SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ Page 1 of 26 Pages
บทที่ 5
การวางแผนความต้องการวัสดุ
Materials Requirements Planning (MRP)
แผนการผลิตรวม
ตารางการผลิตหลัก
แผนความต้องการวัสดุ
แผนความต้องการ
กาลังการผลิตขั้น
ละเอียด
เป็นไปได้
หรือไม่
ปฏิบัติตามแผนกาลัง
การผลิต
ปฏิบัติตามแผนด้าน
วัสดุ
ฝ่ายผลิต
ข้อมูลกาลังการผลิต
ข้อมูลสินค้าคงคลัง
ฝ่ายจัดหาวัตถุดิบ
ข้อมูลการประเมินผู้จัดหา
วัตถุดิบ
ฝ่ายบริหาร
ข้อมูลผลตอบแทน
การลงทุม
ฝ่ายตลาด
ข้อมูลความต้องการลูกค้า
ฝ่ายการเงิน
ข้อมูลงบกระแสเงินสด
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ข้อมูลการวางแผนกาลังคน
ฝ่ายวิศวกรรม
ข้อมูลการออกแบบ
ไม่
ใช่
ปฏิบัติตามแผน
กาลังการผลิตได้
หรือไม่
แผนการผลิตรวม
ตารางการผลิตหลัก
แผนความต้องการวัสดุ
แผนความต้องการ
กาลังการผลิตขั้น
ละเอียด
เป็นไปได้
หรือไม่
ปฏิบัติตามแผนกาลัง
การผลิต
ปฏิบัติตามแผนด้าน
วัสดุ
ฝ่ายผลิต
ข้อมูลกาลังการผลิต
ข้อมูลสินค้าคงคลัง
ฝ่ายจัดหาวัตถุดิบ
ข้อมูลการประเมินผู้จัดหา
วัตถุดิบ
ฝ่ายบริหาร
ข้อมูลผลตอบแทน
การลงทุม
ฝ่ายตลาด
ข้อมูลความต้องการลูกค้า
ฝ่ายการเงิน
ข้อมูลงบกระแสเงินสด
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ข้อมูลการวางแผนกาลังคน
ฝ่ายวิศวกรรม
ข้อมูลการออกแบบ
ไม่
ใช่
ปฏิบัติตามแผน
กาลังการผลิตได้
หรือไม่
ตารางการผลิตหลัก
Master Production Scheduling (MPS)
• ตารางการผลิตหลัก จะแสดงถึงประเภทของผลิตภัณฑ์ที่จะถูกผลิตในแต่ละ
สัปดาห์ ไม่ได้เป็นค่าพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า
• หลังจากจัดทาแผนการผลิตรวม (ซึ่งเป็นแผนระยะ 3-18 เดือน) แล้ว จะต้องทาการ
วางแผนต่อไปว่าควรจะกระจายสินค้าแต่ละชนิดไปในแต่ละเดือน แต่ละสัปดาห์
หรือแต่ละวันอย่างไร
แผนการผลิตรวม แผนการผลิตหลัก
• ก่อนทาตารางการผลิตหลัก จะต้องทาการแตกแผนการผลิตรวม (Disaggregation)
ออกเป็นรายผลิตภัณฑ์เสียก่อน ตัวอย่างเช่น
ชนิด ต้นงวด มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
ความต้องการจักรยาน 1200 1100 800
แผนการผลิต 1000 1000 1000
ระดับคงคลัง 800 600 500 700
แผนการผลิตรวม
ชนิด คงคลัง มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
จักรยานเสือภูเขา 400 400 330 265
จักรยานซิตี้สไตล์ 250 500 290 240
จักรยานเด็ก 150 300 480 295
รวม 800 1200 1100 800
การแตกแผนการผลิตรวม
เป็นรายผลิตภัณฑ์
ตารางการผลิตหลัก
Master Production Scheduling (MPS)
• จากนั้นทาการกระจายความต้องการผลิตรายเดือนเป็นรายสัปดาห์
ชนิด คงคลัง มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
จักรยานเสือภูเขา 400 400 330 265
จักรยานซิตี้สไตล์ 250 500 290 240
จักรยานเด็ก 150 300 480 295
รวม 800 1200 1100 800
จักรยานเสือภูเขา มกราคม กุมภาพันธ์
คงคลังเริ่มต้น = 400 1 2 3 4 1 2 3 4
พยากรณ์ความต้องการผลิต 100 100 100 100 100 80 75 75
ตารางการผลิตหลัก
Master Production Scheduling (MPS)
• จากนั้นพิจารณายอดการสั่งซื้อจริงและปริมาณคงคลังประกอบเพื่อกาหนดตาราง
การผลิตหลัก
ตารางการผลิตหลัก
Master Production Scheduling (MPS)
จักรยานเสือภูเขา มกราคม กุมภาพันธ์
คงคลังเริ่มต้น = 400 1 2 3 4 1 2 3 4
พยากรณ์ความต้องการผลิต 100 100 100 100 100 80 75 75
ยอดสั่งซื้อ 200 150 100 50 75 100 50 150
ประมาณการสินค้าที่มีในคลัง 200 50 200 150 75 100 50 75
MPS - - 250 - - 125 - 125
แผนการผลิตรวม
ตารางการผลิตหลัก
แผนความต้องการวัสดุ
แผนความต้องการ
กาลังการผลิตขั้น
ละเอียด
เป็นไปได้
หรือไม่
ปฏิบัติตามแผนกาลัง
การผลิต
ปฏิบัติตามแผนด้าน
วัสดุ
ฝ่ายผลิต
ข้อมูลกาลังการผลิต
ข้อมูลสินค้าคงคลัง
ฝ่ายจัดหาวัตถุดิบ
ข้อมูลการประเมินผู้จัดหา
วัตถุดิบ
ฝ่ายบริหาร
ข้อมูลผลตอบแทน
การลงทุม
ฝ่ายตลาด
ข้อมูลความต้องการลูกค้า
ฝ่ายการเงิน
ข้อมูลงบกระแสเงินสด
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ข้อมูลการวางแผนกาลังคน
ฝ่ายวิศวกรรม
ข้อมูลการออกแบบ
ไม่
ใช่
ปฏิบัติตามแผน
กาลังการผลิตได้
หรือไม่
แผนความต้องการวัสดุ
Materials Requirements Planning (MRP)
MRP คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการคานวณความต้องการการใช้วัตถุดิบต่างๆ
เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตสินค้า
ตารางการผลิตหลัก
(MPS)
ปริมาณสินค้าคงคลัง
การวางแผนความ
ต้องการวัสดุ
(MRP)
บัญชีรายการวัสดุ
(Bill of Materials,
BOM)
การสั่งผลิต
การสั่งซื้อ
การจัดแผนการ
ผลิตขั้นละเอียด


บัญชีรายการวัสดุ (BOM)
Bill of materials (BOM) คือ รายการจานวนชิ้นส่วนประกอบทั้งหมดที่ต้องการใช้ใน
การประกอบสินค้า และโครงสร้างขององค์ประกอบของสินค้าชนิดนั้นๆ
โต๊ะข้างโซฟา
ส่วนประกอบบน
(1)
ส่วนประกอบข้าง
(2)
B115
(1)
B132
(4)
B116
(1)
C110
(3)
N234
(3)
N239
(3)
C115
(3)
ระดับ 0
ระดับ 1
ระดับ 2
ตัวอย่างโครงสร้างผลิตภัณฑ์
ระดับ ชื่อ หน่วยวัด ปริมาณ
0 โต๊ะ ชิ้น 1
1 ส่วนประกอบบน ชิ้น 1
2 B115 ชิ้น 1
2 C132 ชิ้น 4
1 ส่วนประกอบข้าง ชิ้น 2
2 B116 ชิ้น 1
2 C110 ชิ้น 3
2 N234 ชิ้น 3
2 N239 ชิ้น 3
2 C115 ชิ้น 3
รายการความต้องการวัสดุ
บัญชีรายการวัสดุ (BOM)
แผนความต้องการวัสดุ
Materials Requirements Planning (MRP)
MRP คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการคานวณความต้องการการใช้วัตถุดิบต่างๆ
เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตสินค้า
ตารางการผลิตหลัก
(MPS)
ปริมาณสินค้าคงคลัง
การวางแผนความ
ต้องการวัสดุ
(MRP)
บัญชีรายการวัสดุ
(Bill of Materials,
BOM)
การสั่งผลิต
การสั่งซื้อ
การจัดแผนการ
ผลิตขั้นละเอียด



ตัวอย่างที่ 1 จากโครงสร้างผลิตภัณฑ์ X ดังรูป
ก. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องใช้ในการประกอบ X 1 ชิ้น
ข. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องสั่งซื้อ/ผลิตเพิ่มเติมในการประกอบ X 10 ชิ้น
โดยกาหนดให้มีชิ้นส่วนอยู่ในคลังสินค้าดังตาราง
ชิ้นส่วน ปริมาณในคลังสินค้า (ชิ้น)
A 10
B 25
C 5
D 40
X
A(1) B(4)
D(4) E(2) C(2) D(3)
D(4)
ชิ้นส่วน ปริมาณที่ต้องใช้ (ชิ้น)
A 1
B 4
C 8
D 4+32+12 = 48
E 2
X = 1
A(1) B(4)
D(4) E(2) C(2) D(3)
D(4)
ก. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องใช้ในการประกอบ X 1 ชิ้น
1x1 = 1
4x1 = 4 2x1 = 2
4x1 = 4
2x4 = 8 3x4 = 12
4x8 = 32
ชิ้นส่วน ปริมาณคงคลัง (ชิ้น) ปริมาณที่ต้องใช้ (ชิ้น) ปริมาณที่ต้องผลิต/ซื้อเพิ่ม (ชิ้น)
A 10 10 -
B 25 40 40-25 = 15
C 5 30 30-5 = 25
D 40 45+100 = 145 145-40 = 105
E 0 20 -
X
A(1) B(4)
D(4) E(2) C(2) D(3)
D(4)
ข. ปริมาณ A, B, C, D, E ที่ต้องสั่งซื้อ/ผลิตเพิ่มเติมในการประกอบ X 10 ชิ้น
1x10 = 10
4x10 = 40
40-25 = 15
2x15 = 30
30-5 = 25
3x15 = 45
4x25 = 100
X = 10
เวลานา (Lead time, LT)
การสร้างแผนความต้องการวัสดุจาเป็นจะต้องนา Lead time มาพิจารณาด้วย
จัดซื้อวัตถุดิบ G ผลิตชิ้นส่วน D
จัดซื้อวัตถุดิบ B
จัดซื้อวัตถุดิบ F
จัดซื้อวัตถุดิบ B
จัดซื้อวัตถุดิบ H
จัดซื้อวัตถุดิบ I
ประกอบและทดสอบ
ขั้นสุดท้าย
ชิ้นส่วนประกอบ A
ชิ้นส่วนประกอบ B
ผลิตชิ้นส่วน C
ผลิตชิ้นส่วน E
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
จุดสั่งซื้อ
สัปดาห์ ผลิตเสร็จพร้อมส่งมอบ
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
• ความต้องการรวม (gross requirements)
• การรับของตามกาหนด (scheduled receipts)
• ประมาณการพัสดุที่มี (projected on hand)
• ความต้องการสุทธิ (net requirements)
ความต้องการสุทธิ = ความต้องการรวม – คงคลังที่นาใช้ได้ (available inventory)
พัสดุคงคลังที่นามาใช้ได้ = ประมาณการคงคลังที่มี
– คงคลังสารอง (safety stock)
– คงคลังที่นาไปใช้กับผลิตภัณฑ์อื่น
• การรับของตามแผน (planned order receipts)
• การสั่งของตามแผน (planned order releases)
แผนความต้องการวัสดุ
Materials Requirements Planning (MRP)
ตัวอย่างที่ 11.2 วางแผนการผลิตรวมสาหรับผลิตภัณฑ์กรอบรูปไม้สัก ซึ่งมีความ
ต้องการ 50 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 4 และ 100 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 7 โดยกรอบรูปไม้สัก 1 ชิ้น
ประกอบขึ้นมาจากไม้หลัง 1 แผ่น และไม้ขอบ 4 ชิ้น
กาหนดให้
• การประกอบกรอบรูปใช้เวลา 1 สัปดาห์
• การสั่งซื้อไม้หลังใช้เวลา 1 สัปดาห์ ปัจจุบันมีไม้หลังมีอยู่แล้วในคลังสินค้า 20 ชิ้น
• การสั่งซื้อไม้ขอบใช้เวลา 2 สัปดาห์ ไม้ชิ้นได้มีการสั่งซื้อล่วงหน้าไว้แล้วโดยจะมี
การนาส่ง 70 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 2
วางแผนความต้องการวัสดุในกรณีดังต่อไปนี้
1. สั่งซื้อแบบล็อตต่อล็อต
2. สั่งซื้อแบบมีขนาดการสั่งซื้อ (Lot size) โดยการสั่งซื้อไม้หลังมีขนาดล็อต 12 ชิ้น
และการสั่งซื้อไม้ขอบมีขนาดล็อต 70 ชิ้น
โครงสร้างกรอบรูป
กรอบรูปไม้สัก
ไม้หลัง (1) ไม้ขอบ (4)
กาหนดให้
• การประกอบกรอบรูปใช้เวลา 1 สัปดาห์
• การสั่งซื้อไม้หลังใช้เวลา 1 สัปดาห์ ปัจจุบันมีไม้หลังมีอยู่แล้วในคลังสินค้า 20 ชิ้น
• การสั่งซื้อไม้ขอบใช้เวลา 2 สัปดาห์ ไม้ชิ้นได้มีการสั่งซื้อล่วงหน้าไว้แล้วโดยจะมี
การนาส่ง 70 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 2
LT การประกอบ = 1 สัปดาห์
LT การสั่งซื้อ = 1 สัปดาห์ LT การสั่งซื้อ = 2 สัปดาห์
ตารางการผลิตหลักของกรอบรูป สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ปริมาณความต้องการ 50 100
กรอบรูป LT = 1 W สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ความต้องการรวม 50 100
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี
ความต้องการสุทธิ 50 100
การรับของตามแผน 50 100
การสั่งของตามแผน 50 100
แผนความต้องการวัสดุผลิตภัณฑ์กรอบรูปสั่งซื้อแบบล็อตต่อล็อต
ไม้หลัง LT = 1 W สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ความต้องการรวม 50 100
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี 20 20 20 20
ความต้องการสุทธิ 30 100
การรับของตามแผน 30 100
การสั่งของตามแผน 30 100
ไม้ขอบ LT = 2 W สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ความต้องการรวม 200 400
การรับของตามกาหนด 70
ประมาณการพัสดุที่มี 70 70
ความต้องการสุทธิ 130 400
การรับของตามแผน 130 400
การสั่งของตามแผน 130 400
ตารางการผลิตหลักของกรอบรูป สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ปริมาณความต้องการ 50 100
กรอบรูป LT = 1 W สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ความต้องการรวม 50 100
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี
ความต้องการสุทธิ 50 100
การรับของตามแผน 50 100
การสั่งของตามแผน 50 100
แผนความต้องการวัสดุผลิตภัณฑ์กรอบรูปสั่งซื้อแบบปริมาณคงที่
ไม้หลัง LT = 1 W สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ความต้องการรวม 50 100
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี 20 20 20 20 6 6 6 2 2
ความต้องการสุทธิ 30 94
การรับของตามแผน 36 96
การสั่งของตามแผน 36 96
ไม้ขอบ LT = 2 W สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ความต้องการรวม 200 400
การรับของตามกาหนด 70
ประมาณการพัสดุที่มี 70 70 10 10 10 30 30
ความต้องการสุทธิ 130 390
การรับของตามแผน 140 420
การสั่งของตามแผน 140 420
บริษัท Speaker Kits จากัด ได้ประกอบชุดเครื่องเสียงตามคาสั่งซื้อทางไปรษณีย์โดยในภาพได้แสดงการ
ประกอบชุดเครื่องเสียงรุ่น Awesome โดยที่ A ประกอบด้วยชุดลาโพงขนาด 300 วัตต์ B จานวน 2 ชุด และชุด
ลาโพงขนาด 300 วัตต์พร้อมตัวปรับขยายสัญญาณ C จานวน 3 ชุด โดยชุด B แต่ละชุด จะประกอบไปด้วย
ลาโพงขนาด 300 วัตต์ D จานวน 2 ตัว และกล่องบรรจุ E จานวน 2 กล่อง ซึ่งในกล่องจะมีคู่มือบรรจุอยู่
โครงสร้างผลิตภัณฑ์ “Awesome” (A)
B(2)
ชุดลาโพง 300 วัตต์
จานวน 2 ชุด C (3)
ชุดลาโพง 300 วัตต์ พร้อมตัวขยาย
สัญญาณ จานวน 3 ชุด
E(2)
D(2)
ลาโพงขนาด 300 วัตต์
จานวน 2 ชุด
กล่องบรรจุและอุปกรณ์
ติดตั้ง ได้แก่ สายไฟ น็อต สกรู
E(2) F(2)
ชุดลาโพง 300 วัตต์
พร้อมตัวขยายสัญญาณ
จานวน 2 ชุด
G(1) D(2)
ชุดขยายสัญญาณ
จานวน 1 ชุด
ลาโพง 300 วัตต์
จานวน 2 ชุด
ระดับ
0
1
2
3
A
หากลูกค้าต้องการชุดเครื่องเสียงจานวน 50 ชุด
ชิ้นส่วน B : 2xจานวนความต้องการของ A = (2)(50) = 100
ชิ้นส่วน C : 3xจานวนความต้องการของ A = (3)(50) = 150
ชิ้นส่วน D : (2xจานวนความต้องการของ B) + (2xจานวนความต้องการของ F)
= (2)(100) + (2)(300) = 800
ชิ้นส่วน E : (2xจานวนความต้องการของ B) + (2xจานวนความต้องการของ C)
= (2)(100) + (2)(150) = 500
ชิ้นส่วน F : 2xจานวนความต้องการของ C = (2)(150) = 300
ชิ้นส่วน G : 1xจานวนความต้องการของ F = (1)(300) = 300
สัปดาห์ที่
เวลานา
1 2 3 4 5 6 7 8
A
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 50
1 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 50
B
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 100
2 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 100
C
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 150
1 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 150
E
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 200 300
2 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 200 300
F
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 300
3 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 300
D
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 600 200
1 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 600 200
G
วันที่ต้องการใช้ชิ้นส่วน 300
2 สัปดาห์
วันที่ต้องมีการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต 300
แผนความต้องการวัสดุรวมสาหรับการผลิตชุดเครื่องเสียง Awesome จานวน 50 ชุด
ตัวอย่าง โครงสร้างผลิตภัณฑ์จากใบแสดงรายการวัสดุและแผนความต้องการวัสดุรวมได้ถูกกาหนด
ขึ้นจากตัวอย่างที่ผ่านมา สาหรับตัวอย่างนี้จะทาการสร้างแผนความต้องการวัสดุสุทธิ โดยใช้ข้อมูลที่
กาหนดให้เพิ่มเติมดังนี้
ชิ้นส่วน ปริมาณสินค้าคงคลัง
A 10
B 15
C 20
D 10
E 10
F 5
G 0
ชิ้นส่วน
สัปดาห์ที่
1 2 3 4 5 6 7 8
A
ความต้องการรวม 50
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 10 10 10 10 10 10 10 10 10
ความต้องการสุทธิ 40
แผนการรับวัสดุ 40
แผนการสั่งวัสดุ 40
B
ความต้องการรวม 80
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 15 15 15 15 15 15 15 15
ความต้องการสุทธิ 65
แผนการรับวัสดุ 65
แผนการสั่งวัสดุ 65
C
ความต้องการรวม 120
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 20 20 20 20 20 20 20 20
ความต้องการสุทธิ 100
แผนการรับวัสดุ 100
แผนการสั่งวัสดุ 100
ชิ้นส่วน
สัปดาห์ที่
1 2 3 4 5 6 7 8
D
ความต้องการรวม 130 200
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 10 10 10 10 10 10
ความต้องการสุทธิ 120 200
แผนการรับวัสดุ 120 200
แผนการสั่งวัสดุ 120 200
E
ความต้องการรวม 200
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 5 5 5 5 5 5 5
ความต้องการสุทธิ 195
แผนการรับวัสดุ 195
แผนการสั่งวัสดุ 195
F
ความต้องการรวม 390 130
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 10 10 10 10
ความต้องการสุทธิ 380 130
แผนการรับวัสดุ 380 130
แผนการสั่งวัสดุ 380 130
ชิ้นส่วน
สัปดาห์ที่
1 2 3 4 5 6 7 8
G
ความต้องการรวม 195
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 0
ความต้องการสุทธิ 195
แผนการรับวัสดุ 195
แผนการสั่งวัสดุ 195
เทคนิคการกาหนดขนาดรุ่นของการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
 เทคนิคการสั่งพอใช้งวดต่องวด (Lot-for-lot technique) เป็นเทคนิคสั่งซื้อเฉพาะที่
ต้องการ
ตัวอย่าง บริษัท Speaker Kits ต้องการคานวณต้นทุนรวมในการสั่งผลิต ต้นทุนการ
จัดเก็บสินค้าคงคลัง สาหรับการสั่งงวดต่องวด โดยต้นทุนการสั่งผลิตครั้งละ 100
ดอลลาร์สหรัฐ ต้นทุนจัดเก็บ 1 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วยต่อสัปดาห์ โดยแผนเป็นดังนี้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้
ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 35 35 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ความต้องการสุทธิ 0 30 40 0 10 40 30 0 30 55
แผนการรับวัสดุ 30 40 10 40 30 30 55
แผนการสั่งวัสดุ 30 40 10 40 30 30 55
เทคนิคการกาหนดขนาดรุ่นของการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
 เทคนิคการสั่งตามปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic order quantity technique)
เป็นเทคนิคการคานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด จะเหมาะสมกับความต้องการ
ที่คงที่ตลอดเวลา
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55
กาหนดรับสินค้าที่ได้สั่งไว้
ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 35 35 0 43 3 3 66 26 69 69 39
ความต้องการสุทธิ 0 30 0 0 7 0 4 0 0 16
แผนการรับวัสดุ 73 73 73 73
แผนการสั่งวัสดุ 73 73 73 73
 ความต้องการรวม 10 สัปดาห์ 270 หน่วย เฉลี่ย 27 หน่วยต่อสัปดาห์ 1 ปี 52
สัปดาห์ ดังนั้น ความต้องการรวม 27 x 52 = 1,404 หน่วย
คานวณขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด 73 หน่วย
 จานวนครั้งในการปรับเครื่อง = D/Q = 1,404/73 = 19 ครั้งต่อปี
 ต้นทุนในการปรับเครื่อง เท่ากับ 19 x 100 = 1,900 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
𝑄 =
2𝐷𝑃
𝐻
EOQ:
ตัวอย่าง บริษัท Speaker Kits ต้องการคานวณต้นทุนรวมในการสั่งซื้อประหยัดที่สุด
โดยต้นทุนการปรับเครื่องจักรครั้งละ 100 ดอลลาร์สหรัฐ ต้นทุนจัดเก็บ 1 ดอลลาร์
สหรัฐต่อหน่วยต่อสัปดาห์ โดยแผนเป็นดังนี้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ความต้องการรวม 35 30 40 0 10 40 30 0 30 55
กาหนดรับสินค้าที่
ได้สั่งไว้ก่อนหน้า
สินค้าคงคลังที่มีอยู่ 35 35 0 43 3 3 66 26 69 69 39
ความต้องการสุทธิ 0 30 0 0 7 0 4 0 0 16
แผนการรับวัสดุ 73 73 73 73
แผนการสั่งวัสดุ 73 73 73 73
 ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง = (Q/2)x(ค่าเก็บรักษา) = (73/2)x(1x52)
= 1,898 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี
 ต้นทุนรวม เท่ากับ ต้นทุนการปรับเครื่อง + ต้นทุนเก็บรักษา = 3,798 ดอลลาร์
สหรัฐต่อปี
 พิจารณา 10 สัปดาห์ เท่ากับ 730 ดอลลาร์สหรัฐ
Homework บริษัทแห่งหนึ่งมีผลิตภัณฑ์สามชนิดซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
• เวลานาทุกชิ้น 1 สัปดาห์ ยกเว้น C มีเวลานา 2 สัปดาห์
• คงคลัง A=10 B=10 C=20 D=25
วางแผนความต้องการชิ้นส่วน D ทั้งแบบล็อตต่อล็อต และแบบสั่งปริมาณคงที่
โดยขนาดล็อตเป็น 50 ชิ้น
กาหนดให้
 มีการรับชิ้นส่วน D 100 ชิ้น ในสัปดาห์ที่ 1
 ความต้องการ A 40 ชิ้น ในสัปดาห์ที่ 4
 ความต้องการ B 60 ชิ้น ในสัปดาห์ที่ 5
 ความต้องการ C 30 ชิ้นในสัปดาห์ที่ 6
A
D E(2)
B
D(2) F
C
D(4) G(6)
ตารางการผลิตหลัก สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
ปริมาณความต้องการ A
ปริมาณความต้องการ B
ปริมาณความต้องการ C
สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
D
ความต้องการรวม
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี
ความต้องการสุทธิ
การรับของตามแผน
การสั่งของตามแผน
E
ความต้องการรวม
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี
ความต้องการสุทธิ
การรับของตามแผน
การสั่งของตามแผน
สัปดาห์
พัสดุคงคลังเริ่มต้น 1 2 3 4 5 6 7 8
F
ความต้องการรวม
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี
ความต้องการสุทธิ
การรับของตามแผน
การสั่งของตามแผน
G
ความต้องการรวม
การรับของตามกาหนด
ประมาณการพัสดุที่มี
ความต้องการสุทธิ
การรับของตามแผน
การสั่งของตามแผน

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผนขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผนkrudennapa2519
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 

What's hot (20)

บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผนขออนุญาตใช้แผน
ขออนุญาตใช้แผน
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 

More from Teetut Tresirichod

Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 

บทที่ 5 การวางแผนความต้องการวัสดุและกำลังการผลิต