SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
INCENTIVE SCHEMES
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. เงินตอบแทนที่เพิ่มขึ้น
2. การเลื่อนตาแหน่งการงานให้สูงขึ้น
3. การประกาศเกียรติคุณความสามารถ
4. ความภูมิใจในฝีมือและอาชีพของตนเอง
5. ผลตอบแทนอื่นๆ ที่ไม่อยู่ในรูปของตัวเงิน เช่น วันพักร้อน เป็นต้น
6. สวัสดิการต่าง ๆ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ค่าแรงจูงใจ หมายถึง ค่าตอบแทนที่จ่ายเพิ่มขึ้นอันเนื่องจากผลงานที่เพิ่มขึ้นจากระดับ
การทางานมาตรฐานที่ได้กาหนดไว้ และควรเป็นค่าตอบแทนที่ได้รับนอกเหนือจาก
ค่าจ้างแรงงานตามปกติดังนั้น
ค่าตอบแทนทั้งหมด = ค่าจ้างแรงงานปกติ + เงินรางวัลหรือโบนัส
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
พิจารณาการจ่ายเงินรางวัลได้ดังนี้
1.ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น (Output)
2. ระดับคุณภาพที่เพิ่มขึ้น (Quality)
3. การใช้ประโยชน์สูงสุดของวัสดุ (Material Utilization)
4. การใช้ประโยชน์สูงสุดของเครื่องจักร (Machine Utilization)
5. การปฏิบัติงานของพนักงาน
(Employees Merit) เช่น
- ความตั้งใจในการทางาน
- ความตรงต่อเวลา
- ความชานาญ
- ความรับผิดชอบต่องาน
- การประหยัดการใช้พลังงาน
- ความประพฤติ
- ความสามารถในการเรียนรู้ เป็นต้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
การศึกษาการทางานแบ่งออกเป็นส่วนสาคัญสองส่วน คือ
1. การปรับปรุงวิธีการทางานให้ดีที่สุด และ
2. การกาหนดเวลามาตรฐานของงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
• ระบบการจ่ายเงินรางวัลในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้ใช้ระบบนี้ควบคู่กับการใช้
Time Study โดยรวมแล้วเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิตโดยประมาณ 42%
• ประเทศออสเตรเลีย ได้มีรายงานว่าผลผลิตโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง 40%
• ประเทศอุตสาหกรรมต่างๆ ทั่วโลก ระบบการจ่ายค่าแรงจูงใจพบมากในโรงงาน
อุตสาหกรรมที่มีการใช้แรงงานสูง และมีลักษณะงานที่พนักงานสามารถควบคุม
ผลผลิตของตนเองได้ เช่นในอุตสาหกรรมสิ่งทอ เสื้อผ้าสาเร็จรูป อุตสาหกรรมการ
ผลิตรองเท้า การผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
1. นโยบายของฝ่ายจัดการ
2. มาตรฐานและวิธีการทางานที่ดี
3. ใช้หน่วยวัดผลผลิตที่เข้าใจง่าย
4. ดูแลจัดการให้กระบวนการทางานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
5. คุณภาพของผลผลิต
6. ผลตอบแทนซึ่งสัมพันธ์โดยตรงกับผลผลิต
7. ความเข้าใจและยอมรับของคนงานและหัวหน้างาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
1. วิธี "Daywork”
2. วิธี "Piecework"
3. แผนการจ่ายเงินรางวัลเมื่อ x = 1.0 ในอัตราเส้นตรง แต่ค่า p < 1.0
4. แผนการจ่ายรางวัล เมื่อ x < 1.0 โดยค่า p = 1.0
5. จ่ายรางวัล เมื่อ x < 1.0 แต่ค่า p น้อยกว่า 1.0
6. จ่ายรางวัล เมื่อ x = 1.0 และ % ของค่าตอบแทนที่เพิ่มขึ้นจะเท่ากับ %
ของเวลาที่ลดน้อยลงจากมาตรฐาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
1. แบบ Taylor Differential-piece-rate Plan
2. แบบ Gantt Task and Bonus Plan
3. แบบ Halsey Premium Plan
4. แบบ Bedaux Plan
5. แบบ Rowan Plan
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
• อาศัยผลงานของกลุ่มเป็นตัวคานวณ
• พนักงานทุกคนในกลุ่มได้รับค่าตอบแทนเท่ากัน
• การจ่ายเงินรางวัลแบบกลุ่ม เหมาะสาหรับงานในสายการผลิตแบบต่อเนื่อง หรืองาน
ซึ่งไม่สามารถวัดผลงานของคนงานแต่ละคนได้และยังช่วยขจัดปัญหาต่าง ๆ
• แผนการจ่ายรางวัลแบบบุคคล กลุ่มไม่ควรใหญ่จนเกินไป และควรเป็นกลุ่มของ
พนักงานซึ่งทางานสัมพันธ์กัน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
• ทาให้สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันมากขึ้น
• ง่ายแก่การควบคุมดูแล
• ทาให้ประเมินค่าใช้จ่ายได้ถูกต้อง
• ทาให้คานวณรายได้ของพนักงานได้เร็วขึ้น
• พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น
• ง่ายแก่การตรวจสอบจุดบกพร่อง
• ลดความเหลื่อมล้าในรายได้ของกลุ่มคนงาน
• สร้างบรรยากาศให้น่าทางาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
• ยากแก่การติดตามงานซึ่งยังทาไม่เสร็จสมบูรณ์
• ยากแก่การตรวจสอบค่าเผื่อของเวลาสาหรับแต่ละบุคคล
• ยากแก่การตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานของแต่ละบุคคล
• ยากแก่การเลือกผู้นาของกลุ่ม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
• หลักการของการกาหนดความถี่ห่างในการจ่ายค่าแรงส่วนเพิ่มนี้เป็นการ
ตัดสินใจระหว่างประโยชน์ที่ได้จากการให้ข้อมูลด้านประสิทธิภาพในการทางาน
ของตัวพนักงานเองกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
• ช่วงระยะเวลาของการจ่ายเงินจูงใจ อาจจ่ายตามงาน จ่ายต่อวัน หรือจ่ายตาม
ระยะเวลาของการจ่ายค่าจ้างตามปกติ
• วิธีที่นิยมใช้มากที่สุดเพราะพนักงานจะได้รับผลตอบแทนพร้อมกับเงินเดือน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
1. คุณภาพ (Quality)
2. การใช้ประโยชน์จากวัสดุ (Material Utilization)
3. การใช้ประโยชน์ของเครื่องจักร (Machine Utilization)
4. การปฏิบัติงานของคนงาน (Employee Merit)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
แผนการจ่ายเงินจูงใจแบบทั่วไปซึ่งใช้ฐานผลผลิต มักจะต้องพิจารณา
คุณภาพของผลผลิตควบคู่ไปด้วย เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดชิ้นส่วนเสีย
เนื่องจากการเร่งผลิตจนเกินไป โดยเพิ่มการให้น้าหนักในการพิจารณาฐาน
แต่ละตัว เพื่อใช้ในการคานวณเงินค่าตอบแทน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
• การจ่ายเงินรางวัลแบบนี้ไม่มีดัชนีในการวัดผลงาน
• อาศัยการประเมินผลจากหัวหน้างานหรือผู้บังคับบัญชา
• มีการคิดค้นระบบการประเมินออกมาหลากหลายรูปแบบ และได้รวมเอา
ปัจจัยอื่นๆ ได้แก่ การเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพและประสิทธิภาพ มาใช้
ในการประเมิน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
1. ค่ามาตรฐานเวลาที่ตั้งไว้นั้นไม่ถูกต้อง
2. การเปลี่ยนแปลงของวิธีการทางานและชนิดของสินค้าทาให้ค่ามาตรฐาน
เปลี่ยนไป แต่ขาดการติดตามและตรวจประเมินเพื่อกาหนดระดับ
มาตรฐานใหม่
3. แผนการจ่ายเงินจูงใจยุ่งยากและไม่มีการคานึงถึงองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
ในทุกด้าน ตั้งแต่ ความน่าเชื่อถือ การใช้งาน การจ่าย ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น
ต้นทุนทางอ้อม และจิตวิทยา
4. ขาดความเข้าใจที่ดีในหมู่พนักงาน
5. นโยบายของผู้บริหารและระบบการจ่ายเงินจูงใจที่ขาดความยุติธรรม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
– เกิดความไม่ซื่อสัตย์ในการรายงานผลผลิตของพนักงาน
– มีปัญหาในการรักษาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
– ปัญหาในสายผลิต ก่อให้เกิดความไม่พอใจในหมู่พนักงานเนื่องจากทาให้ผลผลิตของ
พนักงานลดลง
– คนงานต่อต้านการเปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนสายการผลิต
– เกิดความเหลื่อมล้าในเรื่องรายได้ระหว่างพนักงาน
– พนักงานซึ่งไม่มีโอกาสได้รับรางวัลหรือไม่อยู่ในสายการผลิต มักไม่ตั้งใจทางานของ
ตน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23

More Related Content

What's hot

บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการบทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาTeetut Tresirichod
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมTeetut Tresirichod
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCASuradet Sriangkoon
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)Suntichai Inthornon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการpop Jaturong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 

What's hot (20)

บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการบทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
 
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลาบทที่ 14 การศึกษาเวลา
บทที่ 14 การศึกษาเวลา
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

More from Teetut Tresirichod

Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 

บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ