SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
กิจกรรมด้านการจัดการเทคโนโลยีทางธุรกิจ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาบทนี้แล้วสามารถ
6.1 เข้าใจการได้มาของเทคโนโลยีทางธุรกิจ
6.2 อธิบายการใช้ประโยชน์
6.3 อธิบายการจาแนก
6.4 อธิบายการเรียนรู้
6.5 อธิบายการป้องกัน
6.6 อธิบายการเลือกสรร
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ริทชี่ (Ritchie) มาร์แชล (Marshal) และ อาร์ดเลย์ (Eardley) (1998) ได้กล่าวถึงประโยชน์
ของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อองค์การในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานทั้งในด้านเวลา ด้านการใช้ทรัพยากรบุคคล และ
ต้นทุน
2. พัฒนาคุณภาพของสารสนเทศที่ได้รับ ได้แก่ ความเที่ยงตรง ความชัดเจน การ
ประหยัดเวลา ฯลฯ
3. ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ
4. เพิ่มประสิทธิภาพการทางานด้วยการใช้ฐานข้อมูลร่วมกนทั้งภายในและภายนอก
องค์การ
5. พัฒนาประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์การ
6. เป็นเครื่องมือเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของความรู้ในองค์การ ให้เป็นความรู้ที่เกิด
ประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ เรียกว่าระบบการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศ
รูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวกับการสร้าง การเก็บรักษา และแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ทั้งภายในและภายนอก
องค์การ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
1. เพื่อให้ส่วนต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือองค์การ สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน
ข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ระหว่างกันได้
2. เพื่อเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศและความรู้กบหน่วยงานอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องได้สะดวก
3. เพื่อปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานโดยลดขั้นตอนงานที่ซ้าซ้อน
4. เพื่อให้สามารถรายงานผลได้อยางรวดเร็ว ถูกต้อง และทันเหตุการณ์
5. เพื่อให้สามารถนาสารสนเทศและความรู้มาใช้ในการบริหาร จัดการ การ
ตัดสินใจ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ จึงจาเป็นต้องรู้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับสารสนเทศนั้น สิ่งที่ควรรู้ ได้แก่
1. แหล่งที่อยู่ของสารสนเทศ กล่าวคือ หากเราต้องการรู้สารสนเทศอย่างหนึ่งเราควรรู้ว่า
สารสนเทศนั้นมีอยู่ที่ใด หรือน่าจะมีอยู่ที่ใด เช่น ถ้าอยากรู้ว่าราคาซื้อขายทองคาในวันนี้ราคาเท่าไร แหล่ง
ของสารสนเทศในกรณีนี้ได้แก่หนังสือพิมพ์ ข่าวทางโทรทัศน์ ร้านขายทอง และอินเตอร์เน็ต
2. วิธีเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศแต่ละแห่งย่อมมีข้อจากัดในการเปิดโอกาสให้
บุคคลเข้าไปใช้ เช่น มีกาหนดวันเวลาบริการ กาหนดประเภทของบุคคลที่จะเข้าใช้ เป็นต้น เราควรรู้
รายละเอียดเหล่านี้ก่อนเพื่อป้องกันอุปสรรคและความไม่สะดวกที่จะเกิดขึ้น
3. ขอบข่ายเนื้อหาสาระของสารสนเทศ นั่นคือต้องรู้ว่าสารสนเทศที่มีอยู่นั้นมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
อะไร ให้รายละเอียดในลักษณะใด
4. วิธีค้นหาและ/หรือค้นคืน (Retrieval) ผู้ใช้จะต้องรู้วิธีการจัดเก็บสารสนเทศของแหล่ง
สารสนเทศที่จะเข้าใช้ เช่น รู้วิธีการเรียงเลขเรียกหนังสือ รู้วิธีใช้บัตรรายการ วิธีใช้ OPAC รู้วิธีค้นหา
เรื่องราวจากหนังสือ วารสาร ฐานข้อมูล รู้วิธีค้นจาก Internet เป็นต้น
การจะใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด นอกเหนือจากจะต้องมีความรู้ทั้ง 4 ประการ
ดังกล่าวมาแล้ว เราจะต้องตระหนักถึงธรรมชาติของสารสนเทศด้วยเสมอ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ทาให้การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ และได้สารสนเทศที่
นามาใช้ประโยชน์ได้ มีดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้งานในระบบสารสนเทศ เช่น
อุปกรณ์สานักงาน และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ โดยฮาร์ดแวร์ที่สาคัญที่สุดในระบบสารสนเทศ คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้ตามหน่วยการทางาน ดังนี้
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่ในหน่วยรับข้อมูล เรียกว่า
อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ได้แก่ แป้นพิมพ์ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) กล้องดิจิทัล (Digital
Camera) สแกนเนอร์ (Scanner) และไมโครโฟน (Microphone)
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) มีลักษณะเป็น
วงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือชิป (Chip) ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (Transistor) และอุปกรณ์อื่น ๆ
รวมอยู่ด้วยกันจานวนมากภายในคอมพิวเตอร์
หน่วยความจา (Memory Unit) เป็นหน่วยที่ทางานในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย
ความเร็วมากที่สุด มีหลายแบบทั้งแบบที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์และแบบพกพาหน่วยความจาแบ่ง
ตามลักษณะการทางานเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลที่ได้จาก
การประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เครื่องพิมพ์ และจอภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
2. ซอฟต์แวร์ (Software) หรือ โปรแกรม คือชุดคาสั่งที่เรียงเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่
ใช้ในการทางานระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์การ มี 2 ประเภท ดังนี้
1) ซอฟต์แวร์ระบบ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การรับ
ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบ
ประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการและตัวแปรภาษา เช่น Microsoft Windows, Macintosh,
Linux, Open Solaris, Chrome OS
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้ใช้งาน
ระดับบุคคลอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมการทางานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ สาหรับในระดับ
องค์การ มักจะมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละองค์การ โดย
นักเขียนโปรแกรมในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การนั้น ๆ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
3. บุคลากร คือบุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ ซึ่งหากบุคลากรมีความรู้
ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ส่งผลให้ระบบ
สารสนเทศทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลงานที่มีคุณภาพ บุคคลที่เกี่ยวข้องในการจัดการระบบ
สารสนเทศ มีดังนี้
1) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ทาหน้าที่วิเคราะห์ระบบการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศที่ต้องการ โดยศึกษาปัญหาที่เคยเกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ ตลอดจน
หาแนวทางในการแก้ไขและปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนักวิเคราะห์ระบบ
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.1 นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นบุคลากรภายในองค์การ (Staff employee within the
organization)
1.2 นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นที่ปรึกษาจากภายนอก (Outside or external consultant)
2) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่ทาหน้าที่รับระบบสารสนเทศจากนักวิเคราะห์ระบบที่ได้
จัดทาไว้มาเขียนหรือสร้างให้เป็นโปรแกรม เพื่อสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ทาหน้าที่ได้ผลลัพธ์ตามที่
ออกแบบมา
3) เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Operator) คือ ฝ่ายที่ทาหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลง
ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ตรงตามความต้องการอย่างมี
ประสิทธิภาพ
4) ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศโดยตรง ผู้ใช้ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องมีความรู้
เกี่ยวกับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
4. ข้อมูล คือ องค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบสารสนเทศ
ข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่การนาไปใช้งานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และมีความ
น่าเชื่อถือ โดยผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว นอกจากนี้ระบบต้องมีการ
จัดเก็บข้อมูลให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวกต่อการค้นหา
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คือ ระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน ลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
หรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
ได้แก่
- การรวบรวมข้อมูล
- ตรวจสอบข้อมูล
- ประมวลผลข้อมูล
- จัดเก็บและดูแลรักษาข้อมูล
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบข้อมูลที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่ม
ผลงานให้บุคลากรในแต่ละคนในองค์การ ระบบสารสนเทศระดับบุคคลนี้มีแนวทางในการ
ประยุกต์ที่ช่วยให้การทางานในหน้าที่รับผิดชอบและส่วนตัวของผู้นั้น มีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลงราคาถูกความสามารถในการ
ประมวลผลด้วย ความเร็วสูงขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสาเร็จที่ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้
ง่าย กว้างขวางและและคุ้มค่ามากขึ้น โปรแกรมสาเร็จในปัจจุบันเริ่มมีความลงตัวและมีการ
รวบรวมไว้เป็นชุดโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา (Word Processing) ที่ช่วยในการ
พิมพ์เอกสาร
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทางานของ
กลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมายการทางานร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างของการใช้
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานของแผนก คาว่า การทางานเป็นกลุ่ม (Workgroup) ใน
ที่นี้หมายถึง กลุ่มบุคคลจานวน ๒ คนขึ้นไปที่ร่วมกันทางานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน
โดยทั่วไป บุคลากรในกลุ่มเดียวกันจะรู้จักกันและกันและทางานเคียงบ่าเคียงไหล่เป้าหมาย
หลักของการทางานเป็นกลุ่ม คือการเตรียมสภาวะแวดล้อมที่จะเอื้ออานวยประโยชน์ใน
การทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันโดย
ทาให้เป้าหมายของธุรกิจดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิผล
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
3. ระบบสารสนเทศระดับองค์การ คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานของ
องค์การในภาพรวมระบบในลักษณะ นี้จะเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานร่วมกันของหลาย
แผนกโดยการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องและส่งผ่านถึงกันจากแผนก หนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่งได้
ระบบสารสนเทศดังกล่าวนี้จึงสามารถสนับสนุนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหาร งานใน
ระดับผู้ปฏิบัติการและสนับสนุนงานการบริหารและจัดการในระดับที่สูงขึ้นได้ด้วยเนื่องจาก
สามารถ ให้ข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาประกอบการตัดสินใจ โดยอาจนาข้อมูล
มาแสดงในรูปแบบสรุปหรือในแบบฟอร์มที่ต้องการได้บ่อยครั้งที่การบริหารงานในระดับสูง
จาเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันจากหลายแผนก เพื่อประกอบการตัดสินใจ ระบบการ
ประสานงานเพื่อการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจการค้า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย(Departmental IS)
เป็นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสาหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งของ
องค์การ โดยแต่ละหน่วยอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใดงานหนึ่งของตน
โดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสาหรับคัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการ
โยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจเรียกว่า Human
resources information system
ระบบสารสนเทศขององค์การ(Enterprise IS)
ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ทั้งหมดภายใน
องค์การ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือองค์การนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์การ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
ระบบสารสนเทศระหว่างองค์การ(Interorganizational IS)
เป็นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์การอื่น ๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์การขึ้น
ไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอด
จนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริการ ปัจจุบัน
สารสนเทศระหว่างองค์การนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยงเป็น GIS เช่นระบบการจองตั๋วเครื่องบิน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (business information systems) เป็นระบบสารสนเทศที่
ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้การดาเนินงานของธุรกิจให้ดาเนินการอย่างเป็นระบบ โดยถูก
ออกแบบและพัฒนาให้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจ ตลอดจนช่วยส่งเสริมให้ทั้งองค์การ
สามารถประสานงานและใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในระดับปฏิบัติงานและระดับ
บริหาร โดยเราสามารถจาแนกระบบสารสนเทศตามหน้าที่ทางธุรกิจตามหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information system)
2. ระบบสารสนเทศด้านการเงิน (financial information system)
3. ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (marketing information system)
4. ระบบสารสนเทศด้านการผลิตและการดาเนินงาน (production and operations
information system)
5. ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล (human resource information system)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
ปัจจุบันงานของนักบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยี
สารสนเทศที่ทันสมัยทาให้มีการพัฒนาชุดคาสั่งสาเร็จรูปหรือชุดคาสั่ง เฉพาะสาหรับช่วย
ในการเก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาและเพิ่มความถูกต้องใน
การทางานแก่ผู้ใช้ ทาให้นักบัญชีมีเวลาในการปฏิบัติงานเชิงบริหารมากขึ้น เช่น การ
ออกแบบและพัฒนาระบบงาน พัฒนาระบบงบประมาณและระบบข้อมูลสาหรับผู้บริหาร
เป็นต้น โดยที่ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (Accounting information systems) หรือ
ที่เรียกว่า AIS จะเป็นระบบที่รวบรวม จัดระบบ และนาเสนอสารสนเทศทางการบัญชีที่
ช่วยในการตัดสินใจแก่ผู้ใช้สารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยระบบ
สารสนเทศทางการบัญชีจะให้ความสาคัญกับสารสนเทศที่สามารถวัดได้ หรือ การ
ประมวลผล เชิงปริมาณมากกว่าการแก้ปัญหาเชิงคุณภาพ โดยระบบสารสนเทศด้านการ
บัญชีจะมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
1. ระบบบัญชีการเงิน (financial accounting system) บัญชีการเงินเป็นการ
บันทึกรายการคาที่เกิดขึ้นในรูปตัวเงิน จัดหมวดหมู่รายการต่าง ๆ สรุปผลและตีความหมายในงบ
การเงิน ได้แก่ งบกาไรขาดทุน งบดุล และงบกระแสเงินสด โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ นาเสนอ
สารสนเทศแก่ผู้ใช้และผู้ที่สนใจข้อมูลทางการเงินขององค์การ เช่น นักลงทุนและเจ้าหนี้
นอกจากนี้ยังจัดเตรียมสารสนเทศในการตัดสินใจของผู้บริหาร ซึ่งนักบัญชีสามารถนาเทคโนโลยี
สารสนเทศใช้ในการประมวลข้อมูล โดยจดบันทึกลงในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปหรือจานแม่เหล็ก เพื่อ
รอเวลาสาหรับทาการประมวลและแสดงผลข้อมูลตามต้องการ
2. ระบบบัญชีบริหาร (managerial accounting system) บัญชีบริหารเป็นการ
นาเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ผู้บริหาร เพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ ระบบบัญชีจะประกอบด้วย
บัญชีต้นทุน การงบประมาณ และการศึกษาระบบ โดยมีลักษณะสาคัญคือ
* ให้ความสาคัญกับการจัดการสารสนเทศทางการบัญชีแก่ผู้ใช้ภายในองค์การ
* ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานในอนาคตของธุรกิจ
* ไม่ต้องจัดทาสารสนเทศตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
* มีข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน
* มีความยืดหยุ่นและสามารถปรับให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
ระบบการเงิน (financial system) เปรียบเสมือนระบบหมุนเวียนโลหิตของ
ร่างกายที่สูบฉีดโลหิตไปยังอวัยวะต่าง ๆ เพื่อให้การทางานของอวัยวะแต่ละส่วนเป็นปกติ
ถ้าระบบหมุนเวียนโลหิตไม่ดี การทางานของอวัยวะก็บกพร่อง ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรง
ต่อระบบร่างกาย ระบบการเงินจะเกี่ยวกับสภาพคล่อง (liquidity) ในการดาเนินงาน
เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินสดหมุนเวียน ถ้าธุรกิจขาดเงินทุน อาจก่อให้เกิดปัญหาขึ้นทั้ง
โดยตรงและทางอ้อม โดยที่การจัดการทางการเงินจะมีหน้าที่สาคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
1. การพยากรณ์ (forecast) การศึกษา วิเคราะห์ การคาดกราณ์ การกาหนดทางเลือก
และการวางแผนทางด้านการเงินของธุรกิจ เพื่อใช้ทรัพยากรทางการเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยนักการเงินสามารถใช้หลักการทางสถิติและแบบจาลองทาง คณิตศาสตร์มาประยุกต์ การ
พยากรณ์ทางการเงิน จะอาศัยข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ ตลอดจนประสบกราณ์
ของผู้บริหารในการตัดสินใจ
2. การจัดการด้านการเงิน (financial management) เกี่ยวข้องกับเรื่องการบริหารเงิน
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น รายรับและรายจ่าย การหาแหล่งเงินทุนจากภายนอก เพื่อที่จะเพิ่มทุน
ขององค์การ โดยวิธีการทางการเงิน เช่น การกู้ยืม การออกหุ้นหรือตราสารทางการเงินอื่น เป็น
ต้น
3. การควบคุมทางการเงิน (financial control) เพื่อติดตามผล ตรวจสอบ และ
ประเมินตวามเหมาะสมในการดาเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่กาหนดหรือไม่ ตลอดจนวางแนว
ทางแก้ไขหรือปรับปรุงให้การดาเนินงานทางการเงินของธุรกิจมีประสิทธิภาพ โดยที่การตรวจสอบ
และการควบคุมการทางการเงินของธุรกิจสามารถจาแนกออกเป็น 2 ประเภทดังต่อไปนี้
* การควบคุมภายใน (internal control)
* การควบคุมภายนอก (external control)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
การตลาด (marketing) เป็นหน้าที่สาคัญทางธุรกิจ เนื่องจากหน่วยงานด้าน
การตลาดจะรับผิดชอบในการกระจายสินค้าและบริการไปสู่ลูกค้า ตั้งแต่การศึกษา และ
วิเคราะห์ความต้องการ การวางแผนและการสร้างความต้องการ ตลอดจนส่งเสริมการขาย
จนกระทั้งสินค้าถึงมือลูกค้า ปกติการตัดสินใจทางการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการจัดส่วน
ประสมทางการตลาด (marketing mix) หรือ ส่วนประกอบที่ทาให้การดาเนินงานทาง
การตลาดประสบความสาเร็จ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์
(product) ราคา (price) สถานที่ (place) และการโฆษณา (promotion) หรือที่เรียกว่า
4Ps โดยสารสนเทศที่นักการตลาดต้องการในการวิเคราะห์ วางแผน ตรวจสอบ และ
ควบคุมให้แผนการตลาดเป็นไปตามที่ต้องการมาจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
1. การปฏิบัติงาน (operations) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงยอดขายและการ
ดาเนินงานด้านการตลาด ตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา โดยข้อมูลการปฏิบัติงานจะเป็น
ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่ช่วยในการตรวจสอบ ควบคุม และวางแนวทาง
ปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต
2. การวิจัยตลาด (marketing research) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและ
วิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด โดยเฉพาะพฤติกรรมและความสัมพันธ์ของผู้บริโภคที่มีต่อ
ผลิตภัณฑ์หรือบริการของธุรกิจ โดยนักการตลาดจะทาการวิจัยบนสมมติฐานและการเก็บ
ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ปกติข้อมูลในการวิจัยตลาดจะได้มาจากการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ
เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม การวิจัยตลาดช่วยผู้บริหารในการ
วางแผนและการตัดสินใจทางการตลาด แต่อาจมีข้อจากัดของความถูกต้องและความ
น่าเชื่อถือในการอธิบายพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
3. คู่แข่ง (competitor) คากล่าวที่ว่า “รู้เขารู้เรา รอบร้อยครั้งชนะทั้งร้อยครั้ง”
แสดงความสาคัญที่ธุรกิจต้องมีความเข้าใจในคู่แข่งขันทั้งด้านจานวนและศักยภาพ โดย
ข้อมูลจากการดาเนินงาน ของคู่แข่งขันช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผนการตลาดอย่าง
เหมาะสม ปกติข้อมูลจากคู่แข่งขันจะมีลักษณะไม่มีโครงสร้าง ไม่เป็นทางการ และมีแหล่ง
ที่มีไม่ชัดเจน เช่น การทดลองใช้สินค้าหรือบริการ การสัมภาษณ์ลูกค้าและตัวแทนจาหน่าย
การติดตามข้อมูลในตลาด และข้อมูลจากสื่อสารมวลชน เป็นต้น
4. กลยุทธ์ขององค์การ (corporate strategy) เป็นข้อมูลสาคัญทางการตลาด
เนื่องจากกลยุทธ์จะเป็นเครื่องกาหนดแนวทางปฏิบัติของธุรกิจ และเป็นฐานในการกาหนด
กลยุทธ์ทางการตลาดขององค์การ
5. ข้อมูลภายนอก (external data) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลต่อโอกาสหรืออุปสรรคของธุรกิจ โดยทาให้
ความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของลูกค้าขยายหรือหดตัว ตลอดจน
สร้างคู่แข่งขันใหม่หรือ เปลี่ยนขั้นตอนและรูปแบบในการดาเนินงาน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
สารสนเทศด้านการตลาดอาจจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจซึ่ง เราสามารถ
จาแนกระบบย่อยของระบบสารสนเทศด้านการตลาดได้ดังต่อไปนี้
1. ระบบสารสนเทศสาหรับการขาย สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อย 3 ระบบ
ดังต่อไปนี้
1. ระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนการขาย จะรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อ
สนับสนุนการดาเนินงานของฝ่ายขาย เพื่อให้การขายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งข้อมูลที่ระบบ
ต้องการจะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะทาการขาย รูปแบบ ราคา และการโฆษณาต่าง ๆ เพื่อดึงดูด
ความสนใจของลูกค้า นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับช่องทางและ วิธีการขายสินค้าผ่านตัวแทนจาหน่าย
ในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้า ตลอดจนคู่แข่งของผลิตภัณฑ์ที่จะขายและ
จาหน่ายสินค้าคงคลังของบริษัท
2. ระบบสารสนเทศสาหรับวิเคราะห์การขาย จะรวบรวมสารสนเทศใน
เรื่องของกาไรหรือขาดทุนของผลิตภัณฑ์ ความสามารถของพนักงานขายสินค้า ยอดขายของแต่ละ
เขตการขาย รวมทั้งแนวโน้มการเติบโตของสินค้า ซึ่งสามารถหาข้อมูลได้จากรายงานต่าง ๆ เช่น
รายงานการขาย รายงานของต้นทุนสินค้าและวัตถุดิบ เป็นต้น
3. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิเคราะห์ลูกค้า จะช่วยในการวิเคราะห์
ลูกค้าเพื่อให้ทราบถึงรูปแบบของการซื้อและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ เพื่อที่ธุรกิจจะสามารถ
ให้บริการลูกค้าได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อยตาม
หน้าที่ได้ 2 ระบบ ดังต่อไปนี้
1. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยลูกค้า การวิจัยลูกค้าจะต่างกับ
การวิเคราะห์ลูกค้าตรงที่ว่าการวิจัยลูกค้าจะมีขอบเขต ของการใช้สารสนเทศกว้างกว่าการ
วิเคราะห์ลูกค้า โดยการวิจัยลูกค้าจะต้องการทราบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับลูกค้าในด้าน
สถานะทางการเงิน การดาเนินธุรกิจ ความพอใจ รสนิยมและพฤติกรรมการบริโภค
2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้
ความสาคัญกับการหาขนาดของตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนาออกจาหน่าย ซึ่งอาจ
ครอบคลุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หลังจากนั้นก็จะกาหนดส่วนแบ่งตลาดของ
ผลิตภัณฑ์เพื่อทาการวางแผน กาหนดเป้าหมาย กาหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์
สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของการวิจัยตลาดคือสภาวะและแนวโน้มทาง เศรษฐกิจ
ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันในตลาด รวมทั้งสภาวะการ
แข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้ความสาคัญกับ
การหาขนาดของตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนาออกจาหน่าย ซึ่งอาจครอบคลุมทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาว หลังจากนั้นก็จะกาหนดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์เพื่อทาการ
วางแผน กาหนดเป้าหมาย กาหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์ สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการ
ของการวิจัยตลาดคือสภาวะและแนวโน้มทาง เศรษฐกิจ ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรม
หรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันในตลาด รวมทั้งสภาวะการแข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย
3. ระบบสารสนเทศสาหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสาคัญ
กับแผนงานทางด้านการโฆษณาและส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการ
ขาย เพิ่มยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการ
คือยอดขายของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใดต้องการแผนการส่งเสริมการ
ขาย และสารสนเทศที่เกี่ยวกับผลกาไรหรือขาดทุนของสินค้าแต่ละชนิด เพื่อให้ความสาคัญ
กับสินค้าตัวที่ทากาไร
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
4. ระบบสารสนเทศสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นระบบ
สารสนเทศที่วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ลักษณะและความต้องการ
ของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ต้องการของลูกค้าแต่ยังไม่มีตลาด โดย
สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของระบบได้แก่ ยอดขายของผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันในอดีต
เพื่อให้ทราบถึงขนาดและลักษณะของตลาด และการประมาณการต้นทุน เพื่อตอบคาถาม
ให้ได้ว่าสมควรที่จะออกผลิตภัณฑ์ใหม่หรือไม่
5. ระบบสารสนเทศสาหรับพยากรณ์การขาย เป็นระบบที่ใช้ในการวาง
แผนการขาย แผนการทากาไรจากสินค้าหรือบริการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของบริษัท ซึ่ง
จะส่งผลไปถึงการวางแผนการผลิต การวางกาลังคน และงบประมาณที่จะใช้เกี่ยวกับการ
ขาย โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือ ยอดขายในอดีต สถานะของคู่แข่งขัน สภาวการณ์
ของตลาด และแผนการโฆษณา
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
6. ระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนกาไร เป็นระบบสารสนเทศที่ให้
ความสาคัญกับการวางแผนทากาไรทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของธุรกิจ โดยสารสนเทศ
ที่เป็นที่ต้องการคือสารสนเทศจากการวิจัยตลาด ยอดขายในอดีต สารสนเทศของคู่แข่งขัน
การพยากรณ์การขาย และการโฆษณา
7. ระบบสารสนเทศสาหรับการกาหนดราคา การกาหนดราคาของสินค้านับว่า
เป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งทางการตลาด เพราะต้องคานึงถึงความต้องการของลูกค้า คู่แข่งขัน
กาลังซื้อของลูกค้า โดยปกติแล้วราคาสินค้าจะตั้งจากราคาต้นทุนรวมกับร้อยละของกาไรที่
ต้องการ โดยสารสนเทศที่ต้องการได้แก่ ตัวเลขกาไรของผลิตภัณฑ์ในอดีต เพื่อทาการ
ปรับปรุงราคาให้ได้สัดส่วนของกาไรคงเดิม ในกรณีที่ต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลง
8. ระบบสารสนเทศสาหรับการควบคุมค่าใช้จ่าย บุคคลที่เป็นผู้ควบคุม
ค่าใช้จ่ายสามารถควบคุมได้โดยดูจากรายงานของผลการทากาไร กับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง
หรือสาเหตุของการคลาดเคลื่อนของค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการขายรวมถึงค่าใช้จ่าย
ต่าง ๆ เช่น เงินเดือน ค่าโฆษณา ค่าส่วนแบ่งการขาย เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
การผลิต (production) เป็นกระบวนการแปรรูปทรัพยากรการผลิต เช่น วัตถุดิบ
แรงงาน และ พลังงาน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่พร้อมในการจัดจาหน่ายแก่ลูกค้า โดยผู้ผลิตต้อง
พยากรณ์ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า โดยไม่ให้มีจานวน
มากหรือน้อยจนเกินไป ตลอดจนควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของลูกค้า
โดยมีต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม ปัจจุบันการขยายตัวของธุรกิจจากการผลิตเข้าสู่สังคม
บริการ ทาให้มีการประยุกต์หลักการของการจัดการผลิตกับงานด้านบริการ ซึ่งเราจะเรียก
การผลิตในหน่วยบริการว่า “การดาเนินงาน (operations)” โดยที่แหล่งข้อมูลในการผลิต
และการดาเนินงานขององค์การมีดังต่อไปนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
1. ข้อมูลการผลิต/การดาเนินงาน (production/operations data) เป็นข้อมูล
จากกระบวนการผลิตหรือการให้บริการ ซึ่งจะแสดงภาพปัจจุบันของระบบการผลิตของ
ธุรกิจว่ามีประสทธิภาพมากน้อยเพียงใด และมีปัญหาอย่างไรในการดาเนินงาน ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ต่อการวางแผนในการแก้ปัญหาและการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานใน
อนาคต
2. ข้อมูลสินค้าคงคลัง (inventory data) บันทึกปริมาณวัตถุดิบและสินค้า
สาเร็จรูปที่เก็บไว้ในโกดัง โดยผู้จัดการต้องพยายามจัดให้มีสินค้าคงคลังในปริมาณไม่เกิน
ความจาเป็นหรือขาดแคลนเมื่อเกิดความต้องการขึ้น
3. ข้อมูลจากผู้ขายวัตถุดิบ (supplier data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ
คุณสมบัติ และราคาวัตถุดิบ ตลอดจนช่วงทางและต้นทุนในการลาเลียงวัตถุดิบ ปัจจุบัน
การพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data interchange) หรือที่
เรียกว่า EDI ช่วยให้การประสานงานระหว่างผู้ขายวัตถุดิบ ธุรกิจ และลูกค้ามีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
4. ข้อมูลแรงงานและบุคลากร (labor force and personnel data) ข้อมูล
เกี่ยวกับพนักงานในสายการผลิตและปฏิบัติการ เช่น อายุ การศึกษา และประสบการณ์
เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับงาน ขณะที่ข้อมูลภายนอก
เกี่ยวกับตลาดแรงงานจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและจัดหาแรงงานทดแทน และการ
กาหนดอัตราค่าจ้างอย่างเหมาะสม
5. กลยุทธ์องค์การ (corporate strategy) แผนกลยุทธ์ขององค์การจะเป็น
แม่บทและแนวทางในการกาหนดกลยุทธ์การผลิตแลการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินงานขององค์การ นอกจากจะ
ส่งผลต่อการพัฒนาผลิตผล (productivity) ของธุรกิจ โดยเฉพาะการปฏิบัติ ตั้งแต่การ
ตัดสินใจเกี่ยวกับการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ การปรับปรุง
กระบวนการผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การวางแผนคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต และการ
ควบคุมต้นทุนขององค์การให้มีประสิทธิภาพขึ้น ทาให้ระบบอุตสาหกรรมและระบบ
เศรษฐกิจโดยรวมเติบโตแล้ว ยังส่งผลต่อความคล่องตัวในการปฏิบัติงานและการ
จัดรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมโดยทางตรงและทางอ้อม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
การวางแผนความต้องการวัสดุ การบริหารทรัพยากรการผลิต โดยเฉพาะวัตถุดิบ
(raw materials) เป็นหัวใจสาคัญของการจัดการด้านการดาเนินงานการผลิต ถ้าธุรกิจมี
ปริมาณวัตถุดิบมากเกินไปจะทาให้ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสูง แต่ถ้ามีปริมาณวัตถุดิบ
น้อยเกินไปก็จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อแผนและกระบวนการผลิต ตลอดจนก่อให้เกิดค่า
เสียโอกาสทางธุรกิจ การวางแผนความต้องการวัสดุ (material requirement planning)
หรือที่เรียกว่า MRP เป็นระบบสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระบบการผลิต เพื่อ
ประกอบการวางแผนความต้องการวัสดุเพื่อให้ธุรกิจสามารถจัดการวัตถุดิบอย่างมี
ประสิทธิภาพ โดย MRP ให้ความสาคัญกับสิ่งต่อไปนี้
1. ไม่เก็บวัตถุดิบเพื่อรอการใช้งานไว้นานเกินไป ซึ่งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเก็บ
รักษาและความเสี่ยงในการสูญหายหรือสูญเสีย
2. รายงานผลการผลิตและความเสียหายที่เกิดขึ้นตามระยะเวลาที่กาหนด
3. ควบคุมสินค้าคงคลังอย่างเป็นระบบ
4. มีการตรวจสอบ แก้ไข และติดตามผลข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
โดยที่ MRP มีบทบาทต่อระบบการผลิตขององค์การตั้งแต่การจัดหาวัสดุ เพื่อทา
การผลิตโดยการกาหนดปริมาณและระยะเวลาในการสั่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย ตลอดจน
จัดเตรียมรายละเอียดของการผลิตในอนาคตซึ่งเราสามารถสรุปว่า MRP มีข้อดีดังต่อไปนี้
1. ลดการขาดแคลนวัตถุดิบที่จาเป็นในการผลิต
2. ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง
3. ช่วยให้บุคลากรมีเวลาในการปฏิบัติงานอื่นมากขึ้น
4. ประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายในการติดตามวัตถุดิบ
5. ช่วยให้องค์การสามารถปรับตัวอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
นอกจากระบบ MRP แล้ว ได้มีผู้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการดาเนินงาน
เช่น การจัดการคุณภาพโดยรวม (total quality management) หรือที่เรียกว่า TQM
และการผลิตแบบทันเวลาพอดี (just-in-time production) หรือที่เรียกว่า JIT เพื่อให้ได้
การผลิตที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ซึ่งต่างต้องอาศัยระบบสารสนเทศที่มี
ประสิทธิภาพ เกี่ยวข้องกับผู้ขายวัตถุดิบ (supplier) และลูกค้าภายนอกองค์การ ตลอดจน
บุคลากรต้องมีความรู้และความสามารถใน การใช้งานระบบสารสนเทศด้านการผลิตของ
องค์การอย่างเต็มที่
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล (human resource information system)
หรือ HRIS หรือระบบสานสนเทศสาหรับบริหารงานบุคคล (personnel information system)
หรือ PIS เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาให้สนับสนุนการดาเนินงานด้านทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่
การวางแผน การจ้างงาน การพัฒนาและการฝึกอบรม ค่าจ้างเงินเดือน การดาเนินการทางวินัย
ช่วยให้การบริหารทรัพยากรบุคคลเกิดประสิทธิภาพ โดยที่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคลจะ
มีดังนี้
1. ข้อมูลบุคลากร เป็นข้อมูลของสมาชิกแต่ละคนขององค์การ ซึ่งประกอบด้วย
ประวัติเงินเดือนและ สวัสดิการ เป็นต้น
2. ผังองค์การ แสดงโครงสร้างองค์การ การจัดหน่วยงานและแผนกาลังคน ซึ่งแสดง
ทั้งปริมาณและการจัดสรรทรัพยากรบุคคล
3. ข้อมูลจากภายนอก ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลมิใช่ระบบปิดที่ควบคุมและ
ดูแลสมาชิกภายในองค์การเท่านั้น แต่จะเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และ
การเมือง ซึ่งต้องการข้อมูลจากภายนอกองค์การ เช่น การสารวจเงินเดือน อัตราการว่างงาน
อัตราเงินเฟ้อ เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
การจัดการทรัพยากรบุคคลเป็นงานสาคัญที่มิใช่เพียงแต่การปฏิบัติงาน ประจา
วันที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแลบุคลากรและค่าจ้างแรงงานเท่านั้น แต่ต้องเป็นการ
ดาเนินงานเชิงรุก (proactive) การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินงานช่วย
ให้งานทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพขึ้น โดยที่การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากร
บุคคลต้องพิจารณาปัจจัยสาคัญ 5 ประการดังต่อไปนี้
1. ความสามารถ (capability) หมายถึงความพร้อมขององค์การและบุคคล
ในการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยต้องพิจารณาความสามารถของบุคลากร 3 กลุ่ม
คือ
1. ผู้บริหารระดับสูงต้องพร้อมที่จะสนับสนุนด้านนโยบาย กาลังคน
กาลังเงิน และวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาระบบสานสนเทศขององค์การ
2. ฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตื่นตัวในการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ เพื่อให้การทางานในหน่วยงานมีความคล่องตัวขึ้น
3. ฝ่ายสารสนเทศที่ต้องทาความเข้าใจและออกแบบระบบงานให้
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ในแต่ละกลุ่ม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
2. การควบคุม (control) การพัฒนา HRIS จะให้ความสาคัญกับความปลอดภัย
ของสารสนเทศโดยเฉพาะการเข้า ถึงและความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากข้อมูลด้าน
ทรัพยากรบุคคลจะเกี่ยวข้องกับความเป็นส่วนตัวของสมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะมีผลต่อ
ชื่อเสียงและผลได้-ผลเสียของบุคคล จึงต้องมีการจัดระบบการเข้าถึงและจัดการข้อมูลที่
รัดกุม โดยอนุญาตให้ผู้มีหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละหน่วยงานสามารถ เข้าถึงและ
ปรับปรุงสารสนเทศในส่วนงานของตนเท่านั้น
3. ต้นทุน (cost) ปกติการดาเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลจะมีต้นทุนที่สูง
ขณะเดียวกันก็จะไม่เห็นผลตอบแทนที่ชัดเจน ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงขององค์การ
ทั้งในด้านการขยายตัวและหดตัวซึ่งจะมีผลกระทบต่อบุคลากร ดังนั้นฝ่ายบริหารและ
ทรัพยากรบุคคลสมควรมีข้อมูลที่เหมาะสมในการตัดสินใจ เป็นต้น ขณะเดียวกัน การ
ลงทุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งฝ่ายบริหารสมควรต้องพิจารณา
ผลตอบแทนที่ได้รับจากการพัฒนาระบบว่าคุ้มค่ากับต้นทุนที่ใช้ไปหรือไม่
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
4. การติดต่อสื่อสาร (communication) หมายถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ต้องศึกษาการไหลเวียนของสารสนเทศ (information flow) ภายในองค์การและ
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจนเตรียมการในการ
สื่อสารข้อมูล เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ เกิดความเข้าใจและทัศนคติที่ดีกับการนาระบบ
สารสนเทศมาประยุกต์ใช้
5. ความได้เปรียบในการแข่งขัน (competitive advantage) ปัจจุบันการ
พัฒนา HRIS ไม่เพียงแต่ช่วยให้การดาเนินงานขององค์การมีประสิทธิภาพขึ้น แต่ยังมีส่วน
สาคัญในการสร้างศักยภาพและความได้เปรียบในการแข่งขันให้แก่ธุรกิจ
ปัจจุบันเราต่างยอมรับว่า คนเป็นหัวใจสาคัญของธุรกิจ แต่ทรัพยากรบุคคล
เป็นทรัพยากรมีค่าใช้จ่ายสูงที่ธุรกิจ ต้องรับภาระทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น เงินเดือน
สวัสดิการ และข้อมูลผูกพันในสัญญาจ้างงาน HRIS เป็นระบบสารสนเทศที่นาเสนอข้อมูล
การตัดสินใจซึ่งเกิดประโยชน์แก่องค์การและสมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหาร
สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับงานด้านทรัพยากรบุคคลอย่างถูกต้องขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
ระบบสารสนเทศสามารถจาแนกตามลักษณะการดาเนินงานได้ดังนี้
1. ระบบสารสนเทศประมวลผลรายการธุรกรรม (TPS : Transaction
Processing System) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึก และประมวลผลข้อมูลที่
เกิดจากการทาธุรกรรม หรือการปฏิบัติงานประจา เช่น การบันทึกรายการขายประจา
รายการสั่งซื้อสินค้า หรือวัตถุดิบ การฝากถอนเงินจากธนาคาร เป็นต้น
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information
System) เป็นการนาข้อมูลจากระบบสารสนเทศประมวลผลรายการธุรกรรม มา
ประมวลผล เพื่อนาไปใช้ในการควบคุมการทางาน หรือตัดสินใจในระดับการปฏิบัติการ
เช่น ราบงานตามระยะเวลาที่กาหนด รายงานสรุป รายงานเมื่อมีเงื่อนไขเฉพาะเกิดขึ้น
รายงานความต้องการ เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
3. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS : Decision Support
System) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ เพื่อนามาประมวลผล
ให้ได้สารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เช่น การตัดสินใจสร้าง
โรงงานผลิตแห่งใหม่ หรือการตัดสินใจเรื่องการคิดโปรโมชั่นสินค้า เป็นต้น
4. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS : Group
Decision Support System) เป็นระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยน กระตุ้น
ระดมความคิด และแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในกลุ่ม มักใช้ในการประชุมทางไกล การ
ลงคะแนนเสียง เป็นต้น
5. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
เป็นระบบสารสนเทศที่ทาการจักเก็บข้อมูลทางภูมิศาสตร์ แล้วนามาจัดแสดงในรูปของ
แผนที่ดิจิทัล ซึ่งระบุที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่น นามาใช้พิจารณาการกระจายตัวของ
ประชาชน หรือทรัพยากรทางธรรมชาติทางภูมิศาสตร์ การตรวจสอบเส้นทางการค้นส่ง
สินค้า เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
6. ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง (EIS :
Executive Information System) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์
ปัญหา ศึกษาแนวโน้มในเรื่องที่สนใจ ส่วนใหญ่จะนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบรายงาน
ตาราง กราฟ เพื่อสรุปสารสนเทศให้ผู้บริหารเข้าใจได้ง่าย
7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คือการพัฒนาระบบ
คอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเหมือนมนุษย์ โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้ และ
ความสามารถทางประสาทสัมผัส ซึ่งเรียนแบบการเรียนรู้ และการตัดสินใจของมนุษย์
8. ระบบสารสนเทศสานักงาน (OIS : Office Information System) เป็นระบบ
สารสนเทศที่นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของ
ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร เช่น การจัดทาเอกสาร รายงาน จดหมาย ธุรกิจ เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
หน่วยงานและบริษัทที่ใช้เทคโนโลยีในการดาเนินงานทั้งในส่วนที่เป็นงานหลัก
และส่วนที่เป็นงานสนับสนุนนั้น จาเป็นจะต้องมีผู้รับผิดชอบต่อการพัฒนาและการใช้
เทคโนโลยี ผู้รับผิดชอบนี้จะเป็น Chief Technology Officer หรือ CTO ส่วนหน่วยงานที่
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นหลัก ผู้รับผิดชอบ น่าจะเป็น Chief
Information Officer หรือ CIO ไม่ว่าผู้รับผิดชอบจะเป็น CTO หรือ CIO หน้าที่หลักควร
จะมีดังนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
1. การวางแผน การทางานใด ๆ ก็ตามจะประสบความสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อมีแผนที่
เหมาะสมและ คานึงถึงเรื่องต่าง ๆ ที่จาเป็นครบถ้วน แผนที่จะต้องพัฒนาขึ้น มีหลายแผน
เช่นแผนยุทธศาสตร์ อันเป็นแผนหลักที่พิจารณาในด้านกลยุทธที่จะช่วยให้หน่วยงาน
ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล แผนระยะสั้นหรือแผนปฏิบัติงาน
ประจาปี (หรืออีกนัยหนึ่งก็คือแผนงานตาม งบประมาณ) แผนการจัดการความเสี่ยง เพื่อ
พิจารณาว่าการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีนั้นมีอะไรบ้าง และควร
จะดาเนินการอย่างไรในการแก้ปัญหาที่เกิดจากความเสี่ยง นั้น แผนการชัดซื้อ อันเป็น
แผนงานที่เกี่ยวข้องกับการเลือกนวัตกรรมมาใช้ในหน่วยงาน
2. การจัดสรรทรัพยากร ทาหน้าที่พิจารณาอนุมัติโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยีต่าง ๆ ของ หน่วยงาน โดยดูว่าโครงการนั้น ๆ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
หรือไม่ มีความเหมาะสมและ เป็นไปได้หรือไม่ จะให้ประโยชน์ตอบแทนได้จริงหรือไม่
จากนั้นก็จัดสรรทรัพยากรให้แก่ โครงการต่าง ๆ อย่างพอเพียงที่จะดาเนินการนั้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
3. การพัฒนาบุคลากร การที่หน่วยงานจะสามารถพัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยี
หรือนวัตกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีบุคลากรที่มีความรู้และ
ทักษะเป็นจานวนมากพอ ผู้บริหารเทคโนโลยีจะต้องสารวจว่านวัตกรรมที่จะใช้นั้น
จาเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้และ ทักษะทางด้านใดบ้าง หากหน่วยงานไม่มีบุคลากร
เช่นนี้มากพอ ก็จะต้องวางแผนพัฒนาบุคลากร ให้พอเพียงโดยอาจว่าจ้างมาเพิ่ม หรือ
อาจจะว่าจ้างเป็นที่ปรึกษาแล้วแต่กรณี แต่ถ้าหากมีบุคลากรบ้างแล้ว แต่บุคลากรไม่ได้มี
ประสบการณ์หรือมีความรู้ทางด้านที่ต้องการ ก็จะต้องจัดฝึกอบรมให้บุคลากรมีความรู้
พอเพียง
4. การอานวยการ หมายถึงการดูแลให้การปฏิบัติงานกับเทคโนโลยีเป็นไปอย่าง
เรียบร้อยและมี ประสิทธิผล ผู้บริหารเทคโนโลยีอาจจะไม่ใช่ผู้ที่ลงไปปฏิบัติงานกับ
นวัตกรรม หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ โดยตรง แต่เป็นผู้ที่ทาหน้าที่กากับการปฏิบัติงานผ่าน
ผู้บริหารอื่น ๆ อย่างไรก็ตามผู้บริหาร เทคโนโลยีจะต้องร่วมพิจารณาแนวทางการ
ปฏิบัติงานกับผู้บริหารอื่น ๆ ให้แน่ใจว่างานต่าง ๆ จะ เป็นไปตามแผนงาน และมีการ
ควบคุมให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างเหมาะสม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
5. การจัดเก็บข้อมูล คือการสั่งการให้มีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
และผลที่เกิดขึ้น แล้ว นาข้อมูลมาพิจารณาว่าการดาเนินงานนั้นให้ผลตามที่คาดการณ์ไว้
หรือไม่ หากพบว่าการปฏิบัติงานมีปัญหา ก็ให้นารายละเอียดมาพิจารณาหาทางแก้ไข แล้ว
นาไปปรับปรุงกระบวนการ ทางานเดิมให้ดีขึ้น
6. การจัดการความรู้ คือการสนับสนุนให้บริษัทสะสมจัดเก็บความรู้และ
ประสบการณ์ที่ได้จากการ ดาเนินงานต่าง ๆ ทั้งที่เป็นงานประจาและงานโครงการ เพื่อให้
เกิดองค์ความรู้สาหรับนาไปใช้ในอนาคต
7. การจัดทารายงาน ผู้บริหารเทคโนโลยียังไม่ใช่ผู้บริหารสูงสุดของบริษัท ดังนั้น
จึงต้องจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อนาเสนอต่อผู้บริหาร
และผู้เกี่ยวข้องเป็นระยะ ๆ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 43
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (2561) กล่าวว่า วิถีชีวิตของเทคโนโลยีเริ่มมีบทบาทต่อ
ผู้คนมากขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยความก้าวหน้า รวดเร็ว และเที่ยงตรง ทาให้เทคโนโลยีที่มี
หลากหลาย เริ่มเป็นที่น่าจับตามมองที่จะพลิกโฉมอุตสาหกรรมและธุรกิจในอนาคต ผลการ
สารวจผลจาก Tech Breakthroughs Megatrend ซึ่งทาการสารวจรูปแบบเทคโนโลยีกว่า
150 แบบทั่วโลกจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วและกาลังพัฒนา เพื่อค้นหาเทคโนโลยีที่จะ
เข้ามามีบทบาทในการพลิกโลกเข้าสู่อุตสาหกรรมเทคโนโลยีในอนาคตอีก 3-7 ปีข้างหน้า
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 44
Ai เรียกง่ายๆ ก็คือคอมพิวเตอร์ที่สามารถคิดและวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ด้วยเหตุและผล จน
สามารถตอบโต้การสนทนาได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนั้นยังสามารถเรียนรู้และจดจาสิ่งที่ผ่านมาเป็น
บทเรียนได้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งการพัฒนาเทคโนโลยีนี้ถูกแบ่งออกเป็นหลายรูปแบบเพราะการนาไปใช้
งานของแต่ละองค์การนั้นแตกต่างกัน ซึ่งแน่นอนว่าการบริการที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้นเป็นเพียง
บางส่วนของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เท่านั้น แต่ในอนาคต ความก้าวหน้าและผลสาเร็จของ
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์จะช่วยให้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของโลกอินเทอร์เน็ตถูกนามาใช้
ประโยชน์มากกว่าในปัจจุบัน นอกจากนั้นยังสามารถช่วยเหลือมนุษย์ได้ทุกเรื่องจากการ
ประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งมนุษย์ไม่มีวันทาได้ แต่ถึงกระนั้นความกังวลใจเกี่ยวกับการคิด
วิเคราะห์เองได้อย่างอิสระของปัญญาประดิษฐ์ก็ถูกมองว่าอาจจะเป็นภัยต่อมนุษย์ เพราะกรอบ
จริยธรรม ความคิด หรือแม้กระทั่งการตอบสนองจะต้องถูกควบคุมอย่างดี เพื่อให้ปลอดภัยกับ
มนุษย์มากที่สุด ก่อนที่จะเริ่มการปฏิวัติวงการด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์นั่นเอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 45
AR เทคโนโลยีโลกกึ่งเสมือนจริง ด้วยรูปแบบการผสมผสานเทคโนโลยีการ
มองเห็นกับโลกของความเป็นจริงมาเป็นหนึ่งเดียว ด้วยการซ้อนเทคโนโลยีเข้ากับการมอง
ของมนุษย์ปกติ ทาให้เกิดมุมมองใหม่ของการเรียกใช้เทคโนโลยีและจัดการระบบได้อย่าง
เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยปัจจุบันแม้ว่าจะยังเป็นแค่การทางานอย่างง่าย ๆ เช่น การออก
กาลังกายในลู่วิ่ง เมื่อสวมแว่น VR เข้าไปจะทาให้การวิ่งนั้นมองเห็นวิวทิวทัศน์ในสถานที่ที่
เราต้องการได้อย่างเป็นธรรมชาติ หรือจะเป็นการสวมใส่ VR ในการจัดของเพื่อตรวจนับส
ต๊อกสินค้าไปในตัว เป็นต้น ซึ่งอีกไม่นานเราจะเห็นการนา AR ไปใช้ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง
ด้านความบันเทิงและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างแพร่หลายในอนาคต
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 46
บล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีการร้อยต่อข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันทั้งหมด โดยข้อมูลทุก
บล็อกจะเป็นเหมือนสาเนาของตัวเอง เมื่อเกิดการแก้ไขจะทาให้ทุกบล็อกรับรู้การแก้ไขนั้น
ๆ และมีประวัติเก็บไว้อย่างซับซ้อน โดยเนื้อแท้ของเทคโนโลยีจึงมีความปลอดภัยจาก
โครงสร้างที่เกิดขึ้น ซึ่งความสามารถของบล็อกเชนเริ่มเป็นที่รู้จักเมื่อถูกนามาใช้งานในรูป
ของ Bitcoin หรือเงินเสมือนจริงที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ด้วยรูปแบบการบันทึกทุก
กล่องเป็นสาเนาข้อมูลเหมือนกันหมด ทาให้บล็อกเชนมีความปลอดภัยมากกว่าการบันทึก
ด้วยมนุษย์หรือเครื่องมือบันทึกใด ๆ ที่มีอยู่เดิม และนั่นก็ทาให้บล็อกเชนได้รับความสนใจ
กับกลุ่มธุรกิจการเงินเช่นธนาคารเป็นอย่างมาก โดยเชื่อว่าบล็อกเชนจะเป็นนวัตกรรมทาง
การเงินที่มีความปลอดภัยและรวดเร็วมากกว่าเทคโนโลยีการเงินที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 47
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities

More Related Content

What's hot

Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingTeetut Tresirichod
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingTeetut Tresirichod
 
การใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงานการใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงานPrapisee Nilawongse
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 

What's hot (20)

Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinking
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
Chapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in processChapter 11 design thinking in process
Chapter 11 design thinking in process
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
Chapter 8 test
Chapter 8 testChapter 8 test
Chapter 8 test
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Chapter 4 empathize
Chapter 4 empathizeChapter 4 empathize
Chapter 4 empathize
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
06 ma
06 ma06 ma
06 ma
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
 
การใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงานการใช้เครื่องใช้สำนักงาน
การใช้เครื่องใช้สำนักงาน
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 

Similar to Chapter 6 business technology management activities

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศmilk tnc
 
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศmulhee
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_editNicemooon
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้nongponthip10
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 

Similar to Chapter 6 business technology management activities (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Km3
Km3Km3
Km3
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_edit
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ถูกนำมาใช้กับการจัดการความรู้
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
654569
654569654569
654569
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 

More from Teetut Tresirichod

บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (18)

บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
System management
System managementSystem management
System management
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for service
 

Chapter 6 business technology management activities

  • 2. เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาบทนี้แล้วสามารถ 6.1 เข้าใจการได้มาของเทคโนโลยีทางธุรกิจ 6.2 อธิบายการใช้ประโยชน์ 6.3 อธิบายการจาแนก 6.4 อธิบายการเรียนรู้ 6.5 อธิบายการป้องกัน 6.6 อธิบายการเลือกสรร ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
  • 3. ริทชี่ (Ritchie) มาร์แชล (Marshal) และ อาร์ดเลย์ (Eardley) (1998) ได้กล่าวถึงประโยชน์ ของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อองค์การในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานทั้งในด้านเวลา ด้านการใช้ทรัพยากรบุคคล และ ต้นทุน 2. พัฒนาคุณภาพของสารสนเทศที่ได้รับ ได้แก่ ความเที่ยงตรง ความชัดเจน การ ประหยัดเวลา ฯลฯ 3. ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ 4. เพิ่มประสิทธิภาพการทางานด้วยการใช้ฐานข้อมูลร่วมกนทั้งภายในและภายนอก องค์การ 5. พัฒนาประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์การ 6. เป็นเครื่องมือเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของความรู้ในองค์การ ให้เป็นความรู้ที่เกิด ประโยชน์ต่อบุคคล กลุ่มบุคคล องค์การ เรียกว่าระบบการจัดการความรู้ ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศ รูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวกับการสร้าง การเก็บรักษา และแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ทั้งภายในและภายนอก องค์การ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. 1. เพื่อให้ส่วนต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือองค์การ สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน ข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ระหว่างกันได้ 2. เพื่อเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศและความรู้กบหน่วยงานอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องได้สะดวก 3. เพื่อปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานโดยลดขั้นตอนงานที่ซ้าซ้อน 4. เพื่อให้สามารถรายงานผลได้อยางรวดเร็ว ถูกต้อง และทันเหตุการณ์ 5. เพื่อให้สามารถนาสารสนเทศและความรู้มาใช้ในการบริหาร จัดการ การ ตัดสินใจ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ จึงจาเป็นต้องรู้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับสารสนเทศนั้น สิ่งที่ควรรู้ ได้แก่ 1. แหล่งที่อยู่ของสารสนเทศ กล่าวคือ หากเราต้องการรู้สารสนเทศอย่างหนึ่งเราควรรู้ว่า สารสนเทศนั้นมีอยู่ที่ใด หรือน่าจะมีอยู่ที่ใด เช่น ถ้าอยากรู้ว่าราคาซื้อขายทองคาในวันนี้ราคาเท่าไร แหล่ง ของสารสนเทศในกรณีนี้ได้แก่หนังสือพิมพ์ ข่าวทางโทรทัศน์ ร้านขายทอง และอินเตอร์เน็ต 2. วิธีเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศแต่ละแห่งย่อมมีข้อจากัดในการเปิดโอกาสให้ บุคคลเข้าไปใช้ เช่น มีกาหนดวันเวลาบริการ กาหนดประเภทของบุคคลที่จะเข้าใช้ เป็นต้น เราควรรู้ รายละเอียดเหล่านี้ก่อนเพื่อป้องกันอุปสรรคและความไม่สะดวกที่จะเกิดขึ้น 3. ขอบข่ายเนื้อหาสาระของสารสนเทศ นั่นคือต้องรู้ว่าสารสนเทศที่มีอยู่นั้นมีเนื้อหาเกี่ยวกับ อะไร ให้รายละเอียดในลักษณะใด 4. วิธีค้นหาและ/หรือค้นคืน (Retrieval) ผู้ใช้จะต้องรู้วิธีการจัดเก็บสารสนเทศของแหล่ง สารสนเทศที่จะเข้าใช้ เช่น รู้วิธีการเรียงเลขเรียกหนังสือ รู้วิธีใช้บัตรรายการ วิธีใช้ OPAC รู้วิธีค้นหา เรื่องราวจากหนังสือ วารสาร ฐานข้อมูล รู้วิธีค้นจาก Internet เป็นต้น การจะใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด นอกเหนือจากจะต้องมีความรู้ทั้ง 4 ประการ ดังกล่าวมาแล้ว เราจะต้องตระหนักถึงธรรมชาติของสารสนเทศด้วยเสมอ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่ทาให้การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ และได้สารสนเทศที่ นามาใช้ประโยชน์ได้ มีดังนี้ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้งานในระบบสารสนเทศ เช่น อุปกรณ์สานักงาน และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ โดยฮาร์ดแวร์ที่สาคัญที่สุดในระบบสารสนเทศ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้ตามหน่วยการทางาน ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่ในหน่วยรับข้อมูล เรียกว่า อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ได้แก่ แป้นพิมพ์ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) กล้องดิจิทัล (Digital Camera) สแกนเนอร์ (Scanner) และไมโครโฟน (Microphone) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) มีลักษณะเป็น วงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือชิป (Chip) ภายในประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (Transistor) และอุปกรณ์อื่น ๆ รวมอยู่ด้วยกันจานวนมากภายในคอมพิวเตอร์ หน่วยความจา (Memory Unit) เป็นหน่วยที่ทางานในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย ความเร็วมากที่สุด มีหลายแบบทั้งแบบที่ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์และแบบพกพาหน่วยความจาแบ่ง ตามลักษณะการทางานเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลที่ได้จาก การประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เครื่องพิมพ์ และจอภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หรือ โปรแกรม คือชุดคาสั่งที่เรียงเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ ใช้ในการทางานระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์การ มี 2 ประเภท ดังนี้ 1) ซอฟต์แวร์ระบบ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การรับ ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบ ประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการและตัวแปรภาษา เช่น Microsoft Windows, Macintosh, Linux, Open Solaris, Chrome OS 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้ใช้งาน ระดับบุคคลอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมการทางานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ สาหรับในระดับ องค์การ มักจะมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละองค์การ โดย นักเขียนโปรแกรมในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์การนั้น ๆ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. 3. บุคลากร คือบุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ ซึ่งหากบุคลากรมีความรู้ ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ส่งผลให้ระบบ สารสนเทศทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลงานที่มีคุณภาพ บุคคลที่เกี่ยวข้องในการจัดการระบบ สารสนเทศ มีดังนี้ 1) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ทาหน้าที่วิเคราะห์ระบบการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศที่ต้องการ โดยศึกษาปัญหาที่เคยเกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ ตลอดจน หาแนวทางในการแก้ไขและปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนักวิเคราะห์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นบุคลากรภายในองค์การ (Staff employee within the organization) 1.2 นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นที่ปรึกษาจากภายนอก (Outside or external consultant) 2) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่ทาหน้าที่รับระบบสารสนเทศจากนักวิเคราะห์ระบบที่ได้ จัดทาไว้มาเขียนหรือสร้างให้เป็นโปรแกรม เพื่อสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ทาหน้าที่ได้ผลลัพธ์ตามที่ ออกแบบมา 3) เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Operator) คือ ฝ่ายที่ทาหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลง ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ตรงตามความต้องการอย่างมี ประสิทธิภาพ 4) ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศโดยตรง ผู้ใช้ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องมีความรู้ เกี่ยวกับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 9. 4. ข้อมูล คือ องค์ประกอบที่ชี้วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบสารสนเทศ ข้อมูลที่ดีซึ่งเหมาะแก่การนาไปใช้งานต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย และมีความ น่าเชื่อถือ โดยผ่านกระบวนการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้ว นอกจากนี้ระบบต้องมีการ จัดเก็บข้อมูลให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวกต่อการค้นหา 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คือ ระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน ลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติงาน หรือกระบวนการในการจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ ได้แก่ - การรวบรวมข้อมูล - ตรวจสอบข้อมูล - ประมวลผลข้อมูล - จัดเก็บและดูแลรักษาข้อมูล ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
  • 10. 1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบข้อมูลที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่ม ผลงานให้บุคลากรในแต่ละคนในองค์การ ระบบสารสนเทศระดับบุคคลนี้มีแนวทางในการ ประยุกต์ที่ช่วยให้การทางานในหน้าที่รับผิดชอบและส่วนตัวของผู้นั้น มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลงราคาถูกความสามารถในการ ประมวลผลด้วย ความเร็วสูงขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสาเร็จที่ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ ง่าย กว้างขวางและและคุ้มค่ามากขึ้น โปรแกรมสาเร็จในปัจจุบันเริ่มมีความลงตัวและมีการ รวบรวมไว้เป็นชุดโปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา (Word Processing) ที่ช่วยในการ พิมพ์เอกสาร ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
  • 11. 2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทางานของ กลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมายการทางานร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างของการใช้ ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานของแผนก คาว่า การทางานเป็นกลุ่ม (Workgroup) ใน ที่นี้หมายถึง กลุ่มบุคคลจานวน ๒ คนขึ้นไปที่ร่วมกันทางานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โดยทั่วไป บุคลากรในกลุ่มเดียวกันจะรู้จักกันและกันและทางานเคียงบ่าเคียงไหล่เป้าหมาย หลักของการทางานเป็นกลุ่ม คือการเตรียมสภาวะแวดล้อมที่จะเอื้ออานวยประโยชน์ใน การทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันโดย ทาให้เป้าหมายของธุรกิจดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิผล ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 12. 3. ระบบสารสนเทศระดับองค์การ คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานของ องค์การในภาพรวมระบบในลักษณะ นี้จะเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานร่วมกันของหลาย แผนกโดยการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องและส่งผ่านถึงกันจากแผนก หนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่งได้ ระบบสารสนเทศดังกล่าวนี้จึงสามารถสนับสนุนงานการใช้ข้อมูลเพื่อการบริหาร งานใน ระดับผู้ปฏิบัติการและสนับสนุนงานการบริหารและจัดการในระดับที่สูงขึ้นได้ด้วยเนื่องจาก สามารถ ให้ข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาประกอบการตัดสินใจ โดยอาจนาข้อมูล มาแสดงในรูปแบบสรุปหรือในแบบฟอร์มที่ต้องการได้บ่อยครั้งที่การบริหารงานในระดับสูง จาเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันจากหลายแผนก เพื่อประกอบการตัดสินใจ ระบบการ ประสานงานเพื่อการสร้างรายได้ให้กับธุรกิจการค้า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย(Departmental IS) เป็นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสาหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งของ องค์การ โดยแต่ละหน่วยอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใดงานหนึ่งของตน โดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสาหรับคัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการ โยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจเรียกว่า Human resources information system ระบบสารสนเทศขององค์การ(Enterprise IS) ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ทั้งหมดภายใน องค์การ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือองค์การนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์การ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. ระบบสารสนเทศระหว่างองค์การ(Interorganizational IS) เป็นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์การอื่น ๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์การขึ้น ไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอด จนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริการ ปัจจุบัน สารสนเทศระหว่างองค์การนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยงเป็น GIS เช่นระบบการจองตั๋วเครื่องบิน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (business information systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้การดาเนินงานของธุรกิจให้ดาเนินการอย่างเป็นระบบ โดยถูก ออกแบบและพัฒนาให้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจ ตลอดจนช่วยส่งเสริมให้ทั้งองค์การ สามารถประสานงานและใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในระดับปฏิบัติงานและระดับ บริหาร โดยเราสามารถจาแนกระบบสารสนเทศตามหน้าที่ทางธุรกิจตามหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information system) 2. ระบบสารสนเทศด้านการเงิน (financial information system) 3. ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (marketing information system) 4. ระบบสารสนเทศด้านการผลิตและการดาเนินงาน (production and operations information system) 5. ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล (human resource information system) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. ปัจจุบันงานของนักบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมัยทาให้มีการพัฒนาชุดคาสั่งสาเร็จรูปหรือชุดคาสั่ง เฉพาะสาหรับช่วย ในการเก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาและเพิ่มความถูกต้องใน การทางานแก่ผู้ใช้ ทาให้นักบัญชีมีเวลาในการปฏิบัติงานเชิงบริหารมากขึ้น เช่น การ ออกแบบและพัฒนาระบบงาน พัฒนาระบบงบประมาณและระบบข้อมูลสาหรับผู้บริหาร เป็นต้น โดยที่ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (Accounting information systems) หรือ ที่เรียกว่า AIS จะเป็นระบบที่รวบรวม จัดระบบ และนาเสนอสารสนเทศทางการบัญชีที่ ช่วยในการตัดสินใจแก่ผู้ใช้สารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยระบบ สารสนเทศทางการบัญชีจะให้ความสาคัญกับสารสนเทศที่สามารถวัดได้ หรือ การ ประมวลผล เชิงปริมาณมากกว่าการแก้ปัญหาเชิงคุณภาพ โดยระบบสารสนเทศด้านการ บัญชีจะมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. 1. ระบบบัญชีการเงิน (financial accounting system) บัญชีการเงินเป็นการ บันทึกรายการคาที่เกิดขึ้นในรูปตัวเงิน จัดหมวดหมู่รายการต่าง ๆ สรุปผลและตีความหมายในงบ การเงิน ได้แก่ งบกาไรขาดทุน งบดุล และงบกระแสเงินสด โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ นาเสนอ สารสนเทศแก่ผู้ใช้และผู้ที่สนใจข้อมูลทางการเงินขององค์การ เช่น นักลงทุนและเจ้าหนี้ นอกจากนี้ยังจัดเตรียมสารสนเทศในการตัดสินใจของผู้บริหาร ซึ่งนักบัญชีสามารถนาเทคโนโลยี สารสนเทศใช้ในการประมวลข้อมูล โดยจดบันทึกลงในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปหรือจานแม่เหล็ก เพื่อ รอเวลาสาหรับทาการประมวลและแสดงผลข้อมูลตามต้องการ 2. ระบบบัญชีบริหาร (managerial accounting system) บัญชีบริหารเป็นการ นาเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ผู้บริหาร เพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ ระบบบัญชีจะประกอบด้วย บัญชีต้นทุน การงบประมาณ และการศึกษาระบบ โดยมีลักษณะสาคัญคือ * ให้ความสาคัญกับการจัดการสารสนเทศทางการบัญชีแก่ผู้ใช้ภายในองค์การ * ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานในอนาคตของธุรกิจ * ไม่ต้องจัดทาสารสนเทศตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป * มีข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน * มีความยืดหยุ่นและสามารถปรับให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18. ระบบการเงิน (financial system) เปรียบเสมือนระบบหมุนเวียนโลหิตของ ร่างกายที่สูบฉีดโลหิตไปยังอวัยวะต่าง ๆ เพื่อให้การทางานของอวัยวะแต่ละส่วนเป็นปกติ ถ้าระบบหมุนเวียนโลหิตไม่ดี การทางานของอวัยวะก็บกพร่อง ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรง ต่อระบบร่างกาย ระบบการเงินจะเกี่ยวกับสภาพคล่อง (liquidity) ในการดาเนินงาน เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินสดหมุนเวียน ถ้าธุรกิจขาดเงินทุน อาจก่อให้เกิดปัญหาขึ้นทั้ง โดยตรงและทางอ้อม โดยที่การจัดการทางการเงินจะมีหน้าที่สาคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. 1. การพยากรณ์ (forecast) การศึกษา วิเคราะห์ การคาดกราณ์ การกาหนดทางเลือก และการวางแผนทางด้านการเงินของธุรกิจ เพื่อใช้ทรัพยากรทางการเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยนักการเงินสามารถใช้หลักการทางสถิติและแบบจาลองทาง คณิตศาสตร์มาประยุกต์ การ พยากรณ์ทางการเงิน จะอาศัยข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ ตลอดจนประสบกราณ์ ของผู้บริหารในการตัดสินใจ 2. การจัดการด้านการเงิน (financial management) เกี่ยวข้องกับเรื่องการบริหารเงิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น รายรับและรายจ่าย การหาแหล่งเงินทุนจากภายนอก เพื่อที่จะเพิ่มทุน ขององค์การ โดยวิธีการทางการเงิน เช่น การกู้ยืม การออกหุ้นหรือตราสารทางการเงินอื่น เป็น ต้น 3. การควบคุมทางการเงิน (financial control) เพื่อติดตามผล ตรวจสอบ และ ประเมินตวามเหมาะสมในการดาเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่กาหนดหรือไม่ ตลอดจนวางแนว ทางแก้ไขหรือปรับปรุงให้การดาเนินงานทางการเงินของธุรกิจมีประสิทธิภาพ โดยที่การตรวจสอบ และการควบคุมการทางการเงินของธุรกิจสามารถจาแนกออกเป็น 2 ประเภทดังต่อไปนี้ * การควบคุมภายใน (internal control) * การควบคุมภายนอก (external control) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20. การตลาด (marketing) เป็นหน้าที่สาคัญทางธุรกิจ เนื่องจากหน่วยงานด้าน การตลาดจะรับผิดชอบในการกระจายสินค้าและบริการไปสู่ลูกค้า ตั้งแต่การศึกษา และ วิเคราะห์ความต้องการ การวางแผนและการสร้างความต้องการ ตลอดจนส่งเสริมการขาย จนกระทั้งสินค้าถึงมือลูกค้า ปกติการตัดสินใจทางการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการจัดส่วน ประสมทางการตลาด (marketing mix) หรือ ส่วนประกอบที่ทาให้การดาเนินงานทาง การตลาดประสบความสาเร็จ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (product) ราคา (price) สถานที่ (place) และการโฆษณา (promotion) หรือที่เรียกว่า 4Ps โดยสารสนเทศที่นักการตลาดต้องการในการวิเคราะห์ วางแผน ตรวจสอบ และ ควบคุมให้แผนการตลาดเป็นไปตามที่ต้องการมาจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
  • 21. 1. การปฏิบัติงาน (operations) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงยอดขายและการ ดาเนินงานด้านการตลาด ตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา โดยข้อมูลการปฏิบัติงานจะเป็น ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่ช่วยในการตรวจสอบ ควบคุม และวางแนวทาง ปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต 2. การวิจัยตลาด (marketing research) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและ วิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด โดยเฉพาะพฤติกรรมและความสัมพันธ์ของผู้บริโภคที่มีต่อ ผลิตภัณฑ์หรือบริการของธุรกิจ โดยนักการตลาดจะทาการวิจัยบนสมมติฐานและการเก็บ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ปกติข้อมูลในการวิจัยตลาดจะได้มาจากการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม การวิจัยตลาดช่วยผู้บริหารในการ วางแผนและการตัดสินใจทางการตลาด แต่อาจมีข้อจากัดของความถูกต้องและความ น่าเชื่อถือในการอธิบายพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. 3. คู่แข่ง (competitor) คากล่าวที่ว่า “รู้เขารู้เรา รอบร้อยครั้งชนะทั้งร้อยครั้ง” แสดงความสาคัญที่ธุรกิจต้องมีความเข้าใจในคู่แข่งขันทั้งด้านจานวนและศักยภาพ โดย ข้อมูลจากการดาเนินงาน ของคู่แข่งขันช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผนการตลาดอย่าง เหมาะสม ปกติข้อมูลจากคู่แข่งขันจะมีลักษณะไม่มีโครงสร้าง ไม่เป็นทางการ และมีแหล่ง ที่มีไม่ชัดเจน เช่น การทดลองใช้สินค้าหรือบริการ การสัมภาษณ์ลูกค้าและตัวแทนจาหน่าย การติดตามข้อมูลในตลาด และข้อมูลจากสื่อสารมวลชน เป็นต้น 4. กลยุทธ์ขององค์การ (corporate strategy) เป็นข้อมูลสาคัญทางการตลาด เนื่องจากกลยุทธ์จะเป็นเครื่องกาหนดแนวทางปฏิบัติของธุรกิจ และเป็นฐานในการกาหนด กลยุทธ์ทางการตลาดขององค์การ 5. ข้อมูลภายนอก (external data) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งจะส่งผลต่อโอกาสหรืออุปสรรคของธุรกิจ โดยทาให้ ความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของลูกค้าขยายหรือหดตัว ตลอดจน สร้างคู่แข่งขันใหม่หรือ เปลี่ยนขั้นตอนและรูปแบบในการดาเนินงาน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. สารสนเทศด้านการตลาดอาจจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจซึ่ง เราสามารถ จาแนกระบบย่อยของระบบสารสนเทศด้านการตลาดได้ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศสาหรับการขาย สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อย 3 ระบบ ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศสาหรับสนับสนุนการขาย จะรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อ สนับสนุนการดาเนินงานของฝ่ายขาย เพื่อให้การขายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งข้อมูลที่ระบบ ต้องการจะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะทาการขาย รูปแบบ ราคา และการโฆษณาต่าง ๆ เพื่อดึงดูด ความสนใจของลูกค้า นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับช่องทางและ วิธีการขายสินค้าผ่านตัวแทนจาหน่าย ในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้า ตลอดจนคู่แข่งของผลิตภัณฑ์ที่จะขายและ จาหน่ายสินค้าคงคลังของบริษัท 2. ระบบสารสนเทศสาหรับวิเคราะห์การขาย จะรวบรวมสารสนเทศใน เรื่องของกาไรหรือขาดทุนของผลิตภัณฑ์ ความสามารถของพนักงานขายสินค้า ยอดขายของแต่ละ เขตการขาย รวมทั้งแนวโน้มการเติบโตของสินค้า ซึ่งสามารถหาข้อมูลได้จากรายงานต่าง ๆ เช่น รายงานการขาย รายงานของต้นทุนสินค้าและวัตถุดิบ เป็นต้น 3. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิเคราะห์ลูกค้า จะช่วยในการวิเคราะห์ ลูกค้าเพื่อให้ทราบถึงรูปแบบของการซื้อและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ เพื่อที่ธุรกิจจะสามารถ ให้บริการลูกค้าได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. 2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อยตาม หน้าที่ได้ 2 ระบบ ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยลูกค้า การวิจัยลูกค้าจะต่างกับ การวิเคราะห์ลูกค้าตรงที่ว่าการวิจัยลูกค้าจะมีขอบเขต ของการใช้สารสนเทศกว้างกว่าการ วิเคราะห์ลูกค้า โดยการวิจัยลูกค้าจะต้องการทราบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับลูกค้าในด้าน สถานะทางการเงิน การดาเนินธุรกิจ ความพอใจ รสนิยมและพฤติกรรมการบริโภค 2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้ ความสาคัญกับการหาขนาดของตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนาออกจาหน่าย ซึ่งอาจ ครอบคลุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หลังจากนั้นก็จะกาหนดส่วนแบ่งตลาดของ ผลิตภัณฑ์เพื่อทาการวางแผน กาหนดเป้าหมาย กาหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์ สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของการวิจัยตลาดคือสภาวะและแนวโน้มทาง เศรษฐกิจ ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันในตลาด รวมทั้งสภาวะการ แข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
  • 25. 2. ระบบสารสนเทศสาหรับการวิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้ความสาคัญกับ การหาขนาดของตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนาออกจาหน่าย ซึ่งอาจครอบคลุมทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว หลังจากนั้นก็จะกาหนดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์เพื่อทาการ วางแผน กาหนดเป้าหมาย กาหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์ สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการ ของการวิจัยตลาดคือสภาวะและแนวโน้มทาง เศรษฐกิจ ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรม หรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันในตลาด รวมทั้งสภาวะการแข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย 3. ระบบสารสนเทศสาหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสาคัญ กับแผนงานทางด้านการโฆษณาและส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการ ขาย เพิ่มยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการ คือยอดขายของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใดต้องการแผนการส่งเสริมการ ขาย และสารสนเทศที่เกี่ยวกับผลกาไรหรือขาดทุนของสินค้าแต่ละชนิด เพื่อให้ความสาคัญ กับสินค้าตัวที่ทากาไร ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
  • 26. 4. ระบบสารสนเทศสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นระบบ สารสนเทศที่วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ลักษณะและความต้องการ ของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ต้องการของลูกค้าแต่ยังไม่มีตลาด โดย สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของระบบได้แก่ ยอดขายของผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันในอดีต เพื่อให้ทราบถึงขนาดและลักษณะของตลาด และการประมาณการต้นทุน เพื่อตอบคาถาม ให้ได้ว่าสมควรที่จะออกผลิตภัณฑ์ใหม่หรือไม่ 5. ระบบสารสนเทศสาหรับพยากรณ์การขาย เป็นระบบที่ใช้ในการวาง แผนการขาย แผนการทากาไรจากสินค้าหรือบริการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของบริษัท ซึ่ง จะส่งผลไปถึงการวางแผนการผลิต การวางกาลังคน และงบประมาณที่จะใช้เกี่ยวกับการ ขาย โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือ ยอดขายในอดีต สถานะของคู่แข่งขัน สภาวการณ์ ของตลาด และแผนการโฆษณา ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. 6. ระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนกาไร เป็นระบบสารสนเทศที่ให้ ความสาคัญกับการวางแผนทากาไรทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของธุรกิจ โดยสารสนเทศ ที่เป็นที่ต้องการคือสารสนเทศจากการวิจัยตลาด ยอดขายในอดีต สารสนเทศของคู่แข่งขัน การพยากรณ์การขาย และการโฆษณา 7. ระบบสารสนเทศสาหรับการกาหนดราคา การกาหนดราคาของสินค้านับว่า เป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งทางการตลาด เพราะต้องคานึงถึงความต้องการของลูกค้า คู่แข่งขัน กาลังซื้อของลูกค้า โดยปกติแล้วราคาสินค้าจะตั้งจากราคาต้นทุนรวมกับร้อยละของกาไรที่ ต้องการ โดยสารสนเทศที่ต้องการได้แก่ ตัวเลขกาไรของผลิตภัณฑ์ในอดีต เพื่อทาการ ปรับปรุงราคาให้ได้สัดส่วนของกาไรคงเดิม ในกรณีที่ต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลง 8. ระบบสารสนเทศสาหรับการควบคุมค่าใช้จ่าย บุคคลที่เป็นผู้ควบคุม ค่าใช้จ่ายสามารถควบคุมได้โดยดูจากรายงานของผลการทากาไร กับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง หรือสาเหตุของการคลาดเคลื่อนของค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการขายรวมถึงค่าใช้จ่าย ต่าง ๆ เช่น เงินเดือน ค่าโฆษณา ค่าส่วนแบ่งการขาย เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. การผลิต (production) เป็นกระบวนการแปรรูปทรัพยากรการผลิต เช่น วัตถุดิบ แรงงาน และ พลังงาน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่พร้อมในการจัดจาหน่ายแก่ลูกค้า โดยผู้ผลิตต้อง พยากรณ์ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า โดยไม่ให้มีจานวน มากหรือน้อยจนเกินไป ตลอดจนควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของลูกค้า โดยมีต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม ปัจจุบันการขยายตัวของธุรกิจจากการผลิตเข้าสู่สังคม บริการ ทาให้มีการประยุกต์หลักการของการจัดการผลิตกับงานด้านบริการ ซึ่งเราจะเรียก การผลิตในหน่วยบริการว่า “การดาเนินงาน (operations)” โดยที่แหล่งข้อมูลในการผลิต และการดาเนินงานขององค์การมีดังต่อไปนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 29. 1. ข้อมูลการผลิต/การดาเนินงาน (production/operations data) เป็นข้อมูล จากกระบวนการผลิตหรือการให้บริการ ซึ่งจะแสดงภาพปัจจุบันของระบบการผลิตของ ธุรกิจว่ามีประสทธิภาพมากน้อยเพียงใด และมีปัญหาอย่างไรในการดาเนินงาน ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ต่อการวางแผนในการแก้ปัญหาและการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานใน อนาคต 2. ข้อมูลสินค้าคงคลัง (inventory data) บันทึกปริมาณวัตถุดิบและสินค้า สาเร็จรูปที่เก็บไว้ในโกดัง โดยผู้จัดการต้องพยายามจัดให้มีสินค้าคงคลังในปริมาณไม่เกิน ความจาเป็นหรือขาดแคลนเมื่อเกิดความต้องการขึ้น 3. ข้อมูลจากผู้ขายวัตถุดิบ (supplier data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ คุณสมบัติ และราคาวัตถุดิบ ตลอดจนช่วงทางและต้นทุนในการลาเลียงวัตถุดิบ ปัจจุบัน การพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data interchange) หรือที่ เรียกว่า EDI ช่วยให้การประสานงานระหว่างผู้ขายวัตถุดิบ ธุรกิจ และลูกค้ามีประสิทธิภาพ มากขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
  • 30. 4. ข้อมูลแรงงานและบุคลากร (labor force and personnel data) ข้อมูล เกี่ยวกับพนักงานในสายการผลิตและปฏิบัติการ เช่น อายุ การศึกษา และประสบการณ์ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับงาน ขณะที่ข้อมูลภายนอก เกี่ยวกับตลาดแรงงานจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและจัดหาแรงงานทดแทน และการ กาหนดอัตราค่าจ้างอย่างเหมาะสม 5. กลยุทธ์องค์การ (corporate strategy) แผนกลยุทธ์ขององค์การจะเป็น แม่บทและแนวทางในการกาหนดกลยุทธ์การผลิตแลการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินงานขององค์การ นอกจากจะ ส่งผลต่อการพัฒนาผลิตผล (productivity) ของธุรกิจ โดยเฉพาะการปฏิบัติ ตั้งแต่การ ตัดสินใจเกี่ยวกับการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ การปรับปรุง กระบวนการผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การวางแผนคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต และการ ควบคุมต้นทุนขององค์การให้มีประสิทธิภาพขึ้น ทาให้ระบบอุตสาหกรรมและระบบ เศรษฐกิจโดยรวมเติบโตแล้ว ยังส่งผลต่อความคล่องตัวในการปฏิบัติงานและการ จัดรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมโดยทางตรงและทางอ้อม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
  • 31. การวางแผนความต้องการวัสดุ การบริหารทรัพยากรการผลิต โดยเฉพาะวัตถุดิบ (raw materials) เป็นหัวใจสาคัญของการจัดการด้านการดาเนินงานการผลิต ถ้าธุรกิจมี ปริมาณวัตถุดิบมากเกินไปจะทาให้ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสูง แต่ถ้ามีปริมาณวัตถุดิบ น้อยเกินไปก็จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อแผนและกระบวนการผลิต ตลอดจนก่อให้เกิดค่า เสียโอกาสทางธุรกิจ การวางแผนความต้องการวัสดุ (material requirement planning) หรือที่เรียกว่า MRP เป็นระบบสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระบบการผลิต เพื่อ ประกอบการวางแผนความต้องการวัสดุเพื่อให้ธุรกิจสามารถจัดการวัตถุดิบอย่างมี ประสิทธิภาพ โดย MRP ให้ความสาคัญกับสิ่งต่อไปนี้ 1. ไม่เก็บวัตถุดิบเพื่อรอการใช้งานไว้นานเกินไป ซึ่งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเก็บ รักษาและความเสี่ยงในการสูญหายหรือสูญเสีย 2. รายงานผลการผลิตและความเสียหายที่เกิดขึ้นตามระยะเวลาที่กาหนด 3. ควบคุมสินค้าคงคลังอย่างเป็นระบบ 4. มีการตรวจสอบ แก้ไข และติดตามผลข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
  • 32. โดยที่ MRP มีบทบาทต่อระบบการผลิตขององค์การตั้งแต่การจัดหาวัสดุ เพื่อทา การผลิตโดยการกาหนดปริมาณและระยะเวลาในการสั่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย ตลอดจน จัดเตรียมรายละเอียดของการผลิตในอนาคตซึ่งเราสามารถสรุปว่า MRP มีข้อดีดังต่อไปนี้ 1. ลดการขาดแคลนวัตถุดิบที่จาเป็นในการผลิต 2. ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง 3. ช่วยให้บุคลากรมีเวลาในการปฏิบัติงานอื่นมากขึ้น 4. ประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายในการติดตามวัตถุดิบ 5. ช่วยให้องค์การสามารถปรับตัวอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นอกจากระบบ MRP แล้ว ได้มีผู้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการดาเนินงาน เช่น การจัดการคุณภาพโดยรวม (total quality management) หรือที่เรียกว่า TQM และการผลิตแบบทันเวลาพอดี (just-in-time production) หรือที่เรียกว่า JIT เพื่อให้ได้ การผลิตที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ซึ่งต่างต้องอาศัยระบบสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพ เกี่ยวข้องกับผู้ขายวัตถุดิบ (supplier) และลูกค้าภายนอกองค์การ ตลอดจน บุคลากรต้องมีความรู้และความสามารถใน การใช้งานระบบสารสนเทศด้านการผลิตของ องค์การอย่างเต็มที่ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
  • 33. ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล (human resource information system) หรือ HRIS หรือระบบสานสนเทศสาหรับบริหารงานบุคคล (personnel information system) หรือ PIS เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาให้สนับสนุนการดาเนินงานด้านทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่ การวางแผน การจ้างงาน การพัฒนาและการฝึกอบรม ค่าจ้างเงินเดือน การดาเนินการทางวินัย ช่วยให้การบริหารทรัพยากรบุคคลเกิดประสิทธิภาพ โดยที่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคลจะ มีดังนี้ 1. ข้อมูลบุคลากร เป็นข้อมูลของสมาชิกแต่ละคนขององค์การ ซึ่งประกอบด้วย ประวัติเงินเดือนและ สวัสดิการ เป็นต้น 2. ผังองค์การ แสดงโครงสร้างองค์การ การจัดหน่วยงานและแผนกาลังคน ซึ่งแสดง ทั้งปริมาณและการจัดสรรทรัพยากรบุคคล 3. ข้อมูลจากภายนอก ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลมิใช่ระบบปิดที่ควบคุมและ ดูแลสมาชิกภายในองค์การเท่านั้น แต่จะเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง ซึ่งต้องการข้อมูลจากภายนอกองค์การ เช่น การสารวจเงินเดือน อัตราการว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
  • 34. การจัดการทรัพยากรบุคคลเป็นงานสาคัญที่มิใช่เพียงแต่การปฏิบัติงาน ประจา วันที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแลบุคลากรและค่าจ้างแรงงานเท่านั้น แต่ต้องเป็นการ ดาเนินงานเชิงรุก (proactive) การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินงานช่วย ให้งานทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพขึ้น โดยที่การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากร บุคคลต้องพิจารณาปัจจัยสาคัญ 5 ประการดังต่อไปนี้ 1. ความสามารถ (capability) หมายถึงความพร้อมขององค์การและบุคคล ในการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยต้องพิจารณาความสามารถของบุคลากร 3 กลุ่ม คือ 1. ผู้บริหารระดับสูงต้องพร้อมที่จะสนับสนุนด้านนโยบาย กาลังคน กาลังเงิน และวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาระบบสานสนเทศขององค์การ 2. ฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตื่นตัวในการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ เพื่อให้การทางานในหน่วยงานมีความคล่องตัวขึ้น 3. ฝ่ายสารสนเทศที่ต้องทาความเข้าใจและออกแบบระบบงานให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ในแต่ละกลุ่ม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
  • 35. 2. การควบคุม (control) การพัฒนา HRIS จะให้ความสาคัญกับความปลอดภัย ของสารสนเทศโดยเฉพาะการเข้า ถึงและความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากข้อมูลด้าน ทรัพยากรบุคคลจะเกี่ยวข้องกับความเป็นส่วนตัวของสมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะมีผลต่อ ชื่อเสียงและผลได้-ผลเสียของบุคคล จึงต้องมีการจัดระบบการเข้าถึงและจัดการข้อมูลที่ รัดกุม โดยอนุญาตให้ผู้มีหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละหน่วยงานสามารถ เข้าถึงและ ปรับปรุงสารสนเทศในส่วนงานของตนเท่านั้น 3. ต้นทุน (cost) ปกติการดาเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลจะมีต้นทุนที่สูง ขณะเดียวกันก็จะไม่เห็นผลตอบแทนที่ชัดเจน ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงขององค์การ ทั้งในด้านการขยายตัวและหดตัวซึ่งจะมีผลกระทบต่อบุคลากร ดังนั้นฝ่ายบริหารและ ทรัพยากรบุคคลสมควรมีข้อมูลที่เหมาะสมในการตัดสินใจ เป็นต้น ขณะเดียวกัน การ ลงทุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งฝ่ายบริหารสมควรต้องพิจารณา ผลตอบแทนที่ได้รับจากการพัฒนาระบบว่าคุ้มค่ากับต้นทุนที่ใช้ไปหรือไม่ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
  • 36. 4. การติดต่อสื่อสาร (communication) หมายถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศ ต้องศึกษาการไหลเวียนของสารสนเทศ (information flow) ภายในองค์การและ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจนเตรียมการในการ สื่อสารข้อมูล เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ เกิดความเข้าใจและทัศนคติที่ดีกับการนาระบบ สารสนเทศมาประยุกต์ใช้ 5. ความได้เปรียบในการแข่งขัน (competitive advantage) ปัจจุบันการ พัฒนา HRIS ไม่เพียงแต่ช่วยให้การดาเนินงานขององค์การมีประสิทธิภาพขึ้น แต่ยังมีส่วน สาคัญในการสร้างศักยภาพและความได้เปรียบในการแข่งขันให้แก่ธุรกิจ ปัจจุบันเราต่างยอมรับว่า คนเป็นหัวใจสาคัญของธุรกิจ แต่ทรัพยากรบุคคล เป็นทรัพยากรมีค่าใช้จ่ายสูงที่ธุรกิจ ต้องรับภาระทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น เงินเดือน สวัสดิการ และข้อมูลผูกพันในสัญญาจ้างงาน HRIS เป็นระบบสารสนเทศที่นาเสนอข้อมูล การตัดสินใจซึ่งเกิดประโยชน์แก่องค์การและสมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหาร สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับงานด้านทรัพยากรบุคคลอย่างถูกต้องขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
  • 37. ระบบสารสนเทศสามารถจาแนกตามลักษณะการดาเนินงานได้ดังนี้ 1. ระบบสารสนเทศประมวลผลรายการธุรกรรม (TPS : Transaction Processing System) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึก และประมวลผลข้อมูลที่ เกิดจากการทาธุรกรรม หรือการปฏิบัติงานประจา เช่น การบันทึกรายการขายประจา รายการสั่งซื้อสินค้า หรือวัตถุดิบ การฝากถอนเงินจากธนาคาร เป็นต้น 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information System) เป็นการนาข้อมูลจากระบบสารสนเทศประมวลผลรายการธุรกรรม มา ประมวลผล เพื่อนาไปใช้ในการควบคุมการทางาน หรือตัดสินใจในระดับการปฏิบัติการ เช่น ราบงานตามระยะเวลาที่กาหนด รายงานสรุป รายงานเมื่อมีเงื่อนไขเฉพาะเกิดขึ้น รายงานความต้องการ เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37
  • 38. 3. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS : Decision Support System) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ เพื่อนามาประมวลผล ให้ได้สารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เช่น การตัดสินใจสร้าง โรงงานผลิตแห่งใหม่ หรือการตัดสินใจเรื่องการคิดโปรโมชั่นสินค้า เป็นต้น 4. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS : Group Decision Support System) เป็นระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยน กระตุ้น ระดมความคิด และแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในกลุ่ม มักใช้ในการประชุมทางไกล การ ลงคะแนนเสียง เป็นต้น 5. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System) เป็นระบบสารสนเทศที่ทาการจักเก็บข้อมูลทางภูมิศาสตร์ แล้วนามาจัดแสดงในรูปของ แผนที่ดิจิทัล ซึ่งระบุที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่น นามาใช้พิจารณาการกระจายตัวของ ประชาชน หรือทรัพยากรทางธรรมชาติทางภูมิศาสตร์ การตรวจสอบเส้นทางการค้นส่ง สินค้า เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 38
  • 39. 6. ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง (EIS : Executive Information System) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ ปัญหา ศึกษาแนวโน้มในเรื่องที่สนใจ ส่วนใหญ่จะนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบรายงาน ตาราง กราฟ เพื่อสรุปสารสนเทศให้ผู้บริหารเข้าใจได้ง่าย 7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คือการพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเหมือนมนุษย์ โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้ และ ความสามารถทางประสาทสัมผัส ซึ่งเรียนแบบการเรียนรู้ และการตัดสินใจของมนุษย์ 8. ระบบสารสนเทศสานักงาน (OIS : Office Information System) เป็นระบบ สารสนเทศที่นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของ ผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร เช่น การจัดทาเอกสาร รายงาน จดหมาย ธุรกิจ เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 39
  • 40. หน่วยงานและบริษัทที่ใช้เทคโนโลยีในการดาเนินงานทั้งในส่วนที่เป็นงานหลัก และส่วนที่เป็นงานสนับสนุนนั้น จาเป็นจะต้องมีผู้รับผิดชอบต่อการพัฒนาและการใช้ เทคโนโลยี ผู้รับผิดชอบนี้จะเป็น Chief Technology Officer หรือ CTO ส่วนหน่วยงานที่ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นหลัก ผู้รับผิดชอบ น่าจะเป็น Chief Information Officer หรือ CIO ไม่ว่าผู้รับผิดชอบจะเป็น CTO หรือ CIO หน้าที่หลักควร จะมีดังนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 40
  • 41. 1. การวางแผน การทางานใด ๆ ก็ตามจะประสบความสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อมีแผนที่ เหมาะสมและ คานึงถึงเรื่องต่าง ๆ ที่จาเป็นครบถ้วน แผนที่จะต้องพัฒนาขึ้น มีหลายแผน เช่นแผนยุทธศาสตร์ อันเป็นแผนหลักที่พิจารณาในด้านกลยุทธที่จะช่วยให้หน่วยงาน ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล แผนระยะสั้นหรือแผนปฏิบัติงาน ประจาปี (หรืออีกนัยหนึ่งก็คือแผนงานตาม งบประมาณ) แผนการจัดการความเสี่ยง เพื่อ พิจารณาว่าการดาเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีนั้นมีอะไรบ้าง และควร จะดาเนินการอย่างไรในการแก้ปัญหาที่เกิดจากความเสี่ยง นั้น แผนการชัดซื้อ อันเป็น แผนงานที่เกี่ยวข้องกับการเลือกนวัตกรรมมาใช้ในหน่วยงาน 2. การจัดสรรทรัพยากร ทาหน้าที่พิจารณาอนุมัติโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีต่าง ๆ ของ หน่วยงาน โดยดูว่าโครงการนั้น ๆ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ หรือไม่ มีความเหมาะสมและ เป็นไปได้หรือไม่ จะให้ประโยชน์ตอบแทนได้จริงหรือไม่ จากนั้นก็จัดสรรทรัพยากรให้แก่ โครงการต่าง ๆ อย่างพอเพียงที่จะดาเนินการนั้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 41
  • 42. 3. การพัฒนาบุคลากร การที่หน่วยงานจะสามารถพัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีบุคลากรที่มีความรู้และ ทักษะเป็นจานวนมากพอ ผู้บริหารเทคโนโลยีจะต้องสารวจว่านวัตกรรมที่จะใช้นั้น จาเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้และ ทักษะทางด้านใดบ้าง หากหน่วยงานไม่มีบุคลากร เช่นนี้มากพอ ก็จะต้องวางแผนพัฒนาบุคลากร ให้พอเพียงโดยอาจว่าจ้างมาเพิ่ม หรือ อาจจะว่าจ้างเป็นที่ปรึกษาแล้วแต่กรณี แต่ถ้าหากมีบุคลากรบ้างแล้ว แต่บุคลากรไม่ได้มี ประสบการณ์หรือมีความรู้ทางด้านที่ต้องการ ก็จะต้องจัดฝึกอบรมให้บุคลากรมีความรู้ พอเพียง 4. การอานวยการ หมายถึงการดูแลให้การปฏิบัติงานกับเทคโนโลยีเป็นไปอย่าง เรียบร้อยและมี ประสิทธิผล ผู้บริหารเทคโนโลยีอาจจะไม่ใช่ผู้ที่ลงไปปฏิบัติงานกับ นวัตกรรม หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ โดยตรง แต่เป็นผู้ที่ทาหน้าที่กากับการปฏิบัติงานผ่าน ผู้บริหารอื่น ๆ อย่างไรก็ตามผู้บริหาร เทคโนโลยีจะต้องร่วมพิจารณาแนวทางการ ปฏิบัติงานกับผู้บริหารอื่น ๆ ให้แน่ใจว่างานต่าง ๆ จะ เป็นไปตามแผนงาน และมีการ ควบคุมให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างเหมาะสม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 42
  • 43. 5. การจัดเก็บข้อมูล คือการสั่งการให้มีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน และผลที่เกิดขึ้น แล้ว นาข้อมูลมาพิจารณาว่าการดาเนินงานนั้นให้ผลตามที่คาดการณ์ไว้ หรือไม่ หากพบว่าการปฏิบัติงานมีปัญหา ก็ให้นารายละเอียดมาพิจารณาหาทางแก้ไข แล้ว นาไปปรับปรุงกระบวนการ ทางานเดิมให้ดีขึ้น 6. การจัดการความรู้ คือการสนับสนุนให้บริษัทสะสมจัดเก็บความรู้และ ประสบการณ์ที่ได้จากการ ดาเนินงานต่าง ๆ ทั้งที่เป็นงานประจาและงานโครงการ เพื่อให้ เกิดองค์ความรู้สาหรับนาไปใช้ในอนาคต 7. การจัดทารายงาน ผู้บริหารเทคโนโลยียังไม่ใช่ผู้บริหารสูงสุดของบริษัท ดังนั้น จึงต้องจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อนาเสนอต่อผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องเป็นระยะ ๆ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 43
  • 44. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (2561) กล่าวว่า วิถีชีวิตของเทคโนโลยีเริ่มมีบทบาทต่อ ผู้คนมากขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยความก้าวหน้า รวดเร็ว และเที่ยงตรง ทาให้เทคโนโลยีที่มี หลากหลาย เริ่มเป็นที่น่าจับตามมองที่จะพลิกโฉมอุตสาหกรรมและธุรกิจในอนาคต ผลการ สารวจผลจาก Tech Breakthroughs Megatrend ซึ่งทาการสารวจรูปแบบเทคโนโลยีกว่า 150 แบบทั่วโลกจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วและกาลังพัฒนา เพื่อค้นหาเทคโนโลยีที่จะ เข้ามามีบทบาทในการพลิกโลกเข้าสู่อุตสาหกรรมเทคโนโลยีในอนาคตอีก 3-7 ปีข้างหน้า ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 44
  • 45. Ai เรียกง่ายๆ ก็คือคอมพิวเตอร์ที่สามารถคิดและวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ด้วยเหตุและผล จน สามารถตอบโต้การสนทนาได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนั้นยังสามารถเรียนรู้และจดจาสิ่งที่ผ่านมาเป็น บทเรียนได้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งการพัฒนาเทคโนโลยีนี้ถูกแบ่งออกเป็นหลายรูปแบบเพราะการนาไปใช้ งานของแต่ละองค์การนั้นแตกต่างกัน ซึ่งแน่นอนว่าการบริการที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้นเป็นเพียง บางส่วนของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เท่านั้น แต่ในอนาคต ความก้าวหน้าและผลสาเร็จของ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์จะช่วยให้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของโลกอินเทอร์เน็ตถูกนามาใช้ ประโยชน์มากกว่าในปัจจุบัน นอกจากนั้นยังสามารถช่วยเหลือมนุษย์ได้ทุกเรื่องจากการ ประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งมนุษย์ไม่มีวันทาได้ แต่ถึงกระนั้นความกังวลใจเกี่ยวกับการคิด วิเคราะห์เองได้อย่างอิสระของปัญญาประดิษฐ์ก็ถูกมองว่าอาจจะเป็นภัยต่อมนุษย์ เพราะกรอบ จริยธรรม ความคิด หรือแม้กระทั่งการตอบสนองจะต้องถูกควบคุมอย่างดี เพื่อให้ปลอดภัยกับ มนุษย์มากที่สุด ก่อนที่จะเริ่มการปฏิวัติวงการด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์นั่นเอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 45
  • 46. AR เทคโนโลยีโลกกึ่งเสมือนจริง ด้วยรูปแบบการผสมผสานเทคโนโลยีการ มองเห็นกับโลกของความเป็นจริงมาเป็นหนึ่งเดียว ด้วยการซ้อนเทคโนโลยีเข้ากับการมอง ของมนุษย์ปกติ ทาให้เกิดมุมมองใหม่ของการเรียกใช้เทคโนโลยีและจัดการระบบได้อย่าง เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยปัจจุบันแม้ว่าจะยังเป็นแค่การทางานอย่างง่าย ๆ เช่น การออก กาลังกายในลู่วิ่ง เมื่อสวมแว่น VR เข้าไปจะทาให้การวิ่งนั้นมองเห็นวิวทิวทัศน์ในสถานที่ที่ เราต้องการได้อย่างเป็นธรรมชาติ หรือจะเป็นการสวมใส่ VR ในการจัดของเพื่อตรวจนับส ต๊อกสินค้าไปในตัว เป็นต้น ซึ่งอีกไม่นานเราจะเห็นการนา AR ไปใช้ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง ด้านความบันเทิงและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างแพร่หลายในอนาคต ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 46
  • 47. บล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีการร้อยต่อข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันทั้งหมด โดยข้อมูลทุก บล็อกจะเป็นเหมือนสาเนาของตัวเอง เมื่อเกิดการแก้ไขจะทาให้ทุกบล็อกรับรู้การแก้ไขนั้น ๆ และมีประวัติเก็บไว้อย่างซับซ้อน โดยเนื้อแท้ของเทคโนโลยีจึงมีความปลอดภัยจาก โครงสร้างที่เกิดขึ้น ซึ่งความสามารถของบล็อกเชนเริ่มเป็นที่รู้จักเมื่อถูกนามาใช้งานในรูป ของ Bitcoin หรือเงินเสมือนจริงที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ด้วยรูปแบบการบันทึกทุก กล่องเป็นสาเนาข้อมูลเหมือนกันหมด ทาให้บล็อกเชนมีความปลอดภัยมากกว่าการบันทึก ด้วยมนุษย์หรือเครื่องมือบันทึกใด ๆ ที่มีอยู่เดิม และนั่นก็ทาให้บล็อกเชนได้รับความสนใจ กับกลุ่มธุรกิจการเงินเช่นธนาคารเป็นอย่างมาก โดยเชื่อว่าบล็อกเชนจะเป็นนวัตกรรมทาง การเงินที่มีความปลอดภัยและรวดเร็วมากกว่าเทคโนโลยีการเงินที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 47