความเร็วลม โดย จา นวนรอบที่กรวยหมุนเมื่อมีลมมาปะทะจะแสดงถึงความเร็วลม ซึ่งสามารถอ่านค่าได้จากตัวเลขที่หน้าปัดเครื่อง แอโรเวน : ใช้วัดทั้งทิศทางลมและความเร็วลม โดยปลายด้าน ใบพัดของอุปกรณ์จะชี้ไปในทิศทางที่ลมพัดมา ส่วนการหมุน ของใบพัดจะใช้วัดความเร็วลม
  • 20. ผลกระทบของพายุต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ภัยที่เกิดจากพายุ เรียกว่า วาตภัย ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ ดังนี้ พายุหมุนเขตร้อน • พายุที่พัดเข้าสู่ประเทศไทยตอนบนจะเป็นพายุดีเปรสชัน • พายุที่พัดเข้าสู่ตอนใต้ของประเทศไทยจะเป็นพายุโซนร้อนและไต้ฝุ่น ซึ่งก่อ ให้เกิดความเสียหายมากกว่าทางตอนบน เนื่องจากทางตอนใต้ไม่มีแนว เทือกเขาช่วยลดความรุนแรงของพายุ จึงทา ให้เกิดลมพัดแรง และฝนตกหนัก พายุฤดูร้อน • เกิดในช่วงที่อากาศร้อนอบอ้าวติดต่อกัน แล้วมีกระแสอากาศเย็นจากประเทศจีน พัดมาปะทะกัน ทา ให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกได้
  • 21. ลมงวง (ทอร์นาโด) • เป็นพายุหมุนขนาดเล็ก เกิดจากการหมุนเวียนของลมภายใต้เมฆคิวมูโลนิมบัส ทา ให้กระแสอากาศหมุนเป็นลา พุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้าหรือย้อยลงมาจากฐานเมฆ • ทา ความเสียหายแก่บ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งปลูกสร้างเป็นวงกว้าง
  • 23. ลม ฟ้า อากาศ กับการพยากรณ์อากาศ การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้ง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า การพยากรณ์อากาศที่ถูกต้องแม่นยา ต้องทราบถึงสภาวะอากาศที่ครอบคลุม บริเวณนั้น และสภาพอากาศย้อนหลัง ตามระยะเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งยัง ต้องใช้ข้อมูลอื่นๆ มาประกอบ โดยใน ประเทศไทยสามารถขอข้อมูลได้จาก กรมอุตุนิยมวิทยา
  • 24. เกณฑ์การรายงานพยากรณ์อากาศ เกณฑ์ที่ใช้ในการพยากรณ์อากาศ เกณฑ์อากาศร้อน ใช้อุณหภมูิสูงสุดประจา วันและใช้เฉพาะในฤดูร้อน เกณฑ์อากาศหนาว ใช้อุณหภูมิต่า สุดประจา วันและใช้เฉพาะในฤดูหนาว
  • 26. เกณฑ์จานวนเมฆในท้องฟ้า พิจารณาจา นวนเมฆในท้องฟ้า โดยแบ่งท้องฟ้าออกเป็น 10 ส่วน เกณฑ์สถานะของทะเล พิจารณาจากความสูงของคลื่น
  • 27. เกณฑ์ความเร็วลมพื้นผิว พิจารณาถึงความเร็วของลมบริเวณพื้นผิวแต่ละพื้นที่ พายุฝนฟ้าคะนอง พิจารณาถึงความรุนแรงของพายุ พายุหมุนเขตร้อน พิจารณาถึงความเร็วลม
  • 28. ร่องมรสุม • เป็นโซนหรือร่องแคบๆ ที่ลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือของซีกโลกเหนือ กับลมค้า ตะวันตกเฉียงใต้ของซีกโลกใต้มาบรรจบกัน มีลักษณะเป็นแนวพาดขวางใน ทิศตะวันออก-ตะวันตก • เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่า มีกระแสอากาศไหลขึ้น-ลงสลับกัน โดยอยู่ ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีการเลื่อนขึ้น-ลงตามแนวโคจรของดวงอาทิตย์ • เป็นบริเวณที่มีเมฆมากและฝนตกอย่างหนาแน่น เปรียบเทียบแนวพาดผ่านของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ซ้าย) และลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้(ขวา)
  • 29. ลมพัดสอบ เป็นการเบียดตัวเข้าหากันของลม 2 ฝ่ายบริเวณใกล้พื้นโลก ทา ให้อากาศ บริเวณแนวเบียดตัวลอยขึ้นด้านบน ซึ่งเป็นบริเวณที่มักมีเมฆฝนเกิดขึ้น ฟ้าหลัว เป็นลักษณะของอากาศที่ประกอบด้วยอนุภาคเกลือจากทะเลหรือมหาสมุทร หรืออนุภาคควันไฟหรือฝุ่นละออง ทา ให้มองเห็นอากาศเป็นฝ้าขาว โดยฟ้าหลัวจะทา ให้ ทัศนวิสัยในการมองเห็นลดลง
  • 30. บริเวณความกดอากาศสูง หรือ แอนติ-ไซโคลน เป็นบริเวณที่มีความกดอากาศ สูงกว่าบริเวณข้างเคียง มีท้องฟ้าแจ่มใสและอากาศหนาวเย็น กระแสลมจะพัดเวยีน ออกจากศูนย์กลางในทิศทางตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และทวนเข็มนาฬิกาใน ซีกโลกใต้ แผนที่อากาศแสดงบริเวณที่มี ความกดอากาศสูงและความกดอากาศต่า บริเวณความกดอากาศต่า เป็นบริเวณที่มี ความกดอากาศลดลงจากขอบนอกเข้าสู่ ศูนย์กลาง มีเมฆมากและมีฝนตก กระแสลม จะพัดเข้าหาศูนย์กลางในทิศทางทวนเข็ม นาฬิกาในซีกโลกเหนือ และตามเข็มนาฬิกา ในซีกโลกใต้
  • 31. • แผนที่แสดงลักษณะลมฟ้าอากาศของสถานที่ แห่งหนึ่งในระยะเวลาหนึ่งที่ผ่านมา • ลักษณะอากาศพื้นผิวที่ปรากฏบนแผนที่อากาศ จะได้รับการตรวจวัดโดย สถานีตรวจอากาศ • นอกจากนี้ยังมีการรวบรวมข้อมูล สภาพอากาศเบื้องบนโดยใช้ดาวเทียม อุตุนิยมวิทยา ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจาก แหล่งต่างๆ ได้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหน้าที่จะ นามาเขียนลงบนแผนที่อากาศโดยใช้ สัญลักษณ์และตัวเลขตามตา แหน่งต่างๆ ที่กา หนดไว้ บอลลูนตรวจอากาศใช้ตรวจสอบ และเก็บข้อมูลสภาพอากาศเบื้องบน แผนที่อากาศ
  • 33. ทิศทางลม ให้ดูจากทิศทางของเส้นในสัญลักษณ์ เช่น หมายถึง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็วลม 1-5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หมายเหตุ หมายถึง ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ความเร็วลม 12-19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แทน จา นวนเมฆในท้องฟ้า แทน ทิศทางลม แทน ความเร็วลม
  • 34. ปริมาณเมฆในท้องฟ้า ใช้สัญลักษณ์ดังตาราง ต่อไปนี้ อุณหภูมิของอากาศ ใช้ตัวเลขที่แสดงค่าอุณหภูมิที่วัดได้ โดยเขียนไว้ด้านบนของ วงกลม
  • 35. ความกดอากาศและหย่อมความกดอากาศ แสดงด้วยเส้นที่ลากผ่านจุดที่มี ความกดอากาศเท่ากัน เรียกว่า เส้นไอโซบาร์ และกา หนดให้ H แทน หย่อมความกดอากาศสูง L แทน หย่อมความกดอากาศต่า เส้นไอโซบาร์และหย่อมความกดอากาศสูง-ต่า
  • 37. ประโยชน์ของการพยากรณ์อากาศ ด้านการคมนาคม เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยต่อการคมนาคมทั้ง ทางบก ทางน้า และทางอากาศ ด้านการเกษตร เพื่อเป็นข้อมูล ให้ทราบถึงสภาพลมฟ้าอากาศ ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อการวางแผนทางการเกษตร
  • 39. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก ปัจจัยทางธรรมชาติ • ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา เอลนีโญ เป็นปรากฏการณ์ที่ ผิวน้า ทะเลทางด้านตะวันออก ของมหาสมุทรแปซิฟิก เขตร้อนอุ่นขึ้นกว่าปกติ และแผ่ขยายออกไปถึง กลางมหาสมุทรแปซิฟิกแถบ ศูนย์สูตร แต่ถ้าผิวน้า บริเวณนี้ เย็นลง จะเรียกว่า ลานีญา ซึ่ง เกิดขึ้นสลับกันไปมา เส้นทางกระแสน้า อุ่นและน้า เนน
  • 40. ตัวอย่างผลกระทบจากปรากฏการ์เอลนีโญในปี พ.ศ. 2540 • ในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤศจิกายน อากาศของแต่ละภูมิภาคมีอุณหภูมิที่สูงขึ้นกว่าปกติ เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลให้เกิดไฟป่าได้ง่าย • เกิดฝนตกหนักและน้า ท่วมในประเทศต่างๆ แถบมหาสมุทรอินเดีย แอฟริกาตะวันออก และอเมริกาใต้ • สา หรับประเทศไทยมีผลทา ให้ปริมาณฝนลดน้อยลง และอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้นกว่าปกติ ไฟป่าในอินโดนีเซีย น้า ท่วมในบังคลาเทศ
  • 41. • การปะทุของภูเขาไฟ เกิดการพ่นแก๊สและเถ้าถ่านที่มีขนาดเล็กๆ จา นวนมหาศาล ขึ้นไปสู่บรรยากาศ ทา ให้เกิดการขวางกั้นรังสีจากดวงอาทิตย์ที่แผ่ลงมายังพื้น ผิวโลก ส่งผลให้อุณหภูมิของอากาศลดต่า ลง อากาศจึงหนาวเย็นผิดปกติในช่วง ฤดูหนาว
  • 42. • การเปลี่ยนแปลงแนววงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ วงโคจรของโลกรอบ ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนแปลงในรอบประมาณ 1 แสนปี โดยวงโคจรจะยาวและรี มากขึ้น จึงทา ให้ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับเปลี่ยนแปลงไป อุณหภูมิ ของโลกจะแตกต่างจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แทน วงโคจรในปัจจุบัน แทน วงโคจรในอีก 1 แสนปี
  • 43. การกระทาของมนุษย์ มนุษย์เป็นตัวการปล่อยแก๊สเรือนกระจก ซึ่งทา ให้เกิด ปรากฏการณ์เรือนกระจก ส่งผลให้อุณหภูมิของโลกเปลี่ยนแปลง โดยแก๊ส เรือนกระจก มีดังนี้ • แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีสาเหตุมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ ซึ่งที่ใช้ กันมาก ได้แก่ น้า มัน ถ่านหิน และแก๊สธรรมชาติ นอกจากนี้การตัดไม้ทา ลายป่า ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของการเพิ่มปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
  • 44. • แก๊สมีเทน เกิดจากการปลูกข้าวแบบน้า ท่วมขัง การขับถ่ายของสัตว์พวกเคี้ยวเอื้อง และบางส่วน มาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่ง แก๊สมีเทนสามารถดูดกลืนความร้อนได้ มากกว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 25 เท่า • แก๊สซีเอฟซี เป็นสารประกอบคลอโรฟลูออโร- คาร์บอนที่มีอยู่ในเครื่องปรับอากาศ สเปรย์ ตู้เย็น และน้า ยาดับเพลิง เป็นตัวการทา ให้เกิด รูโหว่ของโอโซนในชั้นบรรยากาศ และดูดกลืน รังสีอินฟาเรดไม่ให้ออกสู่ภายนอกบรรยากาศ เป็นผลให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
  • 45. • แก๊สไนตรัสออกไซด์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตเส้นใยไนลอน สารเคมี และ พลาสติก เป็นตัวการในการปล่อยแก๊สไนตรัสออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ รวมทั้ง การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในการเกษตรก็เป็นการเพิ่มปริมาณของแก๊สไนตรัสออกไซด์ ซึ่งเป็นผลให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
  • 46. ภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะที่บรรยากาศของโลกมีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงขึ้น ซึ่งมี ผลกระทบต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ โดยปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน มีดังนี้ ปรากฏการณ์เรือนกระจก เป็นปรากฏการณ์ที่โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่ จะสะท้อนกลับออกไปนั้นถูกดูดกลืนไว้ โดยแก๊สเรือนกระจกที่อยู่ในบรรยากาศ และถูกปล่อยกลับมายังผิวโลก จึงทา ให้ อุณหภูมิที่ผิวโลกสูงขึ้น
  • 47. รูโหว่โอโซน กิจกรรมบางอย่างของมนุษย์มีการปล่อย สารเคมีบางชนิดที่ไปทา ลายชั้นโอโซนของ โลกให้เสียหาย โดยเฉพาะแก๊สคลอโร- ฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) สามารถทา ลาย ชั้นโอโซนจนเกิดเป็นช่องโหว่ได้ เรียกว่า รูโหว่โอโซน ทา ให้พื้นที่บริเวณนั้นได้รับรังสี อัลตราไวโอเลตในความเข้มสูง ส่งผล กระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม เช่น ทา ให้เกิดมะเร็งผิวหนัง เกิดต้อกระจก ทา ลายแพลงก์ตอนที่เป็นอาหารของสัตว์น้า และทา ให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
  • 49. เกิดปัญหาฝนแล้ง ไฟป่า ชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะ ระดับน้า ทะเลสูงขึ้น เนื่องจากธารน้า แข็ง ที่ขั้วโลกละลายเร็วขึ้นกว่าปกติ
  • 50. ทา ให้เกิดโรคระบาด โดยอุณหภูมิที่สูง ทา ให้การฟักตัวของแมลงบางชนิดที่เป็น พาหะของโรคเพิ่มจา นวนขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย พืชและสัตว์สูญพันธุ์ เช่น หมีขั้วโลกมี โอกาสสูญพันธุ์สูงมาก เนื่องจากขาดแหล่ง ที่อยู่อาศัย เพราะธารน้า แข็งขั้วโลกละลายไป
  • 52. ฝนกรด สาเหตุที่ทาให้เกิดฝนกรด เกิดจากฝนตกลงมาแล้วทา ปฏิกิริยากับแก๊สต่างๆ ที่ถูกปล่อยออกมาจากรถยนต์และ โรงงานต่างๆ • แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) เกิดจากอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ • แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) เกิดจากอุตสาหกรรมผลิตกรดดินประสิว อุตสาหกรรมผลิตปุ๋ย และอุตสาหกรรมผลิตวัตถุระเบิด เมื่อแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สไนโตรเจนออกไซด์ทา ปฏิกิริยากับไอน้า ในอากาศ ทา ให้เกิดกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริก ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดฝนกรด
  • 53. ผลกระทบจากฝนกรด • ผลกระทบต่อดิน ฝนกรดจะพัดพา สารอาหารในดินที่จาเป็นต่อการ เจริญเติบโตของต้นไม้ไป และละลาย สารพิษในดินลงสู่แหล่งน้า • ผลกระทบต่อแหล่งน้า ฝนกรดทา ให้ ค่า pH ในแหล่งน้า ลดลง ความสามารถ ในการละลายออกซิเจนในน้า ลดลง ทา ให้สิ่งมีชีวิตในน้า ขาดอากาศหายใจ
  • 54. • ผลกระทบต่อต้นไม้ โดยฝนกรดจะ กัดกร่อนใบพืชจนเกิดรูโหว่ ทา ให้ พืชสังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้ • ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง โดยฝนกรด จะกัดกร่อนวัสดุและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ให้สึกกร่อนได้
  • 55. ฝนกรดกับสภาวะแวดล้อม ฝนกรดสามารถช่วยลดปัญหาโลกร้อนได้ โดยซัลเฟตที่ละลายอยู่ในบรรยากาศ สามารถสะท้อนแสงอาทิตย์ออกไปจากโลกได้ ทา ให้ความร้อนของโลกเพิ่มขึ้นช้าลง การป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนกรด ทา ได้โดยการลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล การประหยัดพลังงาน การใช้บริการ ขนส่งมวลชน เป็นต้น
  • 56. สรุปทบทวนประจาหน่วยการเรียนรู้ที่8 • เมฆ คือ กลุ่มของหยดน้า ขนาดเล็กจา นวนมากที่มารวมตัวกันอยู่ได้เนื่องจากมีอากาศอุ้มไว้ ซึ่งยังไม่ตกลงมาสู่พื้นโลก • ฝนเกิดจากหยดน้า ขนาดเล็กในก้อนเมฆรวมตัวกันเป็นหยดน้า ขนาดใหญ่ขึ้นจนอากาศ อุ้มไว้ไม่ได้ จึงตกลงมาเป็นฝนสู่พื้นผิวโลก • ลม คือ อากาศที่เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (อากาศเย็น) ไปยังบริเวณ ที่มีความกดอากาศต่า (อากาศร้อน) • การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศรวมทั้งปรากฏการณ์ ธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า • ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก มีทั้งปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา การปะทุของภูเขาไฟ เป็นต้น และเกิดจาก การกระทา ของมนุษย์ ได้แก่ การปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกสู่บรรยากาศ • ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะที่บรรยากาศของโลกมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงขึ้น โดยส่วนใหญ่เกิดจากการ กระทา ของมนุษย์ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม