SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
การนาเข้าเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมเองในบริบทของ
คุณภาพนวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาบทนี้แล้วสามารถ
5.1 เข้าใจการนาเข้าเทคโนโลยีเพื่อสร้างนวัตกรรม
5.2 อธิบายการสร้างนวัตกรรมเองภายในองค์การ
5.3 อธิบายธุรกิจเริ่มต้นใหม่กับนวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
สามารถจาแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell,
1993)
1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบ
ของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนาไปสู่ผลในทางปฏิบัติ
โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนาไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ
2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็น
ผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and
product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทางานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับ
โปรแกรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
ครรชิต มาลัยวงศ์ (2548) ได้กล่าวไว้ว่า หน่วยงานต่าง ๆ ลวนใชเทคโนโลยี ใน
การดาเนินงานเทคโนโลยีที่ใชมากก็คือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
เทคโนโลยีเหลานี้เป็นทรัพยากรที่สาคัญและจาเป็นต้องได้รับการจัดการอย่างถูกต้องและ
เหมาะสม มิฉะนั้นแทนที่เทคโนโลยีจะเป็นประโยชน์กลับจะเป็นภาระหรือตัวถ่วงทาให้
หน่วยงานไม่สามารถปฏิบัติงานตามพันธกิจได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
องค์การที่ใช้เทคโนโลยีเป็นหลักนั้น เทคโนโลยีมีความสาคัญต่อการปฏิบัติงาน
อย่างแน่นอน ในทุก ๆ ด้าน หากองค์การไม่รู้จักใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์แล้ว ย่อมจะ
ไม่สามารถบริหารจัดการให้องค์การประสบความสาเร็จได้ เทคโนโลยีนั้นเป็นทั้งกลยุทธ์ใน
การดาเนินงาน เป็นทั้งเครื่องมือสาหรับการปฏิบัติงาน เป็นทั้งระบบที่สนับสนุนให้
ผู้ปฏิบัติงานสามารถให้บริการแก่ลูกค้า อีกทั้งยังช่วยในการสร้างเสริมพันธมิตรทางธุรกิจให้
มั่นคงมากขึ้นด้วย
สาหรับองค์การที่ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีเป็นหลักในการปฏิบัติงานนั้น จะพบว่ากลับ
ต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารค่อนข้างมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์การ
ประเภทใด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
• เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่องค์การจะต้องใช้ ณ เวลาที่เกิดข้อมูลนั้น ข้อมูลนี้ เรียกว่า
transaction
• เป็นเครื่องมือในการบันทึกข้อมูลที่จัดเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ที่เรียกว่า Database เพื่อให้ง่ายต่อ การจัดการ
และการค้นคืนข้อมูลออกมาใช้งาน รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่นิ่งแล้ว เป็นคลังข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Data
warehouse
• เป็นเครื่องมือในการประมวลผลข้อมูลในแบบต่าง ๆ เช่นระบบ MIS ระบบ EIS ระบบ DSS นอกจากนั้น
ยังเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบออนไลน์ หรือที่เรียกว่า OLAP (Online Analysis Processing) ด้วย
• เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานกับเอกสารต่าง ๆ เพื่อลดการใช้และการจัดเก็บกระดาษที่ไม่จาเป็นด้วย
ระบบ Document Management System ระบบ Office Automation ระบบประชุมทางไกล (Tele Conference)
รวมไปถึงระบบกระแสงาน หรือ Work Flow และ ระบบกลุ่มงาน (Work Group)
• เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บและจัดการความรู้ (Knowledge management system) เพื่อบันทึก ทักษะ
และประสบการณ์ของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานเอาไว้
• เป็นเครื่องมือในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ด้วยระบบอินเทอร์เน็ต อึนทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต และ
เวิลด์ไวด์เว็บ และการประยุกต์ระบบนี้ก็นาไปสู่งานอื่น ๆ อีกมากเช่น การทาธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ (E-business) และ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) การจัดฝึกอบรมและการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
• เป็นเครื่องมือและอุปกรณ์อัตโนมัติ เช่น Computer Numerical Control หรือ CNC ระบบหุ่นยนต์
อุตสาหกรรม ฯลฯ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
เทคโนโลยีทั้งหลายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เทคโนโลยีบางอย่างที่เคยได้รับ
ความสนใจ ใช้กันมากมายมาระยะหนึ่ง ต่อมาก็อาจล้าสมัยและไม่มีใครใช้ต่อไป
ขณะเดียวกันก็มีผู้คิดค้น เทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นและนาไปผลิตเป็นอุปกรณ์ออกจาหน่ายใน
ตลาด
เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่นั้น ปกติยังไม่สามารถทาให้ลูกค้าจานวนมากสนใจได้ใน
ทันทีทันใด ลูกค้าอาจยังไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของเทคโนโลยีหรืออุปกรณ์นั้น หรืออาจ
ยังไม่พร้อมที่จะเปลี่ยน มาใช้เทคโนโลยีใหม่ ดังนั้นการยอมรับของตลาดในระยะแรกจะ
เป็นไปอย่างช้า ๆ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีใหม่นั้นเป็นที่รู้จักมากขึ้น และมีผู้ยอมรับมากขึ้น
อัตราการขายเข้าสู่ตลาดก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย เทคโนโลยีนั้นอาจได้รับการปรับปรุงให้ดี
มากยิ่งขึ้นหลังจากเข้าสู่ตลาด ได้ระยะหนึ่ง ผลก็คือ เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการ
ยอมรับในแต่ละช่วงเวลาเริ่มชันมากขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
อย่างไรก็ตาม เมื่อเทคโนโลยีนั้นได้เข้าสู่ตลาดระยะหนึ่งจนทาให้ตลาดเริ่มอิ่มตัว
แล้ว เทคโนโลยีนั้นก็เริ่มจะมีอัตราการจาหน่ายที่ช้าลง ซึ่งเป็นไปตามวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้จากสาเหตุหลาย ประการ เช่น ตลาดเริ่มอิ่มตัว หรือ
ลูกค้าคาดหมายว่าจะมีเทคโนโลยีใหม่เข้ามาแทนที่ เมื่อเป็นเช่นนี้ เส้นแสดงความสัมพันธ์ก็
เริ่มจะลาดเอียงในแนวนอนมากขึ้น สุดท้าย เมื่อเกิดเทคโนโลยีใหม่ที่อาจดีกว่า หรือ มี
ประสิทธิภาพสูงกว่าเข้าสู่ตลาด ลูกค้าก็อาจ ตัดสินใจไปใช้เทคโนโลยีใหม่กันหมด ดังนั้น
เทคโนโลยีที่เคยเป็นเรื่องใหม่ในอดีตก็เริ่มจะจาหน่าย ไม่ได้ และต้องยุติการจาหน่ายใน
ตลาดลง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
การที่จะทาความเข้าใจเทคโนโลยีได้ดี จาเป็นต้องเริ่มด้วยการทาความเข้าใจสิ่งแวดล้อม
ทางเทคโนโลยีก่อน ในทางทฤษฎีแล้ว เราอาจพิจารณาสิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยีได้เป็นสามระดับ
คือ ระดับแรก หมายถึงสิ่งแวดล้อมทางการปฏิบัติงานขององค์การ ได้แก่ ลูกค้า ซัพพลายเออร์
คู่แข่ง ธนาคาร องค์การของรัฐ องค์การเอกชน สมาคมทางด้านธุรกิจที่หน่วยงาน หรือบริษัท
เกี่ยวข้อง ระดับที่สอง หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่เป็นอุตสาหกรรมหรือคู่แข่งที่หน่วยงานหรือบริษัท
จะต้องปฏิบัติงานอยู่ สิ่งแวดล้อมนี้เกี่ยวข้องกับการร่วมมือ การกาหนดมาตรฐาน การจัดหา
ชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบสาหรับนามาใช้งาน การก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมของบริษัทใหม่ ๆ การแข่งขัน
และกีดกันของ บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน สิ่งแวดล้อมเหล่านี้มีลักษณะแตกต่างกันไปสุด
แท้แต่อุตสาหกรรม และขณะเดียวกัน แม้จะเป็นบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันก็อาจจะตกอยู่ใน
สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันได้ ระดับที่สาม หมายถึง สิ่งแวดล้อมระดับมหภาคสิ่งแวดล้อมนี้ ครอบคลุม
อุตสาหกรรมต่าง ๆ หมดทุกด้าน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
• สังคมโลกได้เปลี่ยนไป จากยุคเกษตร ไปสู่ยุคอุตสาหกรรม ยุคสารสนเทศ และ
กาลังก้าวไปสู่ยุค ความรู้ การเปลี่ยนสังคมในแต่ละยุคเกิดชิ้นเพราะการพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรมใหม่ ขณะเดียวกันความก้าวหน้าของสังคมในแต่ละยุคก็เป็นตัวการผลักดัน
ให้มีการคิดค้นเทคโนโลยี และนวัตกรรมเพิ่มชิ้น
• การศึกษาระดับต่าง ๆ ได้เปลี่ยนไป เช่น การศึกษาทางระดับอุดมศึกษาซึ่งแต่
ก่อนเน้นการรู้และ การคิดค้นทางทฤษฎี โดยเฉพาะทางด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และเปลี่ยนไปเป็น การเน้นการปฏิบัติ และการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี
มากขึ้น เช่นวิชาการทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และ ด้านเทคโนโลยี แขนงต่าง ๆ การ
เปลี่ยนแนวทางนี้ในทางหนึ่งมีส่วนส่งเสริม ให้เกิดผู้สนใจที่จะพัฒนาเทคโนโลยีและอุปกรณ์
ต่าง ๆ มากขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
• การนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในกิจการต่าง ๆ ของหน่วยงาน ได้ทาให้เกิดการ
จัดเก็บข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ต่าง ๆ เอาไว้อย่างมากมายมหาศาล อาจกล่าวได้ว่า
ความรู้ของมนุษย์เพิ่มพูน ขึ้นเท่าตัวในเวลาเพียงสิบปี การเพิ่มพูนความรู้ ผสมผสานกับ
ความสะดวกสบายในการค้นคืน ความรู้ ทาให้มนุษย์สามารถคิดค้นเทคโนโลยีใหม่และ
ประดิษฐ์อุปกรณ์ใหม่ ๆ ออกมาได้อย่างรวดเร็วมาก
• ความจาเป็นทางด้านการแข่งขันขององค์การต่าง ๆ ทาให้แต่ละองค์การต้องขวนขวาย
พัฒนา เทคโนโลยีและอุปกรณ์ใหม่ ๆ ออกมาจาหน่าย และใช้งานกันอย่างมากมาย
นอกจากนั้นยังเกิด ความจาเป็นที่จะต้องรีบเร่งจัดกระบวนการให้สามารถออกแบบ และ
ผลิตสินค้าต่าง ๆ ได้อย่าง รวดเร็วยิ่งขึ้น อันเป็นแนวโน้มที่เรียกว่า การบีบอัดเวลา
ขณะเดียวกันก็มีความ พยายามที่จะพัฒนาให้อุปกรณ์ที่ผลิตนั้นทางานได้ด้วยความเร็วสูง
มากขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
• ความพยายามที่จะแข่งขันให้เหนือกว่าผู้อื่นทาให้บริษัทอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
ดาเนินการทาวิจัยค้นคว้ามากขึ้น บางแห่งได้จัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยของตนเองขึ้น และ
ดาเนินการวิจัยเป็น ความลับเพี่อไม่ให้คู่แข่งทราบ หรือคาดคะเนถูกว่าบริษัทกาลังทาอะไร
ส่วนบางแห่งใช้วิธีว่าจ้างสถาบันการศึกษาระดับสูงให้ทาวิจัยให้ การทาวิจัยนั้นถือว่าสาคัญ
มากต่อการพัฒนาประเทศและ เสริมสร้างความเข้มแข็งในด้านการทาธุรกิจ ดังนั้น
หน่วยงานระดับโลกที่คอยตรวจสอบ ความก้าวหน้าของประเทศต่าง ๆ จึงนิยมใช้ระดับ
การลงทุนในด้านการวิจัย และ ผลการวิจัยเป็น เครื่องชี้วัดระบุความเจริญของประเทศ
• ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ ได้ทาให้เกิดการบูรณาการทาง
เทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง การบูรณาการนี้หมายความถึงการที่อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีหนึ่ง
สามารถทางานร่วมกับอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีอื่น ๆ ได้อย่างไร้ตะเข็บ นั่นคือสามารถ
ทางานต่อเนื่องกันได้เป็นอย่างดี ความจาเป็นทางด้านบูรณาการนี้ได้นาไปสู่การกาหนด
มาตรฐานต่าง ๆ ทางด้านอุตสาหกรรมออกมามากมาย ตัวอย่างที่เห็นชัดเมื่อขาดมาตรฐาน
ก็คือปลั๊กไฟฟ้าของอุปกรณ์ในประเทศหนึ่ง ไม่สามารถใช้กับเต้าเสียบไฟฟ้าในอีกประเทศ
หนึ่งได้ เพราะแต่ละประเทศก็มีมาตรฐานทางด้านปลั๊กและเต้าเสียบต่างกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
นวัตกรรม โดยความหมายของคาแล้วก็คือ สิ่งใหม่ หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ อันเป็นผลมาจาก การ
คิดค้นทางด้านเทคโนโลยี เราอาจกล่าวได้ว่านวัตกรรมประกอบด้วย
1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีซึ่งเป็นของใหม่ทั้งต่อองค์การและต่อวงการอุตสาหกรรมนั้น
2. การเปลี่ยนแปลงที่กระจายไปล่วงการ และมีบริษัทนาไปใช้จริง
แต่ถ้าหากพิจารณาองค์ประกอบของนวัตกรรมแต่ละอย่างแล้ว อาจกล่าวได้ว่าประกอบด้วย
1. ฮาร์ดแวร์ หรือส่วนที่เป็นกายภาพของนวัตกรรม
2. ซอฟต์แวร์ หรือส่วนที่เป็นสารสนเทศสาหรับใช้งานนวัตกรรมนั้น
3. สารสนเทศสาหรับประเมิน หรือส่วนที่เป็นสารสนเทศสาหรับใช้ในการประเมินว่าสมควรใช้
นวัตกรรมนั้นหรือไม่
กระบวนการที่ทาให้เกิดนวัตกรรมมีสองอย่างด้วยกันคือ
1. Market-pull ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีซึ่งส่วนมากเน้นในการตอบสนองความต้องการ
เฉพาะของตลาดอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นเรื่องหลัก ส่วนการพยายามเพิ่มระดับความสามารถทางด้าน
เทคโนโลยีเป็นเรื่องรอง
2. Technology Push ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีซึ่งส่วนมากเน้นในด้านการเพิ่มระดับ
ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีเป็นเรื่องหลัก ส่วนการสนองตอบต่อตลาดด้านใดด้านหนึ่งเป็น เรื่องรอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
มรกต จันทร์กระพ้อ และกฤษดา เชียรวัฒนสุข (2562) ได้กล่าวว่า องค์การแห่ง
นวัตกรรมนั้นเป็นองค์การที่มุ่งเน้นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมในองค์การ โดยมีการบริหารจัดการ
ด้วยการริเริ่มสิ่งใหม่หรือการพัฒนาปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ บริการ โครงสร้างองค์การ
และกระบวนการดาเนินงาน ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญจากการขับเคลื่อนองค์การด้วยผู้นาแห่งการ
เปลี่ยนแปลงที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การสร้างบรรยากาศแห่งนวัตกรรม การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ ทีมงานและการจัดการความรู้ มีโครงสร้างองค์การแบบแนวราบและยืดหยุ่น
สามารถกระจายอานาจได้อย่างทั่วถึง รวมไปถึงการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกองค์การที่เป็น
ส่วนประกอบสาคัญในการขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ เป็นการปฏิรูปองค์การเพื่อ
ประเมินผลและปรับปรุงการดาเนินงานขององค์การภายใต้แนวคิดของการบริหารจัดการคุณภาพ
โดยรวม ให้เกิดผลลัพธ์ด้านลูกค้า ด้านบุคลากร ด้านสังคมและด้านธุรกิจ นอกจากนี้ การ
ประเมินผลด้านนวัตกรรมควรมีการจัดกระทาที่รวดเร็วและง่ายต่อการใช้งาน ทาให้เข้าใจถึง
ภาพรวมด้านรูปธรรม เช่น รายได้จากลูกค้าใหม่ งบประมาณด้านนวัตกรรม เป็นต้น และภาพรวม
ด้านนามธรรม เช่น ความรู้ความเข้าใจของพนักงาน สภาพแวดล้อมในการทางานและนวัตกรรม
ทางวัฒนธรรม เป็นต้น เพื่อสร้างองค์การแห่งนวัตกรรมที่มีความแตกต่างและมีความเป็นเลิศใน
การแข่งขันและยั่งยืน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
องค์ประกอบของการสร้างองค์การแห่งนวัตกรรม แนวคิดของ
Tidd,Bessant,and Pavitt (2005) โดยแบ่งเป็น 10 องค์ประกอบ ได้แก่
1) การมีวิสัยทัศน์ร่วมผู้นาและการมุ่งไปสู่นวัตกรรม (shared vision,
leadership and the will to innovation) หมายถึง ผู้นาที่มีบทบาทสาคัญในการถ่าย
ถอดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนและกลยุทธ์ใหม่แก่พนักงานในองค์การ โดยใช้ภาวะผู้นาแห่งการ
เปลี่ยนแปลง (transformational leadership) ซึ่งเป็นปัจจัยที่สาคัญในการเรียนรู้ การ
จัดการความรู้ และการสร้างนวัตกรรมในองค์การ จากการสนับสนุนให้พนักงานมีส่วนร่วม
ในการกาหนดวิสัยทัศน์ ส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการสร้างนวัตกรรมและให้อิสระทาง
ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน นอกจากนี้ หากพนักงานมีการรับรู้ถึงความสามารถของ
ตนเองสูงขึ้น ผ่านบรรยากาศนวัตกรรม จะทาให้ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของ
พนักงานสูงขึ้นตาม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
2) โครงสร้างองค์การที่เหมาะสม (appropriate organization structure)
หมายถึง โครงสร้างองค์การที่มีความยืดหยุ่นหรือแบบแนวราบ (flat organizational
structure) เป็นโครงสร้างที่เหมาะสมและสนับสนุนให้องค์การประสบความสาเร็จในการ
สร้างนวัตกรรม ผ่านการสื่อสารและการกระจายอานาจ อีกทั้งต้องให้ความสาคัญกับการ
สร้างเครือข่ายซึ่งทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและทรัพยากร โดยจะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางานทาให้มีอานาจในการต่อรองมากขึ้น
3) บุคลากรหลักขององค์การ (key individual) หมายถึง บุคลากรที่มี
ความสาคัญ เช่น ผู้ให้การสนับสนุนองค์การ ผู้นาองค์การสู่ความสาเร็จ ผู้กลั่นกรองข้อมูล
และทรัพยากรที่สาคัญขององค์การ หรือกลุ่มที่นาพาองค์การไปสู่ความสาเร็จ พร้อมที่จะ
ทุ่มเทและปรารถนาที่จะช่วยองค์การ โดยจะต้องออกแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การ
วางแผน การสรรหาการฝึกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงานและการบริหาร
จัดการค่าตอบแทน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
4) ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ (effective team working) หมายถึง การลงทุนในการ
สร้างและเลือกทีมงานให้มีการทางานเป็นกลุ่มหรือทีม เพื่อผลักดันให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และ
พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะทีมข้ามสายงาน (cross-functional team) ที่เป็น
ทีมงานชั่วคราวหรือตามโครงการที่มีความเชี่ยวชาญที่แตกต่างกัน โดยร่วมกันทางานไปสู่เป้าหมาย
ร่วมกัน ทาให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล ประสบการณ์ ที่ช่วยแก้ปัญหาได้มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
แต่จะต้องระบุภาระงานอย่างชัดเจน และผู้นาทีมงานที่มีประสิทธิภาพจะรักษาความสมดุล
ระหว่างพฤติกรรมของแต่ละสมาชิกในทีมงานให้ทางานร่วมกันได้อย่างราบรื่น
5) การฝึกอบรมและพัฒนาบุคคลที่ยืดหยุ่นและต่อเนื่อง (continuing and stretching
individual and development) หมายถึง ความรู้และทักษะที่มีความสาคัญต่อการสร้าง
นวัตกรรม จากการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรในองค์การ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์และพฤติกรรมนวัตกรรม ในการทดลองทาในสิ่งใหม่ โดยมีระบบงานที่สนับสนุน การ
จัดระบบงานและกระบวนการทางานให้เกิดความคิดใหม่ๆ และมีแรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรมที่
มีประสิทธิภาพ เช่น การสร้างแรงจูงใจที่เน้นการ ยอมรับทางสังคม และการประเมินผลที่ให้
ความสาคัญกับกระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
6) การขยายตัวการสื่อสาร (extensive communication) หมายถึง การสร้าง
รูปแบบการสื่อสารที่ครอบคลุม โดยต้องมีทิศทางและช่องทางในการสื่อสารที่หลากหลาย
ระหว่างภายในและภายนอกองค์การ ทั้งแนวดิ่งและแนวราบ
7) การมีส่วนร่วมในนวัตกรรมสูง (high involvement in innovation)
หมายถึง การปฏิบัติภายในองค์การและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการปรับปรุงทั่วทั้ง
องค์การอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคนิค วิศวกร
นักออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล นอกจากนี้ การกระจาย
อานาจ (decentralization) ในการตัดสินใจช่วยให้เกิดการตัดสินใจร่วมกัน และมีอิสระใน
การการมอบหมายหน้าที่ (delegation) และความรับผิดชอบให้แต่ละบุคคล โดยจะต้องมี
โครงสร้างอานาจที่เปิดกว้างและมีการกระจายอานาจความเป็นผู้นาให้พนักงานทั้งองค์การ
ทาให้องค์การมีศักยภาพในการสร้างนวัตกรรมมากขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
8) ปัจจัยภายนอก (external focus) หมายถึง สัญญาณของภัยคุกคามหรือ
โอกาสขององค์การเป็นการเปิดรับและเข้าใจมุมมองภายนอกองค์การ เป็นวิธีการพัฒนา
จากภายนอกสู่ภายใน (outside-in approach) ซึ่งเป็นกระบวนการที่บูรณาการความรู้
จากภายนอก หรือความต้องการของลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจ มาเพิ่มความสามารถในการ
สร้างนวัตกรรมขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ความสามารถในการรับรู้
และเข้าใจความต้องการของลูกค้าและตลาด การสื่อสารที่ชัดเจนสม่าเสมอ การแก้ปัญหา
และการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ร่วมกัน
9) บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ (creative climate) หมายถึง
ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากบรรยากาศการทางานที่ช่วยส่งเสริมให้บุคลากรมีความคิด
สร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรมให้กับองค์การ ได้แก่ โครงสร้างองค์การ นโยบาย ระบบ
รางวัลและการชื่นชม การฝึกอบรมและการวัดผลปฏิบัติงาน การจัดที่ทางานที่เอื้อต่อการ
สร้างสรรค์นวัตกรรม การสื่อสารแบบเปิดกว้างและการไว้วางใจซึ่งกันและกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
10) องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization: LO) หมายถึง การเรียนรู้
และการถ่ายโอนความรู้ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานของการสร้างนวัตกรรม ซึ่งเป็นกระบวนการ
ของการเรียนรู้ขององค์การ (Organizational Learning: OL) และการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM) จากความสามารถในการจัดการวงจรการเรียนรู้ให้อยู่
ในรูปที่ชัดแจ้ง เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือการนาเทคโนโลยีมาใช้ เป็นต้น ในการจัดการ
กระบวนการเรียนรู้จะต้องสร้างเงื่อนไขภายใต้โอกาสในการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้
เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังต้องสนับสนุนให้เกิดการสร้างและปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ในการ
ทางานประจาด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสร้างหลักสูตร การควบคุม การทดลอง
และการแบ่งปันข้อมูลหรือการสะท้อนกลับจากการเรียนรู้ในอดีตและมีการเชื่อมโยง
ระหว่างทีมงานและองค์ความรู้จากทั้งภายในและภายนอกเข้าด้วยกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
Porter and Tanner (2004) ได้เสนอแนวทางการก้าวสู่ความเป็นเลิศ ตามโมเดล
องค์การแห่งความเป็นเลิศโดยแบ่งออกเป็นค่านิยมหลักเป็นเลิศ ได้แก่ ภาวะผู้นา (leadership)
การมุ่งเน้นที่ลูกค้า (customer focus) การบูรณาการกลยุทธ์ (strategic integration) การ
เรียนรู้ขององค์การ (organizational learning) นวัตกรรมและการปรับปรุง (organization
learning, innovation and improvement) การมุ่งเน้นที่แรงงาน (workforce focus) การ
พัฒนาความร่วมมือ (partnership development) การจัดการด้วยความจริง (management
by facts) การมุ่งเน้นผลลัพธ์ (results orientation) และความรับผิดชอบต่อสังคม (social
responsibility) นอกจากนี้ ความเป็นเลิศขององค์การนั้นยังสามารถประเมินค่าบางส่วนโดยใช้
อัตราส่วนทางการเงิน (Jankal, 2014) ซึ่งมีเครื่องมือหรือการวัดที่ช่วยให้องค์การสามารถวัดและ
ประเมินระดับความเป็นเลิศขององค์การที่สาคัญ 3 เครื่องมือ ที่แตกต่างกันในบริบทและวิธีการวัด
และประเมินผล โดยเป็นเครื่องมือถูกพัฒนามาจากหลักการบริหารจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์การ
(Total Quality Management: TQM) ที่เป็นการวางแผนที่มีประสิทธิภาพและกลยุทธ์ที่ใช้ใน
การแก้ปัญหา เช่น ทรัพยากรมนุษย์และทรัพย์สินได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องทั่วทั้ง
องค์การ ได้แก่
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
1) รางวัลเดมมิ่ง (Deming Prize Award) ได้รับการพัฒนาโดย W. Edward
Deming เป็นการให้รางวัลแรกของโลกในด้านการวัดและประเมินผลองค์การและเพิ่ม
คุณภาพการให้บริการแก่องค์การที่สามารถรักษาระดับความสามารถในด้านการบริหาร
จัดการคุณภาพและผลกาไรได้อย่างสม่าเสมอ ด้วยหลักคุณภาพ 14 ข้อ ได้แก่ (1) การ
สร้างความสม่าเสมอในการปรับปรุงคุณภาพ (2) ปฏิเสธการยอมให้เกิดข้อบกพร่อง (3) ยุติ
การตรวจสอบเพื่อให้ได้คุณภาพ (4) ลดจานวนคู่ค้าโดยซื้อจากหลักฐานทางสถิติไม่ใช่ราคา
(5) ปรับปรุงทุกกระบวนการอย่างสม่าเสมอ (6) จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับการทางานที่ทันสมัย
(7) การดูแลและช่วยให้เกิดการทางานที่ดีขึ้น (8) ขจัดความกลัว (9) ทาลายกาแพงที่ขวาง
กั้นระหว่างหน่วยงาน (10) ขจัดคาขวัญ คาแนะนาและเป้าหมายที่กาหนดให้พนักงานทา
(11) ขจัดโควตาที่ให้พนักงานทาและเป้าหมายทางตัวเลขทางการบริหาร (12) ขจัด
อุปสรรคที่ทาลายความภาคภูมิใจของพนักงานและการประเมินผลประจาปี (13) จัดทา
แผนการศึกษาและการฝึกอบรมที่เข้มแข็งให้แก่พนักงาน และ (14) กาหนดความมุ่งมั่นใน
ทางานให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพและผลิตภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
2) รางวัลคุณภาพแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldrige National Quality
Award: MBNQA) เป็นรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่ได้รับการยอมรับทั่วโลกว่าแสดงถึงความเป็นเลิศ
ในการบริหารจัดการองค์การในระดับมาตรฐานสากลโลก โดยพิจารณาจากเกณฑ์ความเป็นเลิศทั้ง
7 ด้าน ได้แก่ (1) การนาองค์การ (2) การวางแผนกลยุทธ์ (3) การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ
ตลาด (4) สารสนเทศและการวิเคราะห์ (5) การให้ความสาคัญแก่บุคลากรและหน่วยงาน (6)
กระบวนการบริหาร และ (7) ผลการดาเนินงาน กลายเป็นต้นแบบของรางวัลคุณภาพต่าง ๆ เช่น
รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award: TQA) รางวัลคุณภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ระบบการ
ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal: SEPA) และเกณฑ์
คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (Educational Criteria for Performance
Excellence: EdPEx) เป็นต้น และการออกแบบรางวัลให้แก่ องค์การที่มีความเป็นเลิศทางธุรกิจ
จะได้รับการส่งเสริมและเป็นที่รู้จักในด้านนวัตกรรมทางธุรกิจ ได้รับการยอมรับและชื่นชมใน
ความสาเร็จของธุรกิจ เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีและสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับธุรกิจอื่น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
3) ตัวแบบมูลนิธิยุโรปเพื่อการจัดการคุณภาพ (European Foundation for
Quality Management: EFQM) เป็นองค์การที่ทาหน้าที่รับรองมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ขององค์การ โดยอาศัยเกณฑ์ความเป็นเลิศ 9 ข้อ โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ด้าน
ปัจจัยต้น(enablers) ประกอบไปด้วย ภาวะผู้นา(leadership) กลยุทธ์ (strategy)
บุคลากร (people) ความร่วมมือและทรัพยากร (partnerships and resources) และ
กระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการ (processes products and services) และ (2)
ด้านผลลัพธ์ (results) ประกอบไปด้วย ผลลัพธ์ด้านลูกค้า (customer results) ผลลัพธ์
บุคลากร (people results) ผลลัพธ์ทางสังคม (society results) และผลลัพธ์ทางธุรกิจ
(business results) นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับสูงทั่วโลกมีความท้าทายในการสร้าง
นวัตกรรม จึงทาให้ตัวแบบ EFQM มีการปรับปรุงโครงสร้างที่เป็นนวัตกรรม เพื่อให้เป็น
ส่วนหนึ่งของกลยุทธ์และสร้างเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนสาหรับนวัตกรรม ทาให้
องค์การสามารถปรับปรุงและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ บริการกระบวนการและสร้าง
วัฒนธรรมแห่งนวัตกรรมได้อย่างมีคุณภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
ณฤทธิ์ วรพงษ์ดี (2562) กล่าวว่า ธุรกิจที่เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ เช่น เกิดจากไอเดียเพื่อ
แก้ปัญหา เห็นโอกาสทางธุรกิจที่ยังไม่มีคนทามาก่อน สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว (Growth)
ออกแบบให้มีการทาซ้าได้ง่าย (Repeatable) ขยายกิจการได้ง่าย (Scalable) มีการใช้เทคโนโลยี
และนวัตกรรมเป็นหัวใจหลักต้องทาซ้าได้ (Repeatable) และขยายตัว (Scalable) หรือเติมโต
แบบก้าวกระโดด โดยไม่ต้องใช้ต้นทุนในการขยายกิจการจานวนมหาศาล
พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ (2560) กล่าวว่า “ธุรกิจเกิดใหม่ที่ต้องการสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วย
แนวคิดที่แตกต่าง โดยใช้กระบวนการและนวัตกรรมที่ไม่เหมือนใคร เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง
นั้น ๆ ทาให้ธุรกิจสามารถทาซ้า (Repeatable) ขยายตลาด (Scalable) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและ
เติบโตได้อย่างก้าวกระโดด (Exponential Growth)”
ชัยวัฒน ใบไม้ (2560) หมายถึง ผู้ประกอบการรายใหม่ที่ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยี
เป็นตัวหลักในการขับเคลื่อนธุรกิจ เพื่อสร้างสินค้าหรือบริการที่เกิดมูลค่าเพิ่ม จนกลายเป็นธุรกิจ
เชิงพาณิชย์ที่เติบโตได้อย่างรวดเร็ว
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
ธุรกิจเกิดใหม่ หรือ Startup คือ กลุมบุคคล หรือองคกรธุรกิจขนาดเล็กที่เคยทา
ธุรกิจมาก่อนหรือผู้ประกอบรายใหม่ที่ได้จัดตั้งขึ้น ด้วยบุคลากรและทรัพยากรจานวนน้อย
ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีเป็นตัวหลักในการขับเคลื่อนธุรกิจ โดยธุรกิจเริ่มต้นจากจุดเล็ก
ๆ เช่น เกิดจากไอเดียเพื่อแก้ปัญหา เห็นโอกาสทางธุรกิจที่ยังไม่มีคนทามาก่อน สามารถ
เติบโตได้อย่างรวดเร็ว (Growth) ออกแบบให้มีการทาซ้าได้ง่าย (Repeatable) ขยาย
กิจการได้ง่าย (Scalable) เพื่อสร้างสินค้าหรือบริการที่เกิดมูลค่าเพิ่ม ภายใต้ความมุ่งมั่นที่
จริงจังและต่อเนื่อง เพื่อเป้าหมายของชีวิต ทั้งในด้านทรัพย์สิน และการเป็นที่ยอมรับถึง
อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโลก
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
ThaiTuykeyClub (2560) ได้เขียนขั้นตอนการเริ่มทาทาธุรกิจ Startup (สตาร์ทอัพ) ไว้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ถ้าหากคุณต้องการที่จะสร้างธุรกิจ Startup คุณจะต้องมองไปในอนาคตว่ามี
อะไรเกิดขึ้นบ้าง มีเทรนด์หรือแนวโน้มในด้านต่าง ๆ ไปตามทิศทางไหน เพื่อที่คุณจะได้มองหาสิ่งที่ยังขาด
อยู่
ขั้นตอนที่ 2 ยังมีผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ยังไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาและมีความต้องการมหาศาล เมื่อ
มองไปยังอนาคตแล้ว เราเห็นสิ่งที่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่ได้ ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์ด้านการบริการหรือ
ผลิตภัณฑ์ อะไรก็แล้วแต่ ลองคิด แล้วจึงลงมือทาดู เชื่อเถอะว่า คุณอาจจะเป็นผู้ที่ที่ประสบความสาเร็จใน
อนาคตก็เป็นได้
ขั้นตอนที่ 3 เอาสิ่งที่เราเห็นในอนาคต Product Service ที่น่าจะสร้างขึ้นมาและเติบโตอย่าง
รวดเร็ว นามาเขียนผังความคิด เพื่อให้สามารถออกแบบและพัฒนาต่อไปได้ง่ายขึ้น
ขั้นตอนที่ 4 สร้างตัว Prototype ขึ้นมา เป็นตัวต้นแบบในการนาไปทดสอบความต้องการของ
ลูกค้าในอนาคต
ขั้นตอนที่ 5 เมื่อได้ตัว Prototype มาแล้ว ก็จะถึงขั้นตอนการนาเสนอ ทาไมเราต้องนาเสนอ ?
เราต้องนาเสนอเพื่อให้ได้ Input มา โดยการไปนาเสนอคนอื่น 100 คน ความคิดเห็นจากคนที่ฟังเรา ก็จะ
เป็น Feedback กลับมา
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
ขั้นตอนที่ 6 นา Feedback ที่ได้จากคน 100 คน มาพัฒนา Product Prototype
ให้มันตอบสนองความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนที่ 7 สร้างทีม หาผู้ร่วมงาน Co-founder การทาธุรกิจไม่ควรทาแค่คนเดียว
เพราะมีงานหลายอย่างที่จะต้องดาเนินการ
ขั้นตอนที่ 8 เมื่อมีทีมงานแล้ว เราก็มาจดทะเบียนบริษัทให้เป็นนิติบุคคล
ขั้นตอนที่ 9 มองหาเงินทุน และยังคงพัฒนา Service ไปในเวลาเดียวกัน
ขั้นตอนที่ 10 เริ่มปล่อย Prototype ที่ผ่านการวิเคราะห์วิจารณ์ มาในระดับหนึ่ง แล้ว
และค่อนข้างแน่ใจว่ามันใช้ได้
ขั้นตอนที่ 11 ติดตามดูว่าตัว Prototype ที่เราปล่อยออกไป มีลูกค้ากลับเข้ามาใช้
หรือไม่ ?
ขั้นตอนที่ 12 ถ้ามีลูกค้าเข้ามาใช้ เราดูว่ามีลูกค้าถึง 1,000 คน หรือไม่ ?
ขั้นตอนที่ 13 เมื่อมีลูกค้าถึง 1,000 คน เราจะต้องทาให้มันโตประมาณ 5% ต่อสัปดาห์
ขั้นตอนที่ 14 ถ้าหากเราสามารถทาให้มีลูกค้า 5 % ต่อสัปดาห์ ภายใน 4 ปี จะทาให้
เรามีลูกค้าถึง 25 ล้านคนและเมื่อเรามีลูกค้ามากถึง 25 ล้านคน เราก็จะเป็นธุรกิจ Startup ที่
ประสบความสาเร็จนั่นเอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
ณฤทธิ์ วรพงษ์ดี (2562) ได้เขียนช่วงการเติบโตของสตาร์ทอัพไว้ 3 ช่วง ดังนี้
ช่วงที่ 1 เป็นช่วงเริ่มต้นที่เน้นการพิสูจน์ว่าปัญหาที่เรากาลังนึกถึงมีอยู่จริง มีกลุ่ม
ลูกค้าที่ต้องการการแก้ไข และทาให้เราพอจะคิดผลิตภัณฑ์ตั้งต้นที่สามารถแก้ปัญหานั้นได้
ช่วงที่ 2 เป็นขั้นตอนของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้สิ่งที่ตอบโจทย์กับความ
ต้องการของตลาด
ช่วงที่ 3 เป็นช่วงของการขยายการเติบโต หลังจากผลิตภัณฑ์สามารถตอบโจทย์
ตลาด เพื่อให้ได้ฐานลูกค้าที่มากขึ้น และได้โมเดลทางธุรกิจที่เหมาะสม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
ไกรวิทย์ โพธิ์ดม และ ขวัญฤดี พรชัยทิวัตถ์ (2562) ได้ศึกษาเรื่อง “ปัจจัยแห่ง
ความสาเร็จของธุรกิจซอฟต์แวร์สตาร์ทอัพ” พบว่ามี 8 ปัจจัย ได้แก่ ทักษะพื้นฐานของการ
ประกอบธุรกิจซอฟต์แวร์สตาร์ทอัพ ความสามารถในการสร้างผลิตภัณฑ์ได้รวดเร็ว
ผลิตภัณฑ์ดึงดูดและจูงใจให้ลูกค้าใช้งาน ติดตามเทคโนโลยีและเทรนของผลิตภัณฑ์ การ
ส่งเสริมและสนับสนุนการทาสตาร์ทอัพจากรัฐบาลและเอกชน คุณภาพขององค์การและ
ผลิตภัณฑ์ ความสามารถในการบริหารของผู้ก่อตั้ง และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องต่อ
ความต้องการของลูกค้า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
สุพเนตร แสนเสนา และคณะ (2561) ได้ศึกษาในเรื่อง “ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ของธุรกิจ Startup” จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้ธุรกิจ Startup ประสบ
ความสาเร็จมีอยู่หลักๆ 5 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านจังหวะเวลา ปัจจัยด้านทีมงาน ปัจจัยด้าน
แนวความคิดใหม่ๆ ปัจจัยด้านแผนธุรกิจและปัจจัยด้านเงินทุน ซึ่งปัจจัยแต่ละด้านก็ขึ้นอยู่
กับประเภทของธุรกิจ Startup นั้น ๆด้วยว่าจะให้ความสาคัญกับปัจจัยด้านไหนเป็นอันดับ
แรก ดังนั้นธุรกิจ Startup จะประสบความสาเร็จได้นั้นจะต้องมีหนึ่งใน 5 ปัจจัยนี้เป็นหลัก
อย่างไรก็ตามธุรกิจ Startup ที่จะประสบความสาเร็จได้คือ ธุรกิจต้องสามารถตอบโจทย์
และแก้ปัญหาได้ตามความต้องการของผู้บริโภคได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
กฤษยา มะแอ และ กฤษณา ฝังใจ (2561) ได้ศึกษาเรื่อง “ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
ของวิสาหกิจเริ่มต้น (สตาร์ทอัพ) ในประเทศไทย” ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยสู่ความสาเร็จ
ของสตาร์อัพในประเทศไทย ขึ้นอยู่กับลักษณะการดาเนินงาน และกลุ่มเป้าหมายที่
แตกต่างกันโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ ประเภทพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะให้ความสาคัญกับ
ปัจจัยด้านจังหวะเวลาเป็นสาคัญ ธุรกิจประเภท User-Generated Content จะให้
ความสาคัญกับปัจจัยด้านทีมเป็นสาคัญ ธุรกิจสตาร์ทประเภทบริการจะให้ความสาคัญกับ
ปัจจัยด้านแนวความคิดใหม่ ๆ ความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถเรียกความสนใจให้คนมาใช้
บริการได้ โดยหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจในทุกประเภทคือ รูปแบบในการดาเนิน
ธุรกิจ (Business Model)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
Engineering Today (2562) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการสตาร์ทอัพ โดย บิล
กรอส (Key Success Factors in Startup by Bill Gross) เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New
Management Tools) โดยที่ บิล กรอส (Bill Gross) เป็นนักลงทุนและผู้ก่อตั้งบริษัท Idealab ใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทาการวิจัยและศึกษา พบว่าการที่บริษัทเกิดใหม่จะประสบความสาเร็จนั้นต้องมี
ปัจจัย 5 อย่าง ซึ่งประกอบไปด้วย 1. แนวคิดหรือไอเดียในการทาธุรกิจ ต้องมีความแปลกใหม่มีความ
น่าสนใจ ตอบโจทย์ปัญหา หรือ Pain Point ของผู้บริโภคได้ และสร้างความเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่าง
ที่จะทาให้เกิดความสะดวกสบายมากขึ้น 2. ทีมงาน เมื่อมีไอเดียที่ดีแล้ว คุณจาเป็นต้องหาผู้ที่มาร่วมกัน
ทางานเป็นทีม เพราะธุรกิจไม่สามารถประสบความสาเร็จได้ด้วยตัวคนเดียว การคัดเลือกคนมาร่วมในทีม
ทางานจึงเป็นเรื่องสาคัญมาก 3. แผนธุรกิจที่ชัดเจน ว่าสินค้าหรือบริการของธุรกิจคืออะไร กลุ่มลูกค้า
เป้าหมายเป็นใคร จะสร้างรายได้จากจุดไหนได้บ้าง แผนธุรกิจที่ชัดเจนจะเป็นตัวขับเคลื่อนธุรกิจให้เดินไป
ในทางที่ถูกต้อง ธุรกิจที่คุณทาจะต้องสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคได้ และสามารถสร้าง
ความแตกต่างให้เกิดขึ้นในใจผู้บริโภคด้วย เพื่อการเติบโตของธุรกิจที่ยั่งยืน 4. เงินทุน เป็นปัจจัยสาคัญใน
การเริ่มต้นทาธุรกิจ เพราะหากไม่มีเงินทุนแล้วธุรกิจคงไปได้ยาก แต่หากวิเคราะห์ให้ลึกกว่านี้ การมีเงินทุน
ที่มากพอ ก็ไม่ได้รับรองว่าธุรกิจของคุณจะไปรอด เพราะนอกจากมีเงินทุนแล้ว การบริหารเงินทุนรวมถึง
การจัดทาบัญชีอย่างรอบคอบก็เป็นส่วนสาคัญในการทาธุรกิจเช่นกัน 5. จังหวะเวลา การทาธุรกิจนั้นต่อให้
มีปัจจัยทั้ง 4 ที่กล่าวมาข้างต้นเพียบพร้อมแล้ว แต่ถ้าธุรกิจเปิดตัวและดาเนินการในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม
เช่น ในช่วงตลาดอิ่มตัว หรือมีตัวเลือกมาก ก็จะทาให้ธุรกิจไม่ประสบความสาเร็จ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
การทาธุรกิจเกิดใหม่ให้ประสบความสาเร็จ ประกอบด้วยปัจจัยดังต่อไปนี้ แนวคิด
ในการทาธุรกิจที่แปลกใหม่ สร้างสรรค์และตอบโจทย์ปัญหาได้ ทีมงานที่ดี เข้าใจกัน มี
แนวคิดการทางานที่ตรงกันและให้ความร่วมมือที่ดี แผนธุรกิจ การวางแผนที่ชัดเจนเพื่อให้
ธุรกิจไปในทิศทางที่ต้องการ เงินทุนและแหล่งทุนทั้งที่เป็นทุนตัวเองและระดมทุน จังหวะ
เวลาการทาธุรกิจ ดาเนินการในช่วงเวลาที่เหมาะสม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
1. เทคโนโลยีแบ่งออกได้กี่ลักษณะ อะไรบ้าง
2. บทบาทของเทคโนโลยีต่อการปฏิบัติงานขององค์การเป็นอย่างไร
3. เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่มาสาเหตุอะไร
4. กระบวนการทื่ทาให้เกิดนวัตกรรมมีกี่อย่างอะไรบ้าง
5. องค์ประกอบของการสร้างองค์การแห่งนวัตกรรมเป็นอย่างไร
6. ทาอย่างไรจึงจะขับเคลื่อนองค์การแห่งนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศขององค์การ
7. ธุรกิจเริ่มต้นใหม่คืออะไร
8. ขั้นตอนการทาธุรกิจเกิดใหม่มีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง
9. ปัจจัยความสาเร็จของธุรกิจเริ่มต้นใหม่
10. ให้ยกตัวอย่างธุรกิจเริ่มต้นใหม่ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35

More Related Content

What's hot

Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processTeetut Tresirichod
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingTeetut Tresirichod
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บบทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บTeetut Tresirichod
 
Leaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptx
Leaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptxLeaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptx
Leaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptxmaruay songtanin
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซบทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for service
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinking
 
Chapter 4 empathize
Chapter 4 empathizeChapter 4 empathize
Chapter 4 empathize
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
Chapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of designChapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of design
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บบทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ  อินเทอร์เน็ตและเว็บ
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานของอีคอมเมิร์ซ อินเทอร์เน็ตและเว็บ
 
Leaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptx
Leaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptxLeaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptx
Leaders and Digital Transformations ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล.pptx
 
Chapter 8 test
Chapter 8 testChapter 8 test
Chapter 8 test
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซบทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซ
 

Similar to Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of innovation quality

งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศmulhee
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีJintana Thipun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & TleInnovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & TlePhavanunchai Sawadsala
 
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55kvcthidarat
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itatiwaporn
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itatiwaporn
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 

Similar to Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of innovation quality (20)

Peter drucker
Peter druckerPeter drucker
Peter drucker
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
Part1 math sec.2
Part1 math sec.2Part1 math sec.2
Part1 math sec.2
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & TleInnovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
Innovation chapter 1 by P Net Nheng & Tle
 
Innovation chapter 1 bymm
Innovation chapter 1 bymmInnovation chapter 1 bymm
Innovation chapter 1 bymm
 
J5
J5J5
J5
 
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55คอศ.1  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
คอศ.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ...1 ต.ค.55
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Ita
 
การเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Itaการเพิ่มผลผลิต Ita
การเพิ่มผลผลิต Ita
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (16)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
System management
System managementSystem management
System management
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 

Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of innovation quality

  • 3. สามารถจาแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (Heinich , Molenda and Russell, 1993) 1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ ( process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบ ของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนาไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนาไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ 2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็น ผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี 3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (process and product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทางานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับ โปรแกรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. ครรชิต มาลัยวงศ์ (2548) ได้กล่าวไว้ว่า หน่วยงานต่าง ๆ ลวนใชเทคโนโลยี ใน การดาเนินงานเทคโนโลยีที่ใชมากก็คือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เทคโนโลยีเหลานี้เป็นทรัพยากรที่สาคัญและจาเป็นต้องได้รับการจัดการอย่างถูกต้องและ เหมาะสม มิฉะนั้นแทนที่เทคโนโลยีจะเป็นประโยชน์กลับจะเป็นภาระหรือตัวถ่วงทาให้ หน่วยงานไม่สามารถปฏิบัติงานตามพันธกิจได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. องค์การที่ใช้เทคโนโลยีเป็นหลักนั้น เทคโนโลยีมีความสาคัญต่อการปฏิบัติงาน อย่างแน่นอน ในทุก ๆ ด้าน หากองค์การไม่รู้จักใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์แล้ว ย่อมจะ ไม่สามารถบริหารจัดการให้องค์การประสบความสาเร็จได้ เทคโนโลยีนั้นเป็นทั้งกลยุทธ์ใน การดาเนินงาน เป็นทั้งเครื่องมือสาหรับการปฏิบัติงาน เป็นทั้งระบบที่สนับสนุนให้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถให้บริการแก่ลูกค้า อีกทั้งยังช่วยในการสร้างเสริมพันธมิตรทางธุรกิจให้ มั่นคงมากขึ้นด้วย สาหรับองค์การที่ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีเป็นหลักในการปฏิบัติงานนั้น จะพบว่ากลับ ต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารค่อนข้างมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์การ ประเภทใด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. • เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่องค์การจะต้องใช้ ณ เวลาที่เกิดข้อมูลนั้น ข้อมูลนี้ เรียกว่า transaction • เป็นเครื่องมือในการบันทึกข้อมูลที่จัดเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ที่เรียกว่า Database เพื่อให้ง่ายต่อ การจัดการ และการค้นคืนข้อมูลออกมาใช้งาน รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่นิ่งแล้ว เป็นคลังข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Data warehouse • เป็นเครื่องมือในการประมวลผลข้อมูลในแบบต่าง ๆ เช่นระบบ MIS ระบบ EIS ระบบ DSS นอกจากนั้น ยังเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบออนไลน์ หรือที่เรียกว่า OLAP (Online Analysis Processing) ด้วย • เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานกับเอกสารต่าง ๆ เพื่อลดการใช้และการจัดเก็บกระดาษที่ไม่จาเป็นด้วย ระบบ Document Management System ระบบ Office Automation ระบบประชุมทางไกล (Tele Conference) รวมไปถึงระบบกระแสงาน หรือ Work Flow และ ระบบกลุ่มงาน (Work Group) • เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บและจัดการความรู้ (Knowledge management system) เพื่อบันทึก ทักษะ และประสบการณ์ของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานเอาไว้ • เป็นเครื่องมือในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ด้วยระบบอินเทอร์เน็ต อึนทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต และ เวิลด์ไวด์เว็บ และการประยุกต์ระบบนี้ก็นาไปสู่งานอื่น ๆ อีกมากเช่น การทาธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ (E-business) และ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) การจัดฝึกอบรมและการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) • เป็นเครื่องมือและอุปกรณ์อัตโนมัติ เช่น Computer Numerical Control หรือ CNC ระบบหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม ฯลฯ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. เทคโนโลยีทั้งหลายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เทคโนโลยีบางอย่างที่เคยได้รับ ความสนใจ ใช้กันมากมายมาระยะหนึ่ง ต่อมาก็อาจล้าสมัยและไม่มีใครใช้ต่อไป ขณะเดียวกันก็มีผู้คิดค้น เทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นและนาไปผลิตเป็นอุปกรณ์ออกจาหน่ายใน ตลาด เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่นั้น ปกติยังไม่สามารถทาให้ลูกค้าจานวนมากสนใจได้ใน ทันทีทันใด ลูกค้าอาจยังไม่แน่ใจในประสิทธิภาพของเทคโนโลยีหรืออุปกรณ์นั้น หรืออาจ ยังไม่พร้อมที่จะเปลี่ยน มาใช้เทคโนโลยีใหม่ ดังนั้นการยอมรับของตลาดในระยะแรกจะ เป็นไปอย่างช้า ๆ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีใหม่นั้นเป็นที่รู้จักมากขึ้น และมีผู้ยอมรับมากขึ้น อัตราการขายเข้าสู่ตลาดก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย เทคโนโลยีนั้นอาจได้รับการปรับปรุงให้ดี มากยิ่งขึ้นหลังจากเข้าสู่ตลาด ได้ระยะหนึ่ง ผลก็คือ เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการ ยอมรับในแต่ละช่วงเวลาเริ่มชันมากขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. อย่างไรก็ตาม เมื่อเทคโนโลยีนั้นได้เข้าสู่ตลาดระยะหนึ่งจนทาให้ตลาดเริ่มอิ่มตัว แล้ว เทคโนโลยีนั้นก็เริ่มจะมีอัตราการจาหน่ายที่ช้าลง ซึ่งเป็นไปตามวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้จากสาเหตุหลาย ประการ เช่น ตลาดเริ่มอิ่มตัว หรือ ลูกค้าคาดหมายว่าจะมีเทคโนโลยีใหม่เข้ามาแทนที่ เมื่อเป็นเช่นนี้ เส้นแสดงความสัมพันธ์ก็ เริ่มจะลาดเอียงในแนวนอนมากขึ้น สุดท้าย เมื่อเกิดเทคโนโลยีใหม่ที่อาจดีกว่า หรือ มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเข้าสู่ตลาด ลูกค้าก็อาจ ตัดสินใจไปใช้เทคโนโลยีใหม่กันหมด ดังนั้น เทคโนโลยีที่เคยเป็นเรื่องใหม่ในอดีตก็เริ่มจะจาหน่าย ไม่ได้ และต้องยุติการจาหน่ายใน ตลาดลง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 9. การที่จะทาความเข้าใจเทคโนโลยีได้ดี จาเป็นต้องเริ่มด้วยการทาความเข้าใจสิ่งแวดล้อม ทางเทคโนโลยีก่อน ในทางทฤษฎีแล้ว เราอาจพิจารณาสิ่งแวดล้อมทางเทคโนโลยีได้เป็นสามระดับ คือ ระดับแรก หมายถึงสิ่งแวดล้อมทางการปฏิบัติงานขององค์การ ได้แก่ ลูกค้า ซัพพลายเออร์ คู่แข่ง ธนาคาร องค์การของรัฐ องค์การเอกชน สมาคมทางด้านธุรกิจที่หน่วยงาน หรือบริษัท เกี่ยวข้อง ระดับที่สอง หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่เป็นอุตสาหกรรมหรือคู่แข่งที่หน่วยงานหรือบริษัท จะต้องปฏิบัติงานอยู่ สิ่งแวดล้อมนี้เกี่ยวข้องกับการร่วมมือ การกาหนดมาตรฐาน การจัดหา ชิ้นส่วนหรือวัตถุดิบสาหรับนามาใช้งาน การก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมของบริษัทใหม่ ๆ การแข่งขัน และกีดกันของ บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน สิ่งแวดล้อมเหล่านี้มีลักษณะแตกต่างกันไปสุด แท้แต่อุตสาหกรรม และขณะเดียวกัน แม้จะเป็นบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันก็อาจจะตกอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่ต่างกันได้ ระดับที่สาม หมายถึง สิ่งแวดล้อมระดับมหภาคสิ่งแวดล้อมนี้ ครอบคลุม อุตสาหกรรมต่าง ๆ หมดทุกด้าน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
  • 10. • สังคมโลกได้เปลี่ยนไป จากยุคเกษตร ไปสู่ยุคอุตสาหกรรม ยุคสารสนเทศ และ กาลังก้าวไปสู่ยุค ความรู้ การเปลี่ยนสังคมในแต่ละยุคเกิดชิ้นเพราะการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ ขณะเดียวกันความก้าวหน้าของสังคมในแต่ละยุคก็เป็นตัวการผลักดัน ให้มีการคิดค้นเทคโนโลยี และนวัตกรรมเพิ่มชิ้น • การศึกษาระดับต่าง ๆ ได้เปลี่ยนไป เช่น การศึกษาทางระดับอุดมศึกษาซึ่งแต่ ก่อนเน้นการรู้และ การคิดค้นทางทฤษฎี โดยเฉพาะทางด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเปลี่ยนไปเป็น การเน้นการปฏิบัติ และการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี มากขึ้น เช่นวิชาการทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และ ด้านเทคโนโลยี แขนงต่าง ๆ การ เปลี่ยนแนวทางนี้ในทางหนึ่งมีส่วนส่งเสริม ให้เกิดผู้สนใจที่จะพัฒนาเทคโนโลยีและอุปกรณ์ ต่าง ๆ มากขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
  • 11. • การนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในกิจการต่าง ๆ ของหน่วยงาน ได้ทาให้เกิดการ จัดเก็บข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ต่าง ๆ เอาไว้อย่างมากมายมหาศาล อาจกล่าวได้ว่า ความรู้ของมนุษย์เพิ่มพูน ขึ้นเท่าตัวในเวลาเพียงสิบปี การเพิ่มพูนความรู้ ผสมผสานกับ ความสะดวกสบายในการค้นคืน ความรู้ ทาให้มนุษย์สามารถคิดค้นเทคโนโลยีใหม่และ ประดิษฐ์อุปกรณ์ใหม่ ๆ ออกมาได้อย่างรวดเร็วมาก • ความจาเป็นทางด้านการแข่งขันขององค์การต่าง ๆ ทาให้แต่ละองค์การต้องขวนขวาย พัฒนา เทคโนโลยีและอุปกรณ์ใหม่ ๆ ออกมาจาหน่าย และใช้งานกันอย่างมากมาย นอกจากนั้นยังเกิด ความจาเป็นที่จะต้องรีบเร่งจัดกระบวนการให้สามารถออกแบบ และ ผลิตสินค้าต่าง ๆ ได้อย่าง รวดเร็วยิ่งขึ้น อันเป็นแนวโน้มที่เรียกว่า การบีบอัดเวลา ขณะเดียวกันก็มีความ พยายามที่จะพัฒนาให้อุปกรณ์ที่ผลิตนั้นทางานได้ด้วยความเร็วสูง มากขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 12. • ความพยายามที่จะแข่งขันให้เหนือกว่าผู้อื่นทาให้บริษัทอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ดาเนินการทาวิจัยค้นคว้ามากขึ้น บางแห่งได้จัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยของตนเองขึ้น และ ดาเนินการวิจัยเป็น ความลับเพี่อไม่ให้คู่แข่งทราบ หรือคาดคะเนถูกว่าบริษัทกาลังทาอะไร ส่วนบางแห่งใช้วิธีว่าจ้างสถาบันการศึกษาระดับสูงให้ทาวิจัยให้ การทาวิจัยนั้นถือว่าสาคัญ มากต่อการพัฒนาประเทศและ เสริมสร้างความเข้มแข็งในด้านการทาธุรกิจ ดังนั้น หน่วยงานระดับโลกที่คอยตรวจสอบ ความก้าวหน้าของประเทศต่าง ๆ จึงนิยมใช้ระดับ การลงทุนในด้านการวิจัย และ ผลการวิจัยเป็น เครื่องชี้วัดระบุความเจริญของประเทศ • ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ ได้ทาให้เกิดการบูรณาการทาง เทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง การบูรณาการนี้หมายความถึงการที่อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีหนึ่ง สามารถทางานร่วมกับอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีอื่น ๆ ได้อย่างไร้ตะเข็บ นั่นคือสามารถ ทางานต่อเนื่องกันได้เป็นอย่างดี ความจาเป็นทางด้านบูรณาการนี้ได้นาไปสู่การกาหนด มาตรฐานต่าง ๆ ทางด้านอุตสาหกรรมออกมามากมาย ตัวอย่างที่เห็นชัดเมื่อขาดมาตรฐาน ก็คือปลั๊กไฟฟ้าของอุปกรณ์ในประเทศหนึ่ง ไม่สามารถใช้กับเต้าเสียบไฟฟ้าในอีกประเทศ หนึ่งได้ เพราะแต่ละประเทศก็มีมาตรฐานทางด้านปลั๊กและเต้าเสียบต่างกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. นวัตกรรม โดยความหมายของคาแล้วก็คือ สิ่งใหม่ หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ อันเป็นผลมาจาก การ คิดค้นทางด้านเทคโนโลยี เราอาจกล่าวได้ว่านวัตกรรมประกอบด้วย 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีซึ่งเป็นของใหม่ทั้งต่อองค์การและต่อวงการอุตสาหกรรมนั้น 2. การเปลี่ยนแปลงที่กระจายไปล่วงการ และมีบริษัทนาไปใช้จริง แต่ถ้าหากพิจารณาองค์ประกอบของนวัตกรรมแต่ละอย่างแล้ว อาจกล่าวได้ว่าประกอบด้วย 1. ฮาร์ดแวร์ หรือส่วนที่เป็นกายภาพของนวัตกรรม 2. ซอฟต์แวร์ หรือส่วนที่เป็นสารสนเทศสาหรับใช้งานนวัตกรรมนั้น 3. สารสนเทศสาหรับประเมิน หรือส่วนที่เป็นสารสนเทศสาหรับใช้ในการประเมินว่าสมควรใช้ นวัตกรรมนั้นหรือไม่ กระบวนการที่ทาให้เกิดนวัตกรรมมีสองอย่างด้วยกันคือ 1. Market-pull ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีซึ่งส่วนมากเน้นในการตอบสนองความต้องการ เฉพาะของตลาดอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นเรื่องหลัก ส่วนการพยายามเพิ่มระดับความสามารถทางด้าน เทคโนโลยีเป็นเรื่องรอง 2. Technology Push ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีซึ่งส่วนมากเน้นในด้านการเพิ่มระดับ ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีเป็นเรื่องหลัก ส่วนการสนองตอบต่อตลาดด้านใดด้านหนึ่งเป็น เรื่องรอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. มรกต จันทร์กระพ้อ และกฤษดา เชียรวัฒนสุข (2562) ได้กล่าวว่า องค์การแห่ง นวัตกรรมนั้นเป็นองค์การที่มุ่งเน้นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมในองค์การ โดยมีการบริหารจัดการ ด้วยการริเริ่มสิ่งใหม่หรือการพัฒนาปรับปรุงวิธีการปฏิบัติ ผลิตภัณฑ์ บริการ โครงสร้างองค์การ และกระบวนการดาเนินงาน ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญจากการขับเคลื่อนองค์การด้วยผู้นาแห่งการ เปลี่ยนแปลงที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การสร้างบรรยากาศแห่งนวัตกรรม การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ทีมงานและการจัดการความรู้ มีโครงสร้างองค์การแบบแนวราบและยืดหยุ่น สามารถกระจายอานาจได้อย่างทั่วถึง รวมไปถึงการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกองค์การที่เป็น ส่วนประกอบสาคัญในการขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ เป็นการปฏิรูปองค์การเพื่อ ประเมินผลและปรับปรุงการดาเนินงานขององค์การภายใต้แนวคิดของการบริหารจัดการคุณภาพ โดยรวม ให้เกิดผลลัพธ์ด้านลูกค้า ด้านบุคลากร ด้านสังคมและด้านธุรกิจ นอกจากนี้ การ ประเมินผลด้านนวัตกรรมควรมีการจัดกระทาที่รวดเร็วและง่ายต่อการใช้งาน ทาให้เข้าใจถึง ภาพรวมด้านรูปธรรม เช่น รายได้จากลูกค้าใหม่ งบประมาณด้านนวัตกรรม เป็นต้น และภาพรวม ด้านนามธรรม เช่น ความรู้ความเข้าใจของพนักงาน สภาพแวดล้อมในการทางานและนวัตกรรม ทางวัฒนธรรม เป็นต้น เพื่อสร้างองค์การแห่งนวัตกรรมที่มีความแตกต่างและมีความเป็นเลิศใน การแข่งขันและยั่งยืน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. องค์ประกอบของการสร้างองค์การแห่งนวัตกรรม แนวคิดของ Tidd,Bessant,and Pavitt (2005) โดยแบ่งเป็น 10 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การมีวิสัยทัศน์ร่วมผู้นาและการมุ่งไปสู่นวัตกรรม (shared vision, leadership and the will to innovation) หมายถึง ผู้นาที่มีบทบาทสาคัญในการถ่าย ถอดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนและกลยุทธ์ใหม่แก่พนักงานในองค์การ โดยใช้ภาวะผู้นาแห่งการ เปลี่ยนแปลง (transformational leadership) ซึ่งเป็นปัจจัยที่สาคัญในการเรียนรู้ การ จัดการความรู้ และการสร้างนวัตกรรมในองค์การ จากการสนับสนุนให้พนักงานมีส่วนร่วม ในการกาหนดวิสัยทัศน์ ส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการสร้างนวัตกรรมและให้อิสระทาง ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน นอกจากนี้ หากพนักงานมีการรับรู้ถึงความสามารถของ ตนเองสูงขึ้น ผ่านบรรยากาศนวัตกรรม จะทาให้ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของ พนักงานสูงขึ้นตาม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. 2) โครงสร้างองค์การที่เหมาะสม (appropriate organization structure) หมายถึง โครงสร้างองค์การที่มีความยืดหยุ่นหรือแบบแนวราบ (flat organizational structure) เป็นโครงสร้างที่เหมาะสมและสนับสนุนให้องค์การประสบความสาเร็จในการ สร้างนวัตกรรม ผ่านการสื่อสารและการกระจายอานาจ อีกทั้งต้องให้ความสาคัญกับการ สร้างเครือข่ายซึ่งทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและทรัพยากร โดยจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางานทาให้มีอานาจในการต่อรองมากขึ้น 3) บุคลากรหลักขององค์การ (key individual) หมายถึง บุคลากรที่มี ความสาคัญ เช่น ผู้ให้การสนับสนุนองค์การ ผู้นาองค์การสู่ความสาเร็จ ผู้กลั่นกรองข้อมูล และทรัพยากรที่สาคัญขององค์การ หรือกลุ่มที่นาพาองค์การไปสู่ความสาเร็จ พร้อมที่จะ ทุ่มเทและปรารถนาที่จะช่วยองค์การ โดยจะต้องออกแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การ วางแผน การสรรหาการฝึกอบรมและพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงานและการบริหาร จัดการค่าตอบแทน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. 4) ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ (effective team working) หมายถึง การลงทุนในการ สร้างและเลือกทีมงานให้มีการทางานเป็นกลุ่มหรือทีม เพื่อผลักดันให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และ พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะทีมข้ามสายงาน (cross-functional team) ที่เป็น ทีมงานชั่วคราวหรือตามโครงการที่มีความเชี่ยวชาญที่แตกต่างกัน โดยร่วมกันทางานไปสู่เป้าหมาย ร่วมกัน ทาให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล ประสบการณ์ ที่ช่วยแก้ปัญหาได้มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว แต่จะต้องระบุภาระงานอย่างชัดเจน และผู้นาทีมงานที่มีประสิทธิภาพจะรักษาความสมดุล ระหว่างพฤติกรรมของแต่ละสมาชิกในทีมงานให้ทางานร่วมกันได้อย่างราบรื่น 5) การฝึกอบรมและพัฒนาบุคคลที่ยืดหยุ่นและต่อเนื่อง (continuing and stretching individual and development) หมายถึง ความรู้และทักษะที่มีความสาคัญต่อการสร้าง นวัตกรรม จากการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรในองค์การ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดความคิด สร้างสรรค์และพฤติกรรมนวัตกรรม ในการทดลองทาในสิ่งใหม่ โดยมีระบบงานที่สนับสนุน การ จัดระบบงานและกระบวนการทางานให้เกิดความคิดใหม่ๆ และมีแรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรมที่ มีประสิทธิภาพ เช่น การสร้างแรงจูงใจที่เน้นการ ยอมรับทางสังคม และการประเมินผลที่ให้ ความสาคัญกับกระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18. 6) การขยายตัวการสื่อสาร (extensive communication) หมายถึง การสร้าง รูปแบบการสื่อสารที่ครอบคลุม โดยต้องมีทิศทางและช่องทางในการสื่อสารที่หลากหลาย ระหว่างภายในและภายนอกองค์การ ทั้งแนวดิ่งและแนวราบ 7) การมีส่วนร่วมในนวัตกรรมสูง (high involvement in innovation) หมายถึง การปฏิบัติภายในองค์การและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการปรับปรุงทั่วทั้ง องค์การอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคนิค วิศวกร นักออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคล นอกจากนี้ การกระจาย อานาจ (decentralization) ในการตัดสินใจช่วยให้เกิดการตัดสินใจร่วมกัน และมีอิสระใน การการมอบหมายหน้าที่ (delegation) และความรับผิดชอบให้แต่ละบุคคล โดยจะต้องมี โครงสร้างอานาจที่เปิดกว้างและมีการกระจายอานาจความเป็นผู้นาให้พนักงานทั้งองค์การ ทาให้องค์การมีศักยภาพในการสร้างนวัตกรรมมากขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. 8) ปัจจัยภายนอก (external focus) หมายถึง สัญญาณของภัยคุกคามหรือ โอกาสขององค์การเป็นการเปิดรับและเข้าใจมุมมองภายนอกองค์การ เป็นวิธีการพัฒนา จากภายนอกสู่ภายใน (outside-in approach) ซึ่งเป็นกระบวนการที่บูรณาการความรู้ จากภายนอก หรือความต้องการของลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจ มาเพิ่มความสามารถในการ สร้างนวัตกรรมขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี ความสามารถในการรับรู้ และเข้าใจความต้องการของลูกค้าและตลาด การสื่อสารที่ชัดเจนสม่าเสมอ การแก้ปัญหา และการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ร่วมกัน 9) บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ (creative climate) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดจากบรรยากาศการทางานที่ช่วยส่งเสริมให้บุคลากรมีความคิด สร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรมให้กับองค์การ ได้แก่ โครงสร้างองค์การ นโยบาย ระบบ รางวัลและการชื่นชม การฝึกอบรมและการวัดผลปฏิบัติงาน การจัดที่ทางานที่เอื้อต่อการ สร้างสรรค์นวัตกรรม การสื่อสารแบบเปิดกว้างและการไว้วางใจซึ่งกันและกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20. 10) องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization: LO) หมายถึง การเรียนรู้ และการถ่ายโอนความรู้ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานของการสร้างนวัตกรรม ซึ่งเป็นกระบวนการ ของการเรียนรู้ขององค์การ (Organizational Learning: OL) และการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) จากความสามารถในการจัดการวงจรการเรียนรู้ให้อยู่ ในรูปที่ชัดแจ้ง เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือการนาเทคโนโลยีมาใช้ เป็นต้น ในการจัดการ กระบวนการเรียนรู้จะต้องสร้างเงื่อนไขภายใต้โอกาสในการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังต้องสนับสนุนให้เกิดการสร้างและปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ในการ ทางานประจาด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสร้างหลักสูตร การควบคุม การทดลอง และการแบ่งปันข้อมูลหรือการสะท้อนกลับจากการเรียนรู้ในอดีตและมีการเชื่อมโยง ระหว่างทีมงานและองค์ความรู้จากทั้งภายในและภายนอกเข้าด้วยกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
  • 21. Porter and Tanner (2004) ได้เสนอแนวทางการก้าวสู่ความเป็นเลิศ ตามโมเดล องค์การแห่งความเป็นเลิศโดยแบ่งออกเป็นค่านิยมหลักเป็นเลิศ ได้แก่ ภาวะผู้นา (leadership) การมุ่งเน้นที่ลูกค้า (customer focus) การบูรณาการกลยุทธ์ (strategic integration) การ เรียนรู้ขององค์การ (organizational learning) นวัตกรรมและการปรับปรุง (organization learning, innovation and improvement) การมุ่งเน้นที่แรงงาน (workforce focus) การ พัฒนาความร่วมมือ (partnership development) การจัดการด้วยความจริง (management by facts) การมุ่งเน้นผลลัพธ์ (results orientation) และความรับผิดชอบต่อสังคม (social responsibility) นอกจากนี้ ความเป็นเลิศขององค์การนั้นยังสามารถประเมินค่าบางส่วนโดยใช้ อัตราส่วนทางการเงิน (Jankal, 2014) ซึ่งมีเครื่องมือหรือการวัดที่ช่วยให้องค์การสามารถวัดและ ประเมินระดับความเป็นเลิศขององค์การที่สาคัญ 3 เครื่องมือ ที่แตกต่างกันในบริบทและวิธีการวัด และประเมินผล โดยเป็นเครื่องมือถูกพัฒนามาจากหลักการบริหารจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์การ (Total Quality Management: TQM) ที่เป็นการวางแผนที่มีประสิทธิภาพและกลยุทธ์ที่ใช้ใน การแก้ปัญหา เช่น ทรัพยากรมนุษย์และทรัพย์สินได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องทั่วทั้ง องค์การ ได้แก่ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. 1) รางวัลเดมมิ่ง (Deming Prize Award) ได้รับการพัฒนาโดย W. Edward Deming เป็นการให้รางวัลแรกของโลกในด้านการวัดและประเมินผลองค์การและเพิ่ม คุณภาพการให้บริการแก่องค์การที่สามารถรักษาระดับความสามารถในด้านการบริหาร จัดการคุณภาพและผลกาไรได้อย่างสม่าเสมอ ด้วยหลักคุณภาพ 14 ข้อ ได้แก่ (1) การ สร้างความสม่าเสมอในการปรับปรุงคุณภาพ (2) ปฏิเสธการยอมให้เกิดข้อบกพร่อง (3) ยุติ การตรวจสอบเพื่อให้ได้คุณภาพ (4) ลดจานวนคู่ค้าโดยซื้อจากหลักฐานทางสถิติไม่ใช่ราคา (5) ปรับปรุงทุกกระบวนการอย่างสม่าเสมอ (6) จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับการทางานที่ทันสมัย (7) การดูแลและช่วยให้เกิดการทางานที่ดีขึ้น (8) ขจัดความกลัว (9) ทาลายกาแพงที่ขวาง กั้นระหว่างหน่วยงาน (10) ขจัดคาขวัญ คาแนะนาและเป้าหมายที่กาหนดให้พนักงานทา (11) ขจัดโควตาที่ให้พนักงานทาและเป้าหมายทางตัวเลขทางการบริหาร (12) ขจัด อุปสรรคที่ทาลายความภาคภูมิใจของพนักงานและการประเมินผลประจาปี (13) จัดทา แผนการศึกษาและการฝึกอบรมที่เข้มแข็งให้แก่พนักงาน และ (14) กาหนดความมุ่งมั่นใน ทางานให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพและผลิตภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. 2) รางวัลคุณภาพแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) เป็นรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่ได้รับการยอมรับทั่วโลกว่าแสดงถึงความเป็นเลิศ ในการบริหารจัดการองค์การในระดับมาตรฐานสากลโลก โดยพิจารณาจากเกณฑ์ความเป็นเลิศทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ (1) การนาองค์การ (2) การวางแผนกลยุทธ์ (3) การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและ ตลาด (4) สารสนเทศและการวิเคราะห์ (5) การให้ความสาคัญแก่บุคลากรและหน่วยงาน (6) กระบวนการบริหาร และ (7) ผลการดาเนินงาน กลายเป็นต้นแบบของรางวัลคุณภาพต่าง ๆ เช่น รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award: TQA) รางวัลคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ระบบการ ประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal: SEPA) และเกณฑ์ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (Educational Criteria for Performance Excellence: EdPEx) เป็นต้น และการออกแบบรางวัลให้แก่ องค์การที่มีความเป็นเลิศทางธุรกิจ จะได้รับการส่งเสริมและเป็นที่รู้จักในด้านนวัตกรรมทางธุรกิจ ได้รับการยอมรับและชื่นชมใน ความสาเร็จของธุรกิจ เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีและสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับธุรกิจอื่น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. 3) ตัวแบบมูลนิธิยุโรปเพื่อการจัดการคุณภาพ (European Foundation for Quality Management: EFQM) เป็นองค์การที่ทาหน้าที่รับรองมาตรฐานการปฏิบัติงาน ขององค์การ โดยอาศัยเกณฑ์ความเป็นเลิศ 9 ข้อ โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ด้าน ปัจจัยต้น(enablers) ประกอบไปด้วย ภาวะผู้นา(leadership) กลยุทธ์ (strategy) บุคลากร (people) ความร่วมมือและทรัพยากร (partnerships and resources) และ กระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการ (processes products and services) และ (2) ด้านผลลัพธ์ (results) ประกอบไปด้วย ผลลัพธ์ด้านลูกค้า (customer results) ผลลัพธ์ บุคลากร (people results) ผลลัพธ์ทางสังคม (society results) และผลลัพธ์ทางธุรกิจ (business results) นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับสูงทั่วโลกมีความท้าทายในการสร้าง นวัตกรรม จึงทาให้ตัวแบบ EFQM มีการปรับปรุงโครงสร้างที่เป็นนวัตกรรม เพื่อให้เป็น ส่วนหนึ่งของกลยุทธ์และสร้างเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนสาหรับนวัตกรรม ทาให้ องค์การสามารถปรับปรุงและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ บริการกระบวนการและสร้าง วัฒนธรรมแห่งนวัตกรรมได้อย่างมีคุณภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
  • 25. ณฤทธิ์ วรพงษ์ดี (2562) กล่าวว่า ธุรกิจที่เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ เช่น เกิดจากไอเดียเพื่อ แก้ปัญหา เห็นโอกาสทางธุรกิจที่ยังไม่มีคนทามาก่อน สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว (Growth) ออกแบบให้มีการทาซ้าได้ง่าย (Repeatable) ขยายกิจการได้ง่าย (Scalable) มีการใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมเป็นหัวใจหลักต้องทาซ้าได้ (Repeatable) และขยายตัว (Scalable) หรือเติมโต แบบก้าวกระโดด โดยไม่ต้องใช้ต้นทุนในการขยายกิจการจานวนมหาศาล พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ (2560) กล่าวว่า “ธุรกิจเกิดใหม่ที่ต้องการสร้างความเปลี่ยนแปลงด้วย แนวคิดที่แตกต่าง โดยใช้กระบวนการและนวัตกรรมที่ไม่เหมือนใคร เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง นั้น ๆ ทาให้ธุรกิจสามารถทาซ้า (Repeatable) ขยายตลาด (Scalable) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและ เติบโตได้อย่างก้าวกระโดด (Exponential Growth)” ชัยวัฒน ใบไม้ (2560) หมายถึง ผู้ประกอบการรายใหม่ที่ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยี เป็นตัวหลักในการขับเคลื่อนธุรกิจ เพื่อสร้างสินค้าหรือบริการที่เกิดมูลค่าเพิ่ม จนกลายเป็นธุรกิจ เชิงพาณิชย์ที่เติบโตได้อย่างรวดเร็ว ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
  • 26. ธุรกิจเกิดใหม่ หรือ Startup คือ กลุมบุคคล หรือองคกรธุรกิจขนาดเล็กที่เคยทา ธุรกิจมาก่อนหรือผู้ประกอบรายใหม่ที่ได้จัดตั้งขึ้น ด้วยบุคลากรและทรัพยากรจานวนน้อย ใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีเป็นตัวหลักในการขับเคลื่อนธุรกิจ โดยธุรกิจเริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ เช่น เกิดจากไอเดียเพื่อแก้ปัญหา เห็นโอกาสทางธุรกิจที่ยังไม่มีคนทามาก่อน สามารถ เติบโตได้อย่างรวดเร็ว (Growth) ออกแบบให้มีการทาซ้าได้ง่าย (Repeatable) ขยาย กิจการได้ง่าย (Scalable) เพื่อสร้างสินค้าหรือบริการที่เกิดมูลค่าเพิ่ม ภายใต้ความมุ่งมั่นที่ จริงจังและต่อเนื่อง เพื่อเป้าหมายของชีวิต ทั้งในด้านทรัพย์สิน และการเป็นที่ยอมรับถึง อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงโลก ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. ThaiTuykeyClub (2560) ได้เขียนขั้นตอนการเริ่มทาทาธุรกิจ Startup (สตาร์ทอัพ) ไว้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ถ้าหากคุณต้องการที่จะสร้างธุรกิจ Startup คุณจะต้องมองไปในอนาคตว่ามี อะไรเกิดขึ้นบ้าง มีเทรนด์หรือแนวโน้มในด้านต่าง ๆ ไปตามทิศทางไหน เพื่อที่คุณจะได้มองหาสิ่งที่ยังขาด อยู่ ขั้นตอนที่ 2 ยังมีผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ยังไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาและมีความต้องการมหาศาล เมื่อ มองไปยังอนาคตแล้ว เราเห็นสิ่งที่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่ได้ ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์ด้านการบริการหรือ ผลิตภัณฑ์ อะไรก็แล้วแต่ ลองคิด แล้วจึงลงมือทาดู เชื่อเถอะว่า คุณอาจจะเป็นผู้ที่ที่ประสบความสาเร็จใน อนาคตก็เป็นได้ ขั้นตอนที่ 3 เอาสิ่งที่เราเห็นในอนาคต Product Service ที่น่าจะสร้างขึ้นมาและเติบโตอย่าง รวดเร็ว นามาเขียนผังความคิด เพื่อให้สามารถออกแบบและพัฒนาต่อไปได้ง่ายขึ้น ขั้นตอนที่ 4 สร้างตัว Prototype ขึ้นมา เป็นตัวต้นแบบในการนาไปทดสอบความต้องการของ ลูกค้าในอนาคต ขั้นตอนที่ 5 เมื่อได้ตัว Prototype มาแล้ว ก็จะถึงขั้นตอนการนาเสนอ ทาไมเราต้องนาเสนอ ? เราต้องนาเสนอเพื่อให้ได้ Input มา โดยการไปนาเสนอคนอื่น 100 คน ความคิดเห็นจากคนที่ฟังเรา ก็จะ เป็น Feedback กลับมา ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. ขั้นตอนที่ 6 นา Feedback ที่ได้จากคน 100 คน มาพัฒนา Product Prototype ให้มันตอบสนองความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น ขั้นตอนที่ 7 สร้างทีม หาผู้ร่วมงาน Co-founder การทาธุรกิจไม่ควรทาแค่คนเดียว เพราะมีงานหลายอย่างที่จะต้องดาเนินการ ขั้นตอนที่ 8 เมื่อมีทีมงานแล้ว เราก็มาจดทะเบียนบริษัทให้เป็นนิติบุคคล ขั้นตอนที่ 9 มองหาเงินทุน และยังคงพัฒนา Service ไปในเวลาเดียวกัน ขั้นตอนที่ 10 เริ่มปล่อย Prototype ที่ผ่านการวิเคราะห์วิจารณ์ มาในระดับหนึ่ง แล้ว และค่อนข้างแน่ใจว่ามันใช้ได้ ขั้นตอนที่ 11 ติดตามดูว่าตัว Prototype ที่เราปล่อยออกไป มีลูกค้ากลับเข้ามาใช้ หรือไม่ ? ขั้นตอนที่ 12 ถ้ามีลูกค้าเข้ามาใช้ เราดูว่ามีลูกค้าถึง 1,000 คน หรือไม่ ? ขั้นตอนที่ 13 เมื่อมีลูกค้าถึง 1,000 คน เราจะต้องทาให้มันโตประมาณ 5% ต่อสัปดาห์ ขั้นตอนที่ 14 ถ้าหากเราสามารถทาให้มีลูกค้า 5 % ต่อสัปดาห์ ภายใน 4 ปี จะทาให้ เรามีลูกค้าถึง 25 ล้านคนและเมื่อเรามีลูกค้ามากถึง 25 ล้านคน เราก็จะเป็นธุรกิจ Startup ที่ ประสบความสาเร็จนั่นเอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 29. ณฤทธิ์ วรพงษ์ดี (2562) ได้เขียนช่วงการเติบโตของสตาร์ทอัพไว้ 3 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 เป็นช่วงเริ่มต้นที่เน้นการพิสูจน์ว่าปัญหาที่เรากาลังนึกถึงมีอยู่จริง มีกลุ่ม ลูกค้าที่ต้องการการแก้ไข และทาให้เราพอจะคิดผลิตภัณฑ์ตั้งต้นที่สามารถแก้ปัญหานั้นได้ ช่วงที่ 2 เป็นขั้นตอนของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้สิ่งที่ตอบโจทย์กับความ ต้องการของตลาด ช่วงที่ 3 เป็นช่วงของการขยายการเติบโต หลังจากผลิตภัณฑ์สามารถตอบโจทย์ ตลาด เพื่อให้ได้ฐานลูกค้าที่มากขึ้น และได้โมเดลทางธุรกิจที่เหมาะสม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
  • 30. ไกรวิทย์ โพธิ์ดม และ ขวัญฤดี พรชัยทิวัตถ์ (2562) ได้ศึกษาเรื่อง “ปัจจัยแห่ง ความสาเร็จของธุรกิจซอฟต์แวร์สตาร์ทอัพ” พบว่ามี 8 ปัจจัย ได้แก่ ทักษะพื้นฐานของการ ประกอบธุรกิจซอฟต์แวร์สตาร์ทอัพ ความสามารถในการสร้างผลิตภัณฑ์ได้รวดเร็ว ผลิตภัณฑ์ดึงดูดและจูงใจให้ลูกค้าใช้งาน ติดตามเทคโนโลยีและเทรนของผลิตภัณฑ์ การ ส่งเสริมและสนับสนุนการทาสตาร์ทอัพจากรัฐบาลและเอกชน คุณภาพขององค์การและ ผลิตภัณฑ์ ความสามารถในการบริหารของผู้ก่อตั้ง และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องต่อ ความต้องการของลูกค้า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
  • 31. สุพเนตร แสนเสนา และคณะ (2561) ได้ศึกษาในเรื่อง “ปัจจัยแห่งความสาเร็จ ของธุรกิจ Startup” จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้ธุรกิจ Startup ประสบ ความสาเร็จมีอยู่หลักๆ 5 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านจังหวะเวลา ปัจจัยด้านทีมงาน ปัจจัยด้าน แนวความคิดใหม่ๆ ปัจจัยด้านแผนธุรกิจและปัจจัยด้านเงินทุน ซึ่งปัจจัยแต่ละด้านก็ขึ้นอยู่ กับประเภทของธุรกิจ Startup นั้น ๆด้วยว่าจะให้ความสาคัญกับปัจจัยด้านไหนเป็นอันดับ แรก ดังนั้นธุรกิจ Startup จะประสบความสาเร็จได้นั้นจะต้องมีหนึ่งใน 5 ปัจจัยนี้เป็นหลัก อย่างไรก็ตามธุรกิจ Startup ที่จะประสบความสาเร็จได้คือ ธุรกิจต้องสามารถตอบโจทย์ และแก้ปัญหาได้ตามความต้องการของผู้บริโภคได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
  • 32. กฤษยา มะแอ และ กฤษณา ฝังใจ (2561) ได้ศึกษาเรื่อง “ปัจจัยสู่ความสาเร็จ ของวิสาหกิจเริ่มต้น (สตาร์ทอัพ) ในประเทศไทย” ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยสู่ความสาเร็จ ของสตาร์อัพในประเทศไทย ขึ้นอยู่กับลักษณะการดาเนินงาน และกลุ่มเป้าหมายที่ แตกต่างกันโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ ประเภทพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จะให้ความสาคัญกับ ปัจจัยด้านจังหวะเวลาเป็นสาคัญ ธุรกิจประเภท User-Generated Content จะให้ ความสาคัญกับปัจจัยด้านทีมเป็นสาคัญ ธุรกิจสตาร์ทประเภทบริการจะให้ความสาคัญกับ ปัจจัยด้านแนวความคิดใหม่ ๆ ความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถเรียกความสนใจให้คนมาใช้ บริการได้ โดยหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจในทุกประเภทคือ รูปแบบในการดาเนิน ธุรกิจ (Business Model) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
  • 33. Engineering Today (2562) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการสตาร์ทอัพ โดย บิล กรอส (Key Success Factors in Startup by Bill Gross) เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools) โดยที่ บิล กรอส (Bill Gross) เป็นนักลงทุนและผู้ก่อตั้งบริษัท Idealab ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทาการวิจัยและศึกษา พบว่าการที่บริษัทเกิดใหม่จะประสบความสาเร็จนั้นต้องมี ปัจจัย 5 อย่าง ซึ่งประกอบไปด้วย 1. แนวคิดหรือไอเดียในการทาธุรกิจ ต้องมีความแปลกใหม่มีความ น่าสนใจ ตอบโจทย์ปัญหา หรือ Pain Point ของผู้บริโภคได้ และสร้างความเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่าง ที่จะทาให้เกิดความสะดวกสบายมากขึ้น 2. ทีมงาน เมื่อมีไอเดียที่ดีแล้ว คุณจาเป็นต้องหาผู้ที่มาร่วมกัน ทางานเป็นทีม เพราะธุรกิจไม่สามารถประสบความสาเร็จได้ด้วยตัวคนเดียว การคัดเลือกคนมาร่วมในทีม ทางานจึงเป็นเรื่องสาคัญมาก 3. แผนธุรกิจที่ชัดเจน ว่าสินค้าหรือบริการของธุรกิจคืออะไร กลุ่มลูกค้า เป้าหมายเป็นใคร จะสร้างรายได้จากจุดไหนได้บ้าง แผนธุรกิจที่ชัดเจนจะเป็นตัวขับเคลื่อนธุรกิจให้เดินไป ในทางที่ถูกต้อง ธุรกิจที่คุณทาจะต้องสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคได้ และสามารถสร้าง ความแตกต่างให้เกิดขึ้นในใจผู้บริโภคด้วย เพื่อการเติบโตของธุรกิจที่ยั่งยืน 4. เงินทุน เป็นปัจจัยสาคัญใน การเริ่มต้นทาธุรกิจ เพราะหากไม่มีเงินทุนแล้วธุรกิจคงไปได้ยาก แต่หากวิเคราะห์ให้ลึกกว่านี้ การมีเงินทุน ที่มากพอ ก็ไม่ได้รับรองว่าธุรกิจของคุณจะไปรอด เพราะนอกจากมีเงินทุนแล้ว การบริหารเงินทุนรวมถึง การจัดทาบัญชีอย่างรอบคอบก็เป็นส่วนสาคัญในการทาธุรกิจเช่นกัน 5. จังหวะเวลา การทาธุรกิจนั้นต่อให้ มีปัจจัยทั้ง 4 ที่กล่าวมาข้างต้นเพียบพร้อมแล้ว แต่ถ้าธุรกิจเปิดตัวและดาเนินการในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม เช่น ในช่วงตลาดอิ่มตัว หรือมีตัวเลือกมาก ก็จะทาให้ธุรกิจไม่ประสบความสาเร็จ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
  • 34. การทาธุรกิจเกิดใหม่ให้ประสบความสาเร็จ ประกอบด้วยปัจจัยดังต่อไปนี้ แนวคิด ในการทาธุรกิจที่แปลกใหม่ สร้างสรรค์และตอบโจทย์ปัญหาได้ ทีมงานที่ดี เข้าใจกัน มี แนวคิดการทางานที่ตรงกันและให้ความร่วมมือที่ดี แผนธุรกิจ การวางแผนที่ชัดเจนเพื่อให้ ธุรกิจไปในทิศทางที่ต้องการ เงินทุนและแหล่งทุนทั้งที่เป็นทุนตัวเองและระดมทุน จังหวะ เวลาการทาธุรกิจ ดาเนินการในช่วงเวลาที่เหมาะสม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
  • 35. 1. เทคโนโลยีแบ่งออกได้กี่ลักษณะ อะไรบ้าง 2. บทบาทของเทคโนโลยีต่อการปฏิบัติงานขององค์การเป็นอย่างไร 3. เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่มาสาเหตุอะไร 4. กระบวนการทื่ทาให้เกิดนวัตกรรมมีกี่อย่างอะไรบ้าง 5. องค์ประกอบของการสร้างองค์การแห่งนวัตกรรมเป็นอย่างไร 6. ทาอย่างไรจึงจะขับเคลื่อนองค์การแห่งนวัตกรรมสู่ความเป็นเลิศขององค์การ 7. ธุรกิจเริ่มต้นใหม่คืออะไร 8. ขั้นตอนการทาธุรกิจเกิดใหม่มีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง 9. ปัจจัยความสาเร็จของธุรกิจเริ่มต้นใหม่ 10. ให้ยกตัวอย่างธุรกิจเริ่มต้นใหม่ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35