SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
Khon Kaen
University
Innovative
Instructor
R
I
C
T
PedagogyConner
การกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
ทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy) ได้กำหนดพิสัยกำรเรียนรู้ไว้ 3 ด้ำน ได้แก่ ด้ำนพุทธิ
พิสัย ด้ำนจิตพิสัย และด้ำนทักษะพิสัย
โครงสร้างการเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
ประธาน + พฤติกรรม (คากริยา) + เรื่องที่จัดการเรียนรู้ + เกณฑ์
เช่น นักศึกษำ+สำมำรถบอกนิยำม+ของเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร+ได้อย่ำงถูกต้อง
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
คือ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ที่เน้นควำมสำมำรถทำงสมองหรือกำรใช้ปัญญำหรือควำมรอบรู้ใน
เนื้อหำวิชำและหลักกำรในสิ่งที่ได้เรียน ซึ่ง Bloom ได้กำหนดระดับของกระบวนกำรทำงปัญญำไว้ 6 ขั้น เรียง
ตำมลำดับขั้นใช้กระบวนกำรทำงปัญญำต่ำสุดไปหำสูงสุด ดังตำรำงต่อไปนี้
ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์
จา (remembering) คือ
ความสามารถในการจาหรือระลึก
ความรู้ต่างๆที่ได้เรียนรู้มา
นิยำม จับคู่ เลือก บอก
คุณลักษณะ บอกชื่อ ระบุ
นักศึกษำสำมำรถบอกนิยำมของ
เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
สื่อสำรได้อย่ำงถูกต้อง
เข้าใจ (understanding) คือ
ความสามารถในการตีความ
ยกตัวอย่าง สรุป อ้างอิง
เปรียบเทียบสิ่งที่ได้เรียนรู้มา
ตีควำม ถอดควำม ย่อควำม แปล
ควำม นำเสนอ จัดหมวดหมู่ จัด
กลุ่ม ยกตัวอย่ำง อธิบำย อ้ำงอิง
สรุป ลงควำมเห็น อนุมำน กำหนด
ขอบเขต เติมคำ ทำนำย คำดคะเน
วำดภำพแสดงควำมคิด สร้ำง
โมเดล
ประยุกต์ใช้ (applying) คือ
ความสามารถในการนาสิ่งที่ได้
เรียนรู้ไปใช้หรือแก้ปัญหาหรือ
ประยุกต์ใช้
ประยุกต์ใช้ จัดกระทำใหม่
แก้ปัญหำ นำไปใช้ ใช้เครื่องมือ
เป็น คำนวณ ดำเนินงำน
นักศึกษำสำมำรถคำนวณหำค่ำ
ควำมเข้มของแสงได้อย่ำงถูกต้อง
วิเคราะห์ (analyzing) คือ
ความสามารถในการเปรียบเทียบ
เพื่อบอกความแตกต่าง การจัด
ระเบียบ อธิบายคุณลักษณะสิ่งที่
ได้เรียนรู้
จำแนก บอกควำมแตกต่ำง สรุป
ควำม หำควำมสัมพันธ์ บูรณำกำร
กำรเลือก กำรเน้น กำรจัดทำโครง
ร่ำง กำรทำโครงสร้ำงข้อมูล
ประเมินค่า (evaluating) คือ
ความสามารถในการตรวจสอบ
หรือวิจารณ์ ตัดสิน
ทดสอบ ตัดสิน สืบหำ กำรควบคุม
กระบวนงำน
ที่มา http://pcs2ndgrade.pbworks.com/w/page/46897760/Revised%20Bloom's%20Taxonomy
ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์
สร้างสรรค์ (creating) คือ ความสามารถใน
การทาให้เกิดขึ้น สร้างขึ้น วางแผน ผลผลิต
สมมติฐำน ออกแบบ สร้ำง นักศึกษำสำมำรถวำงแผนในกำรจัดทำโครงงำน
ได้อย่ำงเหมำะสม
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
คือจุดประสงค์กำรเรียนรู้เกี่ยวกับกำรพัฒนำทักษะทำงร่ำงกำยที่สำมำรถปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับทักษะควำมชำนำญในกำร
แสดงออกให้เหมำะสมกับกำรปฏิบัติงำนแต่ละชนิด พฤติกรรมตำมระดับกำรเรียนรู้ด้ำนทักษะพิสัยแบ่งไว้ 5 ขั้น
ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์
1. การรับรู้ รับรู้ในสิ่งที่จะต้องปฏิบัติ โดย
ผ่านประสาทสัมผัส
สังเกต รู้สึก สัมผัส ตรวจพบ
2. การเตรียมพร้อม การเตรียมตัวให้พร้อม
ทางสมอง ทางกายและจิตใจ
แสดงท่ำทำง ตั้งท่ำเข้ำประจำที่
3. การปฏิบัติงานโดยอาศัยผู้แนะ/เลียนแบบ
การทาตามตัวอย่าง การลองผิดลองถูก
เลียนแบบ ทดลอง ฝึกหัด นักศึกษำสำมำรถปฏิบัติกำรทดลองตำมคู่มือได้
อย่ำงถูกต้อง
4. การปฏิบัติงานได้เอง / คล่อง ปฏิบัติได้เอง
อย่างถูกต้อง เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ
สำธิต ผลิต แก้ไข ทำได้สำเร็จด้วยตนเอง
ทำงำนได้เร็วขึ้น
นักศึกษำสำมำรถสำธิตกำรใช้เครื่องมือทำง
กำรเกษตรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
5. การปฏิบัติงานด้วยความชานาญ /
ทางานใหม่ได้ ปฏิบัติงานด้วยความ
คล่องแคล่วเหมือนอัตโนมัติสามารถทางาน
ใหม่ได้
ทำงำนด้วยควำมกระฉับกระเฉง จัดระบบ
ควบคุมกำรทำงำนแนะแนวทำง
ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
คือ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ที่เน้นหนักในด้ำนควำมสนใจ เจตคติ ค่ำนิยม อำรมณ์และควำมประทับใจซึ่งวัดได้โดยกำรสังเกต แต่บำงเรื่อง
ก็ไม่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง กำรระบุพฤติกรรมที่คำดหวังให้ผู้เรียนแสดงออกนั้น ต้องอำศัยกำรรวบรวมพฤติกรรมที่ชี้ถึงควำมรู้สึก เจตคติและ
ค่ำนิยมของตนเองและผู้อื่น แล้วนำมำใช้ในกำรกำหนดเป็นพฤติกรรมที่คำดหวัง พฤติกรรมตำมระดับกำรเรียนรู้ด้ำนจิตพิสัยแบ่งไว้ 5 ขั้น
ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์
1. การรับรู้ การยอมรับความคิด
กระบวนการ หรือสิ่งเร้าต่าง ๆ
เลือก ชี้ ติดตำม ยอมรับ นักศึกษำยอมรับในควำมคิดเห็นที่แตกต่ำงจำก
ตนเอง
2. การตอบสนอง ความเต็มใจที่จะ
ตอบสนองต่อสิ่งที่รับรู้
อภิปรำย เลือก เขียนชื่อกำกับ
3. การเห็นคุณค่า ความรู้สึกนิยมพอใจในสิ่ง
ใดสิ่งหนึ่งจนเกิดการปฏิบัติตามสิ่งที่นิยม
อภิปรำย ริเริ่ม เลือก แสวงหำ ประพฤติ
ตำม นำมำใช้
นักศึกษำปฏิบัติตำมจริยธรรมกำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศและกำรสื่อสำรทุกครั้ง
4. การจัดระบบค่านิยม การนาเอาคุณค่าต่าง
ๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้มาผสมผสานและ
จัดระบบเข้าด้วยกันเพื่อเสริมสร้างระบบ
คุณค่าขึ้นภายในตนเอง
จำแนก จัดลำดับ จัดระเบียบ ผสมผสำน
5. การกาหนดคุณลักษณะ การนาค่านิยมที่
จัดระบบแล้วมาปฏิบัติจนเป็นนิสัยเฉพาะตน
สนับสนุน ต่อต้ำน ใช้เหตุผล แสดงออก
ชักชวน
Author’s Background
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร [email:issara.kku@gmail.com] [FB:Issara Bt]
สำขำวิชำเทคโนโลยีกำรศึกษำ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองคณบดีฝ่ำยวิจัย
สนใจเกี่ยวกับกำรออกแบบสิ่งแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้ที่เน้นกระบวนกำรทำงปัญญำโดยใช้
เทคโนโลยีสนับสนุน เช่น เมนทอลโมเดล ICT literacy กำรคิด เป็นต้น ทำกำรวิจัยเกี่ยวกับกำร
พัฒนำนวัตกรรมเพื่อยกระดับและสร้ำงโอกำสทำงกำรเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่ประถมศึกษำ
มัธยมศึกษำและอุดมศึกษำ มีงำนวิจัยเผยแพร่มำกกว่ำ 20 เรื่อง ปัจจุบันกำลังศึกษำเกี่ยวกับกำร
ออกแบบเทคโนโลยีโดยบูรณำกำร neuroscienceกับ Pedagogy

More Related Content

Viewers also liked

Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Tar Bt
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teachingAnucha Somabut
 
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...Anucha Somabut
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานAnucha Somabut
 
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...Anucha Somabut
 
TQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationTQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationAnucha Somabut
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)Anucha Somabut
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environmentTar Bt
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 

Viewers also liked (16)

Temp
TempTemp
Temp
 
Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
 
TQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationTQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher education
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 

Similar to Innovative teacher

Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)khon Kaen University
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีMuhamadkamae Masae
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 

Similar to Innovative teacher (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
Bloom’s Taxonomy for Designing Achievement Test (in Thai)
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 

More from Tar Bt

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesTar Bt
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentTar Bt
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาTar Bt
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2Tar Bt
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchTar Bt
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07Tar Bt
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06Tar Bt
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05Tar Bt
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04Tar Bt
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03Tar Bt
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02Tar Bt
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01Tar Bt
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Tar Bt
 

More from Tar Bt (20)

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environment
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 
Sc
ScSc
Sc
 
Pb
PbPb
Pb
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 

Innovative teacher

  • 1. Khon Kaen University Innovative Instructor R I C T PedagogyConner การกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy) ได้กำหนดพิสัยกำรเรียนรู้ไว้ 3 ด้ำน ได้แก่ ด้ำนพุทธิ พิสัย ด้ำนจิตพิสัย และด้ำนทักษะพิสัย โครงสร้างการเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม ประธาน + พฤติกรรม (คากริยา) + เรื่องที่จัดการเรียนรู้ + เกณฑ์ เช่น นักศึกษำ+สำมำรถบอกนิยำม+ของเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร+ได้อย่ำงถูกต้อง ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ที่เน้นควำมสำมำรถทำงสมองหรือกำรใช้ปัญญำหรือควำมรอบรู้ใน เนื้อหำวิชำและหลักกำรในสิ่งที่ได้เรียน ซึ่ง Bloom ได้กำหนดระดับของกระบวนกำรทำงปัญญำไว้ 6 ขั้น เรียง ตำมลำดับขั้นใช้กระบวนกำรทำงปัญญำต่ำสุดไปหำสูงสุด ดังตำรำงต่อไปนี้ ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์ จา (remembering) คือ ความสามารถในการจาหรือระลึก ความรู้ต่างๆที่ได้เรียนรู้มา นิยำม จับคู่ เลือก บอก คุณลักษณะ บอกชื่อ ระบุ นักศึกษำสำมำรถบอกนิยำมของ เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร สื่อสำรได้อย่ำงถูกต้อง เข้าใจ (understanding) คือ ความสามารถในการตีความ ยกตัวอย่าง สรุป อ้างอิง เปรียบเทียบสิ่งที่ได้เรียนรู้มา ตีควำม ถอดควำม ย่อควำม แปล ควำม นำเสนอ จัดหมวดหมู่ จัด กลุ่ม ยกตัวอย่ำง อธิบำย อ้ำงอิง สรุป ลงควำมเห็น อนุมำน กำหนด ขอบเขต เติมคำ ทำนำย คำดคะเน วำดภำพแสดงควำมคิด สร้ำง โมเดล ประยุกต์ใช้ (applying) คือ ความสามารถในการนาสิ่งที่ได้ เรียนรู้ไปใช้หรือแก้ปัญหาหรือ ประยุกต์ใช้ ประยุกต์ใช้ จัดกระทำใหม่ แก้ปัญหำ นำไปใช้ ใช้เครื่องมือ เป็น คำนวณ ดำเนินงำน นักศึกษำสำมำรถคำนวณหำค่ำ ควำมเข้มของแสงได้อย่ำงถูกต้อง วิเคราะห์ (analyzing) คือ ความสามารถในการเปรียบเทียบ เพื่อบอกความแตกต่าง การจัด ระเบียบ อธิบายคุณลักษณะสิ่งที่ ได้เรียนรู้ จำแนก บอกควำมแตกต่ำง สรุป ควำม หำควำมสัมพันธ์ บูรณำกำร กำรเลือก กำรเน้น กำรจัดทำโครง ร่ำง กำรทำโครงสร้ำงข้อมูล ประเมินค่า (evaluating) คือ ความสามารถในการตรวจสอบ หรือวิจารณ์ ตัดสิน ทดสอบ ตัดสิน สืบหำ กำรควบคุม กระบวนงำน ที่มา http://pcs2ndgrade.pbworks.com/w/page/46897760/Revised%20Bloom's%20Taxonomy
  • 2. ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์ สร้างสรรค์ (creating) คือ ความสามารถใน การทาให้เกิดขึ้น สร้างขึ้น วางแผน ผลผลิต สมมติฐำน ออกแบบ สร้ำง นักศึกษำสำมำรถวำงแผนในกำรจัดทำโครงงำน ได้อย่ำงเหมำะสม ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือจุดประสงค์กำรเรียนรู้เกี่ยวกับกำรพัฒนำทักษะทำงร่ำงกำยที่สำมำรถปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับทักษะควำมชำนำญในกำร แสดงออกให้เหมำะสมกับกำรปฏิบัติงำนแต่ละชนิด พฤติกรรมตำมระดับกำรเรียนรู้ด้ำนทักษะพิสัยแบ่งไว้ 5 ขั้น ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์ 1. การรับรู้ รับรู้ในสิ่งที่จะต้องปฏิบัติ โดย ผ่านประสาทสัมผัส สังเกต รู้สึก สัมผัส ตรวจพบ 2. การเตรียมพร้อม การเตรียมตัวให้พร้อม ทางสมอง ทางกายและจิตใจ แสดงท่ำทำง ตั้งท่ำเข้ำประจำที่ 3. การปฏิบัติงานโดยอาศัยผู้แนะ/เลียนแบบ การทาตามตัวอย่าง การลองผิดลองถูก เลียนแบบ ทดลอง ฝึกหัด นักศึกษำสำมำรถปฏิบัติกำรทดลองตำมคู่มือได้ อย่ำงถูกต้อง 4. การปฏิบัติงานได้เอง / คล่อง ปฏิบัติได้เอง อย่างถูกต้อง เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ สำธิต ผลิต แก้ไข ทำได้สำเร็จด้วยตนเอง ทำงำนได้เร็วขึ้น นักศึกษำสำมำรถสำธิตกำรใช้เครื่องมือทำง กำรเกษตรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 5. การปฏิบัติงานด้วยความชานาญ / ทางานใหม่ได้ ปฏิบัติงานด้วยความ คล่องแคล่วเหมือนอัตโนมัติสามารถทางาน ใหม่ได้ ทำงำนด้วยควำมกระฉับกระเฉง จัดระบบ ควบคุมกำรทำงำนแนะแนวทำง ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) คือ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ที่เน้นหนักในด้ำนควำมสนใจ เจตคติ ค่ำนิยม อำรมณ์และควำมประทับใจซึ่งวัดได้โดยกำรสังเกต แต่บำงเรื่อง ก็ไม่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง กำรระบุพฤติกรรมที่คำดหวังให้ผู้เรียนแสดงออกนั้น ต้องอำศัยกำรรวบรวมพฤติกรรมที่ชี้ถึงควำมรู้สึก เจตคติและ ค่ำนิยมของตนเองและผู้อื่น แล้วนำมำใช้ในกำรกำหนดเป็นพฤติกรรมที่คำดหวัง พฤติกรรมตำมระดับกำรเรียนรู้ด้ำนจิตพิสัยแบ่งไว้ 5 ขั้น ระดับพฤติกรรม ตัวอย่างคากริยาที่ใช้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์ 1. การรับรู้ การยอมรับความคิด กระบวนการ หรือสิ่งเร้าต่าง ๆ เลือก ชี้ ติดตำม ยอมรับ นักศึกษำยอมรับในควำมคิดเห็นที่แตกต่ำงจำก ตนเอง 2. การตอบสนอง ความเต็มใจที่จะ ตอบสนองต่อสิ่งที่รับรู้ อภิปรำย เลือก เขียนชื่อกำกับ 3. การเห็นคุณค่า ความรู้สึกนิยมพอใจในสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งจนเกิดการปฏิบัติตามสิ่งที่นิยม อภิปรำย ริเริ่ม เลือก แสวงหำ ประพฤติ ตำม นำมำใช้ นักศึกษำปฏิบัติตำมจริยธรรมกำรใช้เทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำรทุกครั้ง 4. การจัดระบบค่านิยม การนาเอาคุณค่าต่าง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้มาผสมผสานและ จัดระบบเข้าด้วยกันเพื่อเสริมสร้างระบบ คุณค่าขึ้นภายในตนเอง จำแนก จัดลำดับ จัดระเบียบ ผสมผสำน 5. การกาหนดคุณลักษณะ การนาค่านิยมที่ จัดระบบแล้วมาปฏิบัติจนเป็นนิสัยเฉพาะตน สนับสนุน ต่อต้ำน ใช้เหตุผล แสดงออก ชักชวน Author’s Background ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ก้านจักร [email:issara.kku@gmail.com] [FB:Issara Bt] สำขำวิชำเทคโนโลยีกำรศึกษำ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองคณบดีฝ่ำยวิจัย สนใจเกี่ยวกับกำรออกแบบสิ่งแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้ที่เน้นกระบวนกำรทำงปัญญำโดยใช้ เทคโนโลยีสนับสนุน เช่น เมนทอลโมเดล ICT literacy กำรคิด เป็นต้น ทำกำรวิจัยเกี่ยวกับกำร พัฒนำนวัตกรรมเพื่อยกระดับและสร้ำงโอกำสทำงกำรเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่ประถมศึกษำ มัธยมศึกษำและอุดมศึกษำ มีงำนวิจัยเผยแพร่มำกกว่ำ 20 เรื่อง ปัจจุบันกำลังศึกษำเกี่ยวกับกำร ออกแบบเทคโนโลยีโดยบูรณำกำร neuroscienceกับ Pedagogy