SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
การบริหารจัดการความเสี่ยง
สาหรับน้องๆหน้างาน
นายสุรเดช ศรีอังกูร
เลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง โรงพยาบาลท่าฉาง
ณ โรงพยาบาลท่าฉาง 5 มกราคม 2559
สิ่งที่เราจะมาร่วมแลกเปลี่ยนกัน
ความหมายของคาว่า “ความเสี่ยง”
แนวคิด การบริหารจัดการความเสี่ยง
 การค้นหา
 การประเมิน
 การแก้ไข
 การประเมินผล
ประโยชน์ของการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในองค์กร
ทาไมต้อง….บริหารความเสี่ยง
เพราะความเสี่ยงทาให้ผู้ป่วย ผู้ให้บริการ โรงพยาบาลและ
ชุมชนของเราปลอดภัยเมื่อเรานามาพัฒนา และปรับปรุง
เพราะความเสี่ยงนั้นทาให้งานเรา ตัวของเราได้พัฒนาขึ้น
เพราะความเสี่ยงนั้นทาให้เราได้ชื่อว่าเรารับผิดชอบต่อ
หน้าที่ของเราในการสร้างความปลอดภัยขึ้นในองค์กร
เพราะความเสี่ยงนั้นทาให้ครอบครัวของเรา คุณพ่อ คุณแม่
พี่น้องของเรา ฯ ปลอดภัยเมื่อมารับบริการในองค์กรของเรา
ฯลฯ
เพราะความต้องการของผู้รับบริการ
43% ประสิทธิภาพการให้บริการ
30% สามารถเข้าถึงในการเข้ารับบริการ
27% ความพึงพอใจในการให้บริการ
64% ดูแลด้วยหัวใจว่าคือมนุษย์คนหนึ่ง
18% การดูแลอย่างเหมาะสม
20% การให้บริการที่ทันเวลา
31% ความสามารถในการให้บริการ
93% ความปลอดภัยในการให้บริการ
15% มีการดูแลอย่างต่อเนื่อง
7% มีการดูแลอย่างทั่วถึง
21% มีการดูแลอย่างเท่าเทียมกัน
18% มีความคุ้มค่า
เพราะแนวคิดพื้นฐานของ Hospital Accreditation (HA)
กระบวนการ
เรียนรู้การประเมินตนเอง
การพัฒนาตนเอง
การประเมินจากภายนอก
(เยี่ยมสารวจ)
การรับรองคุณภาพ
คุณภาพและ ความปลอดภัย
ค่านิยมและแนวคิดหลัก
-HA เป็นกระบวนการเรียนรู้
-มุ่งเน้นผู้ป่ วยและสุขภาพ
-พัฒนาต่อเนื่อง
เราต้องเข้าใจว่าการพัฒนาคุณภาพ HA
เป้ าหมายหลักอยู่ที่คุณภาพ และความปลอดภัย
โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้มิใช่ทาเพื่อการขอการรับรอง
เพราะเมื่อเราคิดแบบนี้จะเกิดความยั่งยืน ต่อเนื่อง
6
เพราะความเสี่ยงคือการเชื่อมโยงข้อมูลกัน
เราต้องเข้าใจว่าเราไม่สามารถทางาน
เพียงหน่วยงานเดียวหรือคนเดียวได้
แต่ทุกอย่างต้องเชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน
ความเสี่ยงก็เช่นเดียวกันเมื่อเกิดขึ้น
ในหน่วยงานแน่นอนย่อมส่งผลกระทบ
ทั้งหน่วยงานเราเอง ระบบงาน
กลุ่มผู้ป่วย จนถึงองค์กร ดังนั้น
เมื่อเกิดความเสี่ยงขึ้นจึงต้องกาหนด
มาตรการในการป้ องกันเพื่อให้เกิดการ
แก้ไข ป้ องกัน และพัฒนาในที่สุด
และเราคงไม่อยากมีความรู้สึกแบบนี้ !
ที่ผู้ป่วย/ผู้รับบริการไม่ไว้เนื้อเชื่อใจ/กลัวการให้บริการ
ดังนั้น
เรามาร่วมมือบริหารความเสี่ยงกันเถอะ
ระบบใดบ้าง ที่เกี่ยวข้องกับบริหารจัดการความเสี่ยง
อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม, เครื่องมือแพทย์
แพทย์แผนไทย
การป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้ าระวังโรคและภัยสุขภาพ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ระบบยา
ระบบสารสนเทศ เวชระเบียน
การพัฒนาบุคลากร,พัสดุ,สารบรรณ,การเงิน,บัญชี
ข้อร้องเรียน
กระบวนการการดูแลผู้ป่วย
การกากับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพ เช่น แพทย์ , พยาบาล ,งานเวชปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด
ห้องปฏิบัติการชันสูตร ,รังสีวิทยา, กายภาพบาบัด , ทันตกรรมเป็นต้น
เราจะช่วยได้อย่างไร…?
ช่วยกันบริหารจัดการความเสี่ยงในหน่วยงาน
จัดการและแก้ไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า
ช่วยกันรายงานความเสี่ยงที่เกิดขึ้นให้ RM ทราบ
ทบทวนและกาหนดความเสี่ยงที่สาคัญของหน่วยงาน
ช่วยกันแก้ไขและกาหนดมาตรการในการป้ องกันในหน่วยงาน
จัดทาบัญชีความเสี่ยงในหน่วยงานเพื่อใช้ในการเฝ้ าระวัง
ทบทวนและเฝ้ าระวังมาตรการป้ องกันความเสี่ยงที่หน่วยงานวางไว้ตาม
บัญชีความเสี่ยง
ความเสี่ยงคืออะไร
ความเสี่ยงคือ
“ โอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์
คืออันตรายหรือการบาดเจ็บต่อร่างกายและจิตใจ, เหตุร้าย,
ภาวะคุกคาม, ความไม่แน่นอน, การเปิ ดเผยร่างกาย และอื่นๆ
ต่อผู้ป่วย เจ้าหน้าที หน่วยงาน องค์กร และชุมชน
นี่คือความเสี่ยง
การคัดแยกขยะไม่ถูกต้อง
การส่งบัตรผิด ชื่อผิด
ไฟฟ้ าช๊อต ไฟฟ้ าดับ
ให้ยาผิด ให้ยาเกิน/ขาด
เครื่องชารุด/ไม่พร้อมใช้ในขณะดูแลผู้ป่วย
ระบบHos XP ใช้งานไม่ได้
ผู้ป่วยที่เสียชีวิตโดยไม่คาดหมาย
การไม่เขียน Scale น้าเกลือ
ข้อร้องเรียนของผู้ป่วยที่บอกเรา
มีของหมดอายุในพื้นที่การทางาน
พัสดุเบิกไม่ได้/ไม่พอใช้งาน
ส่งข้อมูลทางการเงินไม่ครบ
การบันทึกข้อมูลในระบบเวชระเบียนไม่ครบ/ไม่ได้บันทึก
ส่งซ่อมเครื่องมือแล้วไม่เป็นไปตามนัด
ถอนฟันผิดซี่ผิดข้าง
ฯลฯ
ดังนั้นอะไรก็ตามที่ปฏิบัติแล้วไม่เป็นไปตาม
ที่ตกลงไว้ ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ขั้นตอนการ
ทางานยังมีจุดอ่อน หรือสิ่งที่ปฏิบัตินั้น
ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย/ผู้ให้บริการ
หรือเกิดความเสียหายแก่หน่วยงาน/องค์กร
/ชุมชน หรือไม่พร้อมใช้ ไม่พอ ในเครื่องมือ
วัสดุอุปกรณ์ต่างๆหรือสิ่งแวดล้อมไม่สวยงาม
หรือ มีโอกาสที่จะเกิดสิ่งเหล่านี้
แนวคิดการบริหารจัดการความเสี่ยง
แนวคิดเน้น การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงที่วิธีการทางาน
มากกว่าหรือไม่ลงโทษที่ตัวบุคคล เมื่อเกิดความเสี่ยงขึ้น
แนวคิดว่าเมื่อเกิดความเสี่ยงแล้ว ต้องมองให้เห็น
ภาพรวม และเกิดการเชื่อมโยงกันในองค์กรของความ
เสี่ยงที่เกิดขึ้น
ด้วยแนวคิดว่า เราจะทบทวน/พัฒนากันอย่างไม่มีอคติ
คือมุ่งที่จะแก้ไขที่ระบบว่ามีจุดอ่อนที่ใด ไม่มองที่บุคคล
การมอง/การค้นหา/ทบทวนอย่างไม่มีอคติ
การจัดการความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใคร
“เป็นหน้าที่ของเราทุกๆคน”
หน่วยงาน
RM
ทีมนาเฉพาะ
ด้านต่างๆ
องค์กร
การบริหารจัดการความเสี่ยง
การจัดการกับความเสี่ยงให้เป็น
RCA,FMEA,HFE
หลีกเลี่ยง ป้ องกัน ถ่ายโอน แบ่งแยก ลดความสูญเสีย ชดเชย
การประเมินความเสี่ยงให้เป็น
ระดับความรุนแรง ,ลาดับความสาคัญ (Risk matrix)
การค้นหา/รายงานความเสี่ยงให้เป็น
อดีต ปัจจุบัน อนาคต
การกาหนดบริบทเช่น โปรแกรม,รายชื่อความเสี่ยง,ระดับความรุนแรง
,แนวทางการรายงาน ,แนวทางกาจัดการ,การประเมินผล,ตัวชี้วัด
การติดตามการประเมินการพัฒนา
การประสานการสื่อสารการให้คาปรึกษา
ง่ายๆกับ การบริหารจัดการความเสี่ยงสาหรับผู้ปฏิบัติ
ค้นหาให้เป็น/รายงานให้เป็น
ประเมินความรุนแรงให้เป็น
จัดการความเสี่ยงให้เป็น
ประเมินผลการบริหารจัดการร่วมกับหัวหน้า
ในการพัฒนาการบริหารความเสี่ยงและ
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในหน่วยงาน
1. ค้นหาให้เป็น/รายงานให้เป็น
การค้นหา/รายงานคือ หัวใจการบริหารความเสี่ยง
“ ดังนั้นพบเจอ ความเสี่ยง ต้องช่วยกันรายงาน ”
การค้นหาความเสี่ยง
การค้นหาความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง มี 2 ลักษณะคือ
1. แบบเชิงรุก
 การเยี่ยมสารวจจาก IC,RM,ENV
 เหตุการณ์รุนแรงจากโรงพยาบาลอื่น
 การเยี่ยมสารวจจากภายนอก และอื่นๆ
 12 กิจกรรมทบทวน
2. แบบเชิงรับ
 การรายงานอุบัติการณ์
 ข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการ/เจ้าหน้าที่
องค์ประกอบของ 12 กิจกรรมทบทวน
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย/ข้างเตียงผู้ป่วย
การทบทวนความคิดเห็น/ข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ
การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา
การทบทวนโดยผู้ชานาญกว่า
การค้นหา/ป้ องกันความเสี่ยง
การทบทวนเหตุการณ์สาคัญ
การทบทวนการป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ
การทบทวนการใช้ยา
การทบทวนเวชระเบียน
การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ
การทบทวนการใช้ทรัพยากร
การทบทวนตัวชี้วัด
การทบทวน 12 กิจกรรมนั้น
จานวนหัวข้อที่ใช้ในการทบทวน
จะแตกต่างกัน ในกลุ่มที่ต้องดูแล
ผู้ป่วยเช่นกลุ่มการพยาบาลต้อง
ทบทวนทั้ง 12 กิจกรรม
แต่ในส่วนฝ่ายสนับสนุน เช่น
Lab ,X – ray หรือฝ่ายบริหาร
อาจทบทวนในกิจกรรมที่เป็น
ตัวสีแดง เท่านั้น เป็นต้น
หน้าตาของความเสี่ยงที่
เราควรรู้จัก
โปรแกรมความเสี่ยง
ความเสี่ยงทางคลินิก
• ทางคลินิกบริการ : คือความเสี่ยงในกระบวนการการดูแลผู้ป่วย และ
ความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค
• ระบบยา : คือความเสี่ยงในเรื่องของยา การสั่ง การจ่าย การให้
• ห้องชันสูตร : คือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับห้อง Lab เช่น การส่งสิ่งส่ง
ตรวจ, การเก็บสิ่งส่งตรวจ เป็นต้น
• ห้อง X-ray : คือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับแผนก X-ray เช่นการถ่าย
ฟิ ล์ม X-ray ,การเตรียมผู้ป่วยเป็นต้น
• การป้ องกัน/ควบคุมการติดเชื้อ : คือความเสี่ยงในเรื่องการควบคุม
และป้ องกันการติดเชื้อ และการจัดการขยะ
รวมทั้งความเสี่ยงของแผนกทันตกรรม และกายภาพบาบัด
• โครงสร้างกายภาพ/สิ่งแวดล้อม : ความเสี่ยงของสิ่งแวดล้อม
ต่างๆ อาคาร ไฟฟ้ า น้าประปา สัญญาณการจราจร เป็นต้น
• ความปลอดภัยในชีวิต/ทรัพย์สิน : ความเสี่ยงในเรื่องทรัพย์สิน
เงินทอง การนาส่งเอกสาร การทาร้ายร่างกาย
• เครื่องมืออุปกรณ์ : การจัดเก็บ การบารุงรักษา การเตรียมความ
พร้อมใช้ ความพอเพียง
• ข้อร้องเรียน : คือการฟ้ องของผู้รับบริการทั้งวาจา และอักษร
• สิทธิผู้ป่วย : คือความเสี่ยงสิทธิของผู้ป่วยในด้านต่างๆเช่นการ
รอรับบริการ สิทธิในการรักษาต่างๆ
• อาชีวอนามัยและความปลอดภัย : ความเสี่ยงความปลอดภัยใน
การทางานของเจ้าหน้าที่
ความเสี่ยงทางกายภาพ
การรายงานความเสี่ยง
1. การรายงานผ่านโปรแกรมความเสี่ยง
2. การรายงานผ่านการบันทึกในกระดาษ
ใบรายงานความเสี่ยง
จดหมายน้อย (ใบรายงานฉบับเล็ก)
สมุดบันทึก
แบบฟอร์มในการขีดเท่ากับจานวนที่เกิด
กล่องรับเรื่องราวความเสี่ยงตามจุดต่างๆ
สร้างช่องทางให้หลากหลาย เพื่อให้ง่ายต่อการรายงาน
การรายงานแบบกระดาษ
ความเสี่ยงที่เรารายงาน
ความเสี่ยงที่แฝงอยู่
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
สถานการณ์ปัจจุบัน
ในสถานการณ์ปัจจุบัน
การรายงานความเสี่ยง
ยังมีปริมาณน้อยเปรียบเหมือน
ปลายยอดของน้าแข็งที่โผล่ขึ้น
มา แต่สิ่งที่อยู่ข้างล่างยังมีอีก
มากมาย เราจึงต้องช่วยกัน
ค้นหา รายงานความเสี่ยง
2. ประเมินความรุนแรงให้เป็น
การประเมินความรุนแรงของของความเสี่ยงที่เกิดขึ้น มี
วัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อจัดลาดับความสาคัญของความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เพื่อนาไปสู่การ
แก้ไขและกาหนดมาตรการในการป้ องกัน
2. เพื่อให้จัดการกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม เช่น การหา
สาเหตุของปัญหาที่แท้จริง (RCA) ในความเสี่ยงที่มีความรุนแรง
สูงๆ
3. เพื่อกาหนดแผนในการพัฒนาหน่วยงาน และองค์กรของเราต่อไป
เหตุผลของการประเมินเพื่อจัดลาดับ
ความสาคัญของการแก้ไข/ป้ องกันความ
เสี่ยงอย่างเหมาะสมและพัฒนาต่อไป
A: เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยง
B:เกิดความเสี่ยงขึ้นแต่ยังไม่ถึงผู้รับบริการ/บุคลากร
C: เกิดความเสี่ยง แต่ไม่เกิดอันตราย
D:เกิดความเสี่ยงขึ้น ส่งผลให้มีการเฝ้ าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตราย
E: เกิดความเสี่ยง ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องมีการบาบัด
F: เกิดความเสี่ยง ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องนอนโรงพยาบาล
นานขึ้น
G: เกิดความเสี่ยงส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย
H: เกิดความเสี่ยง ส่งผลให้ต้องทาการช่วยชีวิต
I: เกิดความเสี่ยงขึ้นกับผู้ป่วย อาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
ความเสี่ยงทางคลินิก (Clinical Risk)
ความรุนแรงทางคลินิก
A : เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยง
B : เกิดความเสี่ยงขึ้นแต่ยังไม่ถึงผู้รับบริการ/บุคลากร
C : เกิดความเสี่ยง แต่ไม่เกิดอันตราย
D : เกิดความเสี่ยงขึ้น ส่งผลให้มีการเฝ้ าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตราย
E : เกิดความเสี่ยง ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องมีการบาบัด
F : เกิดความเสี่ยง ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว และต้องนอนโรงพยาบาล
นานขึ้น
G : เกิดความเสี่ยงส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย
H : เกิดความเสี่ยง ส่งผลให้ต้องทาการช่วยชีวิต
I : เกิดความเสี่ยงขึ้นกับผู้ป่วย อาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
ตัวอย่างการประเมินความรุนแรงทางคลินิก
การจ่ายยา Penicillin
A : ตรวจประวัติผู้ป่วยพบแพ้ Penicillin เฝ้ าระวัง/กาหนดมาตรการป้ องกันการแพ้
ยาซ้า
B : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ แต่พยาบาลดักจับได้ก่อน
C : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ ถึงตัวผู้ป่วยแล้ว แต่พยาบาลทราบก่อน
D : จ่ายยา Penicillin ผิดเตียง โดยจ่ายให้เตียงอื่น
E : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับ จนต้องให้ยาแก้แพ้
F : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับ จนต้องให้ยาแก้แพ้และผู้ป่วย
นอนนานขึ้น
G : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับ จนทาให้เกิด Steven Johnson
Syndrome และเกิดตาบอด
H : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับจนเกิดการแพ้ หยุดหายใจ และมี
การช่วยชีวิต
I : จ่ายยา Penicillin ที่ผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับจนเกิดการแพ้ หยุดหายใจ และ
เสียชีวิต
ตัวอย่างความรุนแรงทางกายภาพ
1: มีโอกาสเกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหายไม่เกิน 10,000
บาท/ ยังไม่มีผลกระทบต่อผลสาเร็จหรือวัตถุประสงค์ของการ
ดาเนินงาน
2 : เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหาย 10,001 - 50,000 บาท/
มีผลกระทบ (ที่ควบคุมได้) ต่อผลสาเร็จหรือวัตถุประสงค์ของ
การดาเนินงาน
3 : เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหาย 50,001 - 250,000 บาท/
เกิดผลกระทบปานกลาง (ที่ต้องทาการแก้ไข) ต่อผลสาเร็จหรือ
วัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน
4 : เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหาย 250,001 –
10,000,000 บาท/ มีผลกระทบสูง ทาให้การดาเนินงานไม่
ประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
5 : เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหายมากกว่า 10
ล้านบาท/ มีผลกระทบสูงมาก ทาให้ภารกิจขององค์กร
เสียหายอย่างร้ายแรง
ตัวอย่างความรุนแรงทางกายภาพ
ปลั๊กไฟชารุดที่เสี่ยงทาให้เกิดไฟฟ้ าช๊อต
ปลั๊กไฟชารุดที่เสี่ยงทาให้เกิดไฟฟ้ าช๊อต
1 : เดิน Round ENV พบปลั๊กไฟชารุด
2 : ปลั๊กไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์เสีย
3 : ปลั๊กไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทาให้ Server ของโรงพยาบาลเสีย
4 : ปลั๊กไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทาให้เกิดเพลิงไหม้ในห้อง Server
5 : ปลั๊กไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทาให้เกิดเพลิงไหม้ในห้อง Server และ
ลุกลามไหม้ตึกอานวยการ
ตัวอย่างการประเมินความรุนแรงทางคลินิก
ลาดับการจัดการ ความรุนแรง ความถี่
A 1
น้อย มากB
C 2
ปานกลางD
E 3 ปานกลาง
F
G 4
มาก น้อยH
I
ลาดับ
1
ลาดับ
2
ลาดับ
3
ลาดับ
4
ลาดับความสาคัญในการจัดการ
เปรียบเหมือนเราอยู่ในกรงที่มีสิงโต และแมว ถ้าจาเป็นเราฆ่า
ตัวไหนก่อน แน่นอนต้องฆ่าสิงโตก่อน เพราะสิงโตอาจทาร้าย
เราได้ความเสี่ยงก็เหมือนกันต้องจัดการที่รุนแรงมากกว่าก่อน
รุนแรง ไม่รุนแรง
Sentinel Event
ทางคลินิก ทางกายภาพ
1. การส่งมอบเด็กผิดคน 1. อัคคีภัย
2. ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย/พยายามฆ่าตัวตาย 2. น้าท่วมรุนแรงในโรงพยาบาล
3. เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ
รักษาพยาบาลจนผู้ป่วยเกือบเสียชีวิต/
เสียชีวิต
3. แก๊ส หม้อนึ่ง ถังออกซิเจนระเบิด
4. ผู้ป่วย/ญาติได้รับอุบัติเหตุใน
โรงพยาบาลเกือบเสียชีวิต/เสียชีวิต
4. บุคลากรได้รับอุบัติเหตุอาการสาหัส/
เสียชีวิต
5. เกิดโรคติดต่อร้ายแรง 5. รถโรงพยาบาลเกิดอุบัติเหตุเสียหาย
มาก
6. มีการทาร้ายผู้ป่วย /ญาติ/เจ้าหน้าที่ 6. โจรกรรม
7. ความเสี่ยงต่อการถูกฟ้ องร้อง
สรุป
ให้ความสาคัญกับเหตุการณ์ที่รุนแรงมาก
มีโอกาสเกิดขึ้นบ่อยมากที่สุด
โดยลดหลั่นความรุนแรงกันลงมา
3. จัดการความเสี่ยงให้เป็น
ความเสี่ยงระดับร้ายแรง E,F,G,H,I,3,4
ความเสี่ยงในระดับนี้ให้ถือว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้อย่างยิ่ง
ต้องมีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อให้ความเสี่ยงนั้นลดลงให้
อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
ความเสี่ยงระดับรุนแรงน้อย A,BC,D,1,2
ความเสี่ยงในระดับนี้ให้ถือว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้ แต่ต้อง
มีการจัดการเพิ่มเติม เช่น มีการควบคุมเพิ่มเติม หรือโอนย้าย
หรือแบ่งความเสี่ยงไปให้ผู้อื่นช่วยรับผิดชอบและต้องมีการ
เฝ้ าระวังและวิเคราะห์จานวนที่เกิดขึ้น
เราจะทาอะไรได้บ้าง…?
การจัดการและแก้ไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าคือ
การที่เราแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการเมื่อ
ผู้รับบริการนั้นประสบกับความเสี่ยง นั่นคือแก้ไขเพื่อ
ทุเลาความสูญเสีย/รุนแรงให้น้อยลงจะทาด้วยตนเอง
หรือขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น ก่อนที่เราจะรายงาน
หรือขบคิดว่าอะไรคือสาเหตุของความเสี่ยงนั้น
ร่วมมือกับหัวหน้างานในการหาสาเหตุของปัญหา/การวาง
มาตรการในการป้ องกัน
จัดการและแก้ไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า
ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยงเฉพาะหน้า
เมื่อเราเดินเรือแล้วต้องเจอกับหินโสโครก แน่นอนเราต้อง
ขับเรือให้พ้นจากหินโสโครก มากกว่าที่เราจะห่วงสมบัติที่
อยู่บนเรือ นี่คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ยามที่เราเดินผ่านบนพื้นที่จาเป็นต้องมีสัญลักษณ์ว่า
“ระวังพื้นลื่น” เมื่อเราไม่เห็น เราต้องแจ้งให้ผู้ที่รับผิดชอบทราบ
นี่คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
เมื่อเราเดินในโรงพยาบาลเราพบเศษกระดาษ เศษขยะบนพื้น
เราจะทาอย่างไร สิ่งที่เราต้องทาคือเก็บใส่ถังให้ถูก
นี่คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
การให้เลือดแก่ผู้ป่วยนั้นถ้าให้ผิดหมู่ สิ่งที่เราต้องทาคือ
การหยุดให้เลือดถุงนั้น และแจ้งให้แพทย์ทราบ
นี่คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ในทานองเดียวกัน การให้ยา ถ้าเราให้ยาผิด ยาเกิน
เราต้องหยุดการให้ยาหรือแจ้งให้แพทย์ทราบเพื่อ
หาทางแก้ไข นี่คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
เมื่อเราพบว่าพื้นสกปรก ลื่น ไม่สะอาด
เราต้องแจ้งให้แม่บ้านทราบเพื่อมาทาความสะอาด
นี่คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
สิ่งต่างๆเหล่านี้ทาเพื่อ
ลดความสูญเสียหรือรุนแรง
ดังนั้นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าจึงเป็น
หน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานในหน้างานทุกคน
ที่จะต้องมีทักษะและแนวทางในการปฏิบัติ
ยามเกิดเหตุฉุกเฉิน ซึ้งก็ต้องเป็นหน้าที่
หัวหน้างานในการอบรม ให้ความรู้
ชี้แจง และถ่ายทอดแนวทางต่างๆในการ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แต่ถ้าไม่สามารถแก้ไขได้
ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น
การช่วยหัวหน้าหาสาเหตุของปัญหา….RCA
การร่วมด้วยช่วยกันในการ
ค้นหาสาเหตุที่แท้จริงอย่างสมานฉันท์
แนวคิดง่ายๆของ RCA
การหาสาเหตุของปัญหาคือการหาสาเหตุที่เกิดขึ้น
ในเชิงระบบ หรือขั้นตอนในการทางานที่ทาให้เกิด
ความเสี่ยงขึ้น โดยผู้ปฏิบัติต้องให้ความร่วมมือกับ
หัวหน้างานในการให้ข้อมูลว่าในขั้นตอนในการ
ทางานนั้นเกิดอะไรขึ้น มิใช่ค้นหาว่าใครทา ผู้นั้น
เป็นใคร ถ้าทาอย่างนั้นการจัดการความเสี่ยงก็ทา
อย่างไม่มีความสุข มีแต่ข้อขัดแย้ง และระแวงซึ่ง
กันและกัน
เราจึงทา RCA เพื่ออะไร
หาโอกาสที่จะพัฒนา/ปรับปรุงระบบการ
ทางาน มิใช่หาตัวบุคคลมาจับผิดหรือลงโทษ
ลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ซ้า
เพราะเราทราบแล้วว่าอะไรคือสาเหตุที่แท้จริง
จึงนามาแก้ไขและกาหนดมาตรการการ
ป้ องกัน
แนวคิดการแก้ไขป้ องกัน
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
ตาหนิ,กล่าวโทษ
การลงโทษ
การค้นหาคนผิด
แบบโบราณ
การแก้ไขระบบ
สู่การแก้ปัญหาที่ยั่งยืน
แนวคิด HFE
แบบสมัยใหม่
วัฒนธรรมความปลอดภัย
การสร้างความตระหนัก
หลักคิดสาคัญ HFE (การปรับสภาพแวดล้อมการทางาน)
การเกิดความผิดพลาดของมนุษย์ในการทางาน เป็นสิ่ง
ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของชีวิต ผู้ที่ไม่ทางานคือผู้ไม่เคยทาผิด
วิธีการที่มนุษย์ รับรู้ เรียนรู้ และปฏิบัติ เป็นสิ่งที่สามารถ
ก่อให้เกิดความผิดพลาดได้
เป้ าหมายของ HFE คือการการวิธีที่ทาให้การทางานเอื้อ
ต่อคนทางาน และระบบที่ป้ องกันความผิดพลาด
มากกว่าการที่ทาให้มนุษย์คนหนึ่งเป็น Superman
คือแนวคิดที่มุ่งปรับเปลี่ยนระบบ มิใช่การลงโทษ
ตัวอย่างการปรับสภาพแวดล้อมการทางาน
ปราการความปลอดภัย (Patient safety Goals)
เมื่อเรารายงานความเสี่ยงมามากๆ เรามาดูว่า เราจะนาวิธีการ
ที่เป็นมาตรฐานและสามารถปฏิบัติได้จริงมาใช้เพื่อลดความเสี่ยง
ตามข้อแนะนาของ ปราการความปลอดภัย
ตัวอย่าง Patient Safety Goals
1. Hand Hygiene
2. Medication
• Medication Error
3. Identification : การระบุตัวผู้ป่วย
4. SBAR การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
5 . การป้ องกันผู้ป่วยตกเตียงหรือผลัดตกหกล้ม เป็นต้น
ดังนั้นมาตรการในการป้ องกันระดับ E,F,G,H,I,3,4
การเตรียมคน
การเตรียมอุปกรณ์ / เครื่องมือ / สถานที่
การเตรียมข้อมูล ข่าวสาร คู่มือปฏิบัติงาน
วิธีการปฏิบัติงานที่รัดกุม
และมาตรการในการป้ องกันระดับ A,B,C,D,1,2
กาหนดวิธีการป้ องกันหรือแนวทางเพื่อให้
ยากต่อการกระทาที่ผิดพลาดซ้า หรือ
จัดทาวิธีการปฏิบัติงานเพื่อเป็นแนวทางให้
บุคลากรปฏิบัติ
สิ่งที่เกิดขึ้นจากการจัดการความเสี่ยง
การจัดการความเสี่ยงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. การจัดการเงินชดเชยให้
2. การควบคุมความเสี่ยง
2.1 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
2.2 การผ่องถ่ายความเสี่ยง
2.3 การกาหนดมาตรการป้ องกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
2.4 การลดความสูญเสียโดยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
2.5 การแบ่งแยกความเสี่ยง
คือการที่บุคคลหรือองค์กรยุติการทาหน้าที่
บางอย่างที่มีความเสี่ยงสูง
การที่สูติแพทย์ยุติการทาคลอดเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน
การปิ ดห้องผ่าตัดของโรงพยาบาลชุมชนหรือไม่มีวิสัญญีแพทย์หรือ
วิสัญญีพยาบาล
การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
คือการมอบหมายให้บุคคลหรือองค์กรอื่นมาทา
หน้าที่ที่มีความเสี่ยงแทน
การส่งตัวผู้ป่วยหรือสิ่งส่งตรวจไปตรวจที่หน่วยงานภายนอก
การ Refer ผู้ป่วยของโรงพยาบาลชุมชนไปโรงพยาบาลศูนย์หรือทั่วไป
การจ้างเหมาหน่วยงานภายนอกให้มาทาความสะอาดโรงพยาบาล
การจ้างเหมาให้หน่วยงานภายนอกมาทาการบารุงรักษา สอบเทียบ
เครื่องมือแพทย์
การผ่องถ่ายความเสี่ยง
คือการใช้มาตรการต่างๆเพื่อลดโอกาสที่จะลด
อุบัติเหตุหรือป้ องกันความเสียหาย
การกาหนดมาตรการการขับรถ Refer เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
การฝึกซ้อมแผนอัคคีภัย
การใส่ของมีคมในภาชนะที่เตรียมไว้
การมีระบบบารุงรักษาเครื่องมือแพทย์
การมีวิธีปฏิบัติงานหรือระเบียบปฏิบัติในการทางาน
การให้ฝึกอบรม ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่
การป้ องกันความสี่ยง
การลดความสูญเสีย
เป็นการแก้ไขความเสี่ยงที่เกิดขึ้นตรงหน้าของเรา
เพื่อบรรเทาความรุนแรงของความเสี่ยงให้น้อยลง
1. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
เราสามารถแก้ไขได้เอง
เราไม่สามารถแก้ไขได้เอง
2. การแก้ไขปัญหาความเสี่ยงด้วยมาตรการที่ได้กาหนดไว้แล้ว
3. ข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้น
คือการกระจายความเสี่ยงออกไปในรูปแบบ
ต่างๆหรือการมีระบบสารอง
การมีเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า 2 เครื่อง
การมีเครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง 2 เครื่อง เช่น Defibrillator ,
Infusion pump
การสารองเครื่องมือต่างๆ
การแบ่งแยกความเสี่ยง
การบริหารเงินชดเชย
คือการจ่ายเงินชดเชยเมื่อเกิดความสูญเสียขึ้นแล้ว
อย่างเหมาะสม และไม่กระทบต่อฐานะทางการเงิน
ของโรงพยาบาล ซึ้งอาจจะจ่ายเองหรือให้ประกัน
เป็นผู้ดาเนินการ
ม.41
ระดับความ
รุนแรง
การรายงาน ระยะเวลาการ
นาส่งใบรายงาน
แนวทางการ
จัดการ
ระยะเวลาการ
วางมาตรการ
ป้ องกัน
ระยะเวลาการ
ติดตามผล
A – D
ระดับ 1 - 2
รายงานตามระบบ สามารถนาส่งได้
ทุกวัน
รวบรวมและดู
แนวโน้มว่ามี
ความถี่ที่สูงขึ้น
หรือไม่
ดูแนวโน้มความถี่
2 เดือน
E,F
ระดับ 3
เสี่ยงต่อSentinel
event
รายงานตามระบบ
ภายใน
72 ชั่วโมง
ดาเนินการหา
สาเหตุและวาง
มาตรการป้ องกัน/
แก้ไข
1 สัปดาห์ 1 เดือน
G,H,I
ระดับ 4
Sentinel event
รายงานตามระบบ
ภายใน
24 ชั่วโมง
ดาเนินการหา
RCA
1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
Sentinel event รายงาน
ผู้อานวยการ
โรงพยาบาลหรือ
ผู้แทนทราบทันที
ภายใน
24 ชั่วโมง
ดาเนินการหา
RCA
1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
ตัวอย่างการบริหารจัดการความเสี่ยง
การติดตามและประเมินผล
เป็นการติดตามความสาเร็จและสถานการณ์
รับรู้และค้นหาความเสี่ยงใหม่ๆว่าในหน่วยงานของเรามีความเสี่ยงใหม่ๆ
เพิ่มขึ้นหรือไม่ ถ้าเพิ่มขึ้นแสดงว่าเราค้นหาความเสี่ยงได้ดีขึ้น เพิ่มมากขึ้น
ประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงร่วมกับหัวหน้า
ว่าเราได้ปฏิบัติตามหรือทาตามแนวทางที่เราวางไว้หรือไม่
ช่วยหัวหน้าประเมินประสิทธิผลในการลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้น และ
วิเคราะห์แนวโน้มความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจและเฝ้ าระวัง
ไม่ให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้น หรือความเสี่ยงที่มีความรุนแรงเกิดซ้า
ประโยชน์ของการจัดการความเสี่ยง
ผู้ป่วย/ตัวเรา/องค์กร/ชุมชน ปลอดภัย
หน่วยงาน/องค์กรของเราพัฒนา
เราได้ชื่อว่าเรารับผิดชอบต่อหน้าที่ตนเองในการ
ให้บริการผู้ป่วย
คุณพ่อ คุณแม่ พี่น้อง ของเราปลอดภัยเมื่อมารับบริการที่
โรงพยาบาลของเรา
เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยในหน่วยงาน ในองค์กร
ของเรา
การเกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย
คือการเกิดความปลอดภัย ไม่เกิดความเสี่ยงขึ้น
อีกทั้งมีการบอกเล่า รายงาน มีการพูดคุยความเสี่ยงที่
เกิดขึ้นอย่างสนิทใจ แล้วเราจะทาได้อย่างไร
คุยกันวันละนิดจิตตื่นตัวสู่วัฒนธรรมความปลอดภัย
• การส่งต่อเวร : นี่คืองานประจาที่พี่ๆน้องได้ทากันประจา
โดยเฉพาะพี่ๆน้องพยาบาลที่น่ารัก (ภรรยาตนเองเป็นพยาบาล
ต้องชมหน่อย) เราอาจสอดแทรกความปลอดภัยว่าเตียงนั้น
เตียงนู้นมีสิ่งใดบ้างที่เราต้องระวังในเรื่องความเสี่ยงอะไรบ้าง
เราต้องดูแลกันอย่างไร เพราะถ้าเราส่งต่อๆกัน ความปลอดภัย
ย่อมเกิดกับผู้ป่วยของเรา เพราะเราร่วมด้วยช่วยกันครับ
• สรุปย่อ ข้อปลอดภัย (Safety Brief) : เราอาจนาความเสี่ยง
หรือประเด็นความปลอดภัยที่เกิดขึ้นในเวร จากหน่วยงานอื่นๆ
มาพูดคุยกันในท้ายเวรว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเราทุกคนมีความคิดเห็น
อย่างไร อะไรคือแนวทางที่เราสามารถแก้ไขป้ องกันได้ ถ้าเราทา
แบบนี้อย่างน้อยในหนึ่งวัน เราก็ได้ทบทวน ได้กาหนดมาตรการ
ในการป้ องกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างต่า 3 เรื่อง พอครบเดือน
เราก็มีความเสี่ยงที่เราช่วยกันทบทวน กาหนดมาตรการอย่าง
น้อย 90 เรื่อง น่าคิด น่าคิดนะครับ แต่การพูดคุยต้องพูดคุยกัน
อย่างพี่น้อง เพื่อนร่วมงาน ไม่ตาหนิ ไม่ว่ากัน จุดมุ่งหมายที่ต้อง
ยึดไว้คือ เพื่อความปลอดภัยกับผู้ป่วย
• การคุยกันยามเช้า (Morning Brief) : ผมขอเรียกว่าเสวนายาม
เช้า นั่นคือในช่วงเช้าพี่ๆที่เป็นหัวหน้าหน่วย รองหัวหน้า และผู้มี
ประสบการณ์สูงๆ จะเข้ามาทางานนี่คือโอกาสที่เราจะได้ร่วมพูดคุย
กันในปัญหาระหว่างการทางานในเวรบ่าย เวรเช้าของเมื่อวาน ว่ามี
ปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง น้องที่ทางานมีความรู้สึกอย่างไร มีอะไรให้
พี่ๆช่วยหรือไม่ อีกทั้งอาจนาประเด็นของ Safety Brief ที่ได้พูดคุยมา
สรุปกันอีกครั้งเพื่อให้แนวทางที่พวกเราช่วยกันคิดขึ้นนาสู่การ
ปฏิบัติ เพราะผมเชื่อว่าอย่างน้อยร้อยละ 70 ของเจ้าหน้าที่ใน
หน่วยงานได้มีการพูดคุยกันในยามเช้า นี่คือการประชุมที่ไม่เป็น
ทางการครับ
• การทบทวนข้างเตียง : สิ่งนี้ก็คือหนึ่งใน 12 กิจกรรมทบทวน คือการ
ทบทวนในขณะดูแลผู้ป่วยที่ยึดหลัก C3THER มาใช้ ที่เราทามาตั้งแต่บันได
ขั้นที่ 1 ลืมกันหรือยังครับ ซึ้งการทา 12 กิจกรรมทบทวนนั้นนอกเหนือจาก
การทบทวนข้างเตียง ยังมีการทบทวนอื่นๆอีกเช่น ทบทวนการใช้ทรัพยากร ,
ทบทวนเรื่องยา , ทบทวนการป้ องกัน และควบคุมการติดเชื้อ เป็นต้น ซึ้งการ
ทา 12 กิจกรรมทบทวนนั้น ทาให้เราสามารถทราบความเสี่ยง ทราบปัญหาที่
ผู้ป่วย ตัวเรา หน่วยงานเรา องค์กรเราเผชิญอยู่ได้ทันที และนามาปรับปรุง
แก้ไขได้ทันที เพื่อลดการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ หรือเหตุการณ์ที่มี
ความรุนแรงได้ดี และอีกประการหนึ่งการทา 12 กิจกรรมทบทวน เป็นการ
ทบทวนตนเอง ค้นหาตนเอง พัฒนาตนเอง จึงไม่มีข้อขัดแย้งกับหน่วยงานอื่น
ในการรายงานเป็นความเสี่ยง แต่เราควรทบทวนกันอย่างไม่มีอคติ เพื่อให้
การพัฒนา และปรับปรุงมีความสุข และเกิดผลงาน
• ผู้นาออกหน้า (PS Leadership Walk round) : ผมยังเชื่อเสมอ
และเชื่อตลอดไปว่าผู้นามีส่วนที่สาคัญที่สุดในการให้การพัฒนาคุณภาพ
ไม่ว่าเรื่องใด ให้ดาเนินไปได้อย่างดี และประสบความสาเร็จ เพราะผู้นา
คือผู้ชี้นา ผู้สนับสนุน ผู้ให้ขวัญและกาลังใจแก่บุคคลากรที่ปฏิบัติงาน ผู้
ปฏิบัติไม่ต้องการอะไรมากหรอกครับ สิ่งที่อยากได้คือความเอาใจใส่ของ
ผู้นาในเรื่องของการปฏิบัติงานว่าผู้นาทราบหรือไม่พวกเค้าทางานกัน
อย่างไร มีปัญหาอุปสรรคใดหรือไม่ คน ทรัพยากร เพียงพอต่อการทางาน
หรือไม่ สิ่งเหล่านี้ผู้นาจะทราบได้คือการลงไปดูพื้นที่จริงของการปฏิบัติ
เพราะคาบอกเล่าหรือคาพูดอาจไม่สาคัญเท่าสิ่งที่ได้เห็น ซึ้งเมื่อเห็นแล้วก็
อยู่ดุลพินิจของผู้นาว่าจะดาเนินการอย่างไร แต่อย่างน้อยสุดสิ่งที่เกิดขึ้น
คือผู้ปฏิบัติย่อมรับรู้ว่าผู้นาของเราเอาจริงนะในเรื่อง การพัฒนาคุณภาพ
และความปลอดภัย
เหล่านี้คือการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยอย่างง่ายครับ
ขอบพระคุณทุกๆท่านครับ
www.Facebook.com/Suradet Sriangkoon
ห้องเรียนความเสี่ยง : @Riskroom
suradetsri@gmail.com

More Related Content

What's hot

การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพการประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพSuradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยTui Ka
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and ertaem
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]Viam Manufacturing
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCASuradet Sriangkoon
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพการประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Similar to การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...Suradet Sriangkoon
 
070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptxssuserab8097
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 
From er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetyFrom er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetytaem
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54sciencefaiiz011132
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกtaem
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 
Risk Management in Medical Laboratoy
Risk Management in Medical LaboratoyRisk Management in Medical Laboratoy
Risk Management in Medical LaboratoyTassanee Lerksuthirat
 

Similar to การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon (20)

(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx070618133400 (1).pptx
070618133400 (1).pptx
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
TRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdfTRAUMA SYSTEM.pdf
TRAUMA SYSTEM.pdf
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
From er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetyFrom er to_community_children_safety
From er to_community_children_safety
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัยประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
ประเด็นสำคัญการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
Risk Management in Medical Laboratoy
Risk Management in Medical LaboratoyRisk Management in Medical Laboratoy
Risk Management in Medical Laboratoy
 

More from Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...Suradet Sriangkoon
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon (19)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
Grows model
Grows modelGrows model
Grows model
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
 

การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon