SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาบทนี้แล้วสามารถ
7.1 เข้าใจการปฏิวัติเทคโนโลยีในอดีตและบทเรียนที่สาคัญ
7.2 อธิบายแรงขับจากสถานการณ์โลก
7.3 อธิบายเทคโนโลยีทางธุรกิจสาหรับความปกติถัดไป
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
การก้าวสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 จะมีเทคโนโลยีอัจฉริยะต่าง ๆ ที่เข้ามามีบทบาท
สาคัญในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ อาทิ เครื่องจักรกลที่คิดได้และสื่อสารเป็น 3D Printing ที่
สามารถเปลี่ยนจินตนาการให้เป็นวัตถุของจริงที่จับต้องได้ หุ่นยนต์จะเข้ามาทางานร่วมกับ
มนุษย์เสมือนเป็นเพื่อนร่วมงานคนหนึ่ง นอกจากนั้น ยังมีเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ
Information Technology: IT ที่จะเข้ามาเป็นตัวกลางที่ทาให้การสื่อสารระหว่างคนกับ
เครื่องจักร และระหว่างเครื่องจักรด้วยกันเองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เทคโนโลยี
ดังกล่าวนี้เอง ที่จะทาให้รูปแบบการผลิตเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง เพื่อประสิทธิภาพการ
ผลิตและเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภค
สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่ง คือ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้จะพลิกโฉมหน้าการผลิตไป
มากน้อยเพียงใด เทคโนโลยีอัตโนมัติรวมถึงหุ่นยนต์อัจฉริยะจะเข้ามามีบทบาทสาคัญ
อย่างไรกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
ย้อนอดีตไปราว 230 ปีก่อน โลกของเราเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นเป็นครั้งแรก และมีการ
เปลี่ยนแปลงครั้งที่สอง และสาม มาเรื่อย ๆ จนกระทั้งมาถึงครั้งที่สี่ในปัจจุบัน แต่ละยุคสมัยมีการ
เปลี่ยนแปลงที่สาคัญดังต่อไปนี้
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 (Industrial Revolution 1.0) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1784 คือ
ยุคของการใช้พลังงานจากน้า (Hydro Power) แทนการใช้แรงงานคน หรือสัตว์ หรือพลังงานธรรมชาติ
เป็นยุคที่เริ่มต้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งมีการใช้พลังงานไอน้าจากถ่านหินในกลุ่มอุตสาหกรรมทอผ้า
กังหันน้าที่สร้างพลังงานสาหรับใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ หรือการใช้ไอน้าในรถไฟหัวจักรไอน้า เป็นต้น
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (Industrial Revolution 2.0) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1870 เป็น
การเปลี่ยนจากการใช้เครื่องจักรไอน้า มาใช้พลังงานไฟฟ้าส่งผลให้สามารถปลดปล่อยพลังการผลิตอย่างที่
ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เปลี่ยนแปลงระบบการผลิตมาเป็นระบบโรงงาน ทาให้เกิดการผลิตสินค้าคราวละ
มาก ๆ และมีคุณภาพที่เทียบเท่างานหัตถกรรม ที่สาคัญคือ สินค้าราคาไม่แพง ทุกคนสามารถบริโภคได้
ทาให้เกิดกระแสบริโภคนิยมไปทั่วโลก
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 (Industrial Revolution 3.0) เกิดขึ้นในปีค.ศ. 1969 เป็นยุค
ของการใช้อิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีไอทีในการผลิต มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตและระบบบริหาร
จัดการด้านคุณภาพ มีการใช้เครื่องจักรอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์ในการผลิต แทนที่แรงงานคน เพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้นอีกระดับหนึ่ง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะเป็นการบูรณาการโลกของการผลิตเข้ากับการ
เชื่อมต่อทางเครือข่ายในรูปแบบ ‘Internet of Things (IoT)’ ทุกหน่วยของระบบการผลิต ตั้งแต่
วัตถุดิบ เครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์ ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์หน่วยต่าง ๆ เหล่านี้จะถูกติดตั้ง
ระบบเครือข่ายเพื่อให้สามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยน ข้อมูลซึ่งกันและกันอย่างอิสระ เพื่อการ
จัดการกระบวนการผลิตทั้งหมด
จุดเด่นของอุตสาหกรรม 4.0 คือการที่เครื่องจักรหรือระบบอัตโนมัติสามารถเชื่อมโยง
เป็นส่วนหนึ่งของสังคมเครือข่ายผ่ายอินเตอร์เน็ต จึงสามารถแบ่งปันข้อมูลข่าวสารถึงกันหมด
รวมทั้งสามารถใช้ทรัพยากรบางส่วนร่วมกันได้ เครื่องจักรกลสาหรับอุตสาหกรรม 4.0 จะมี
ความสามารถที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ทั้งในด้านการทางานด้วยตนเอง ความยืดหยุ่นและการปรับตัวให้
เข้ากับเงื่อนไขการผลิต มีความสามารถในการตรวจสอบและคาดการณ์ล่วงหน้าได้ นอกจากนี้
เครื่องจักรในอนาคตจะมีโปรแกรมสาหรับตรวจสอบและดูแลสุขภาพของเครื่องจักร เพื่อยืดอายุ
การทางานของเครื่องจักร อันจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการวางแผนการผลิตและประเมิน
ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร กล่าวคือ เครื่องจักรจะมีความเป็นอัจฉริยะมากขึ้นนั่นเอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
Klaus Schwab ผู้ก่อตั้งและประธานสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic
Forum) (2017) ชี้ว่าการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 เริ่มมาตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 2000
ซึ่งเป็นผลมาจากการต่อยอดและการผสานแนวคิดและเทคโนโลยีจากการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมครั้งที่ 3 ทั้งยังเป็นการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างไปจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ในครั้งที่ผ่านมา เนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและสร้าง
ผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นผล
มาจากการบูรณาการเทคโนโลยีทั้ง 3 ด้านเข้าด้วยกัน ได้แก่ เทคโนโลยีทางกายภาพ
เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีทางการแพทย์และชีวภาพ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
ในส่วนการพัฒนาเทคโนโลยีทางกายภาพภายใต้การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะเกิด
การพัฒนาคอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ส่งผลให้เกิดการผสานการทางานระหว่าง
เครื่องจักรกับหุ่นยนต์กลายเป็นเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ที่มีความสามารถใกล้เคียงกับการทางาน
ของมนุษย์ โดยเฉพาะความสามารถในการจัดการปัญหาและการแก้ไขสถานการณ์ ตลอดจนการ
ซ่อมบารุงรักษาโดยอัตโนมัติ หรือเรียกโดยรวมว่าแนวคิดของการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence)
ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะทาให้
อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของมนุษย์ หรือเป็นสิ่งสาคัญที่เชื่อมโยงมนุษย์เข้ากับ
ระบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดที่เรียกว่า Internet of thing (IOT) เห็นได้จากการพัฒนา
ระบบการทาธุรกรรมทางการเงินหรือการสร้างสกุลเงินดิจิทัล เช่น บล็อกเชน (Blockchain) บิต
คอยน์ (Bitcoin) เป็นต้น ตลอดจนเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจตามความต้องการ (on-demand
economy) หรือเศรษฐกิจแบบแบ่งปัน (sharing economy) ซึ่งหมายถึง โครงสร้างเศรษฐกิจ
รูปแบบใหม่อันเกิดจากความต้องการที่จะสร้างรายได้จากการแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการที่มี
มูลค่าเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรที่ผู้บริโภคมีอยู่ แต่มีในปริมาณมากเกินความต้องการก่อให้เกิด
ความต้องการที่จะสร้างรายได้จากทรัพยากรดังกล่าว จึงเป็นที่มาของกระแสธุรกิจประเภทสตาร์ท
อัพ (Startup) (ภาวนิศร์ ชัววัลลี, 2560)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
จากปรากฎการณ์ดังกล่าว ได้นามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตและการ
ปรับตัวครั้งสาคัญของบริษัทหรือผู้ประกอบการในภาคธุรกิจ เนื่องจากผู้บริโภคในยุค
อุตสาหกรรมใหม่จะมีบทบาทที่ชัดเจนและสาคัญต่อตลาด โดยผู้บริโภคจะเป็นศูนย์กลาง
ของการผลิตและทาให้ผู้ประกอบการจะต้องใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าเพื่อตอบสนอง
ผู้บริโภคแบบเฉพาะกลุ่มหรือรายบุคคล (Customization) ทั้งจะต้องลดขั้นตอนและ
ระยะเวลาการผลิตให้สั้นลง ในขณะเดียวกันก็จะต้องเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอต่อความ
ต้องการของผู้บริโภคด้วยเช่นกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
ด้านแรก เศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน หรือ Sharing Economy จะมีความสาคัญมากขึ้น
ในโลกยุคใหม่ที่เกิดจากพลังของเทคโนโลยี จะเกิดแพลตฟอร์มที่ธุรกิจสามารถสร้าง
ประโยชน์ร่วมกันได้ ที่สาคัญ แพลตฟอร์มเหล่านี้จะทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่าง
“ผู้ใช้บริการ” กับ “ผู้ให้บริการ” ได้โดยตรงด้วยต้นทุนที่ต่ามาก ไม่ต้องอาศัยธุรกิจตัวกลาง
เหมือนในอดีต ทาให้ธุรกิจตัวกลางต่าง ๆ จะมีบทบาทลดลงมาก แนวคิด Sharing
Economy ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกันโดยไม่ต้อง
ลงทุนเป็นเจ้าของเอง ไม่เก็บทรัพยากรที่มีไว้ใช้คนเดียว ทาให้เกิดธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ เช่น
UBER, AirBnB, Alibaba, Facebook
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
ด้านที่สอง ข้อมูลจะเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินธุรกิจและการใช้ข้อมูลอาจจะ
เป็นตัวกาหนดความสาเร็จของธุรกิจในโลกดิจิทัล ข้อมูลเหล่านี้แสดงถึงพฤติกรรมการใช้
ชีวิต ความสนใจ และการตัดสินใจของผู้คนได้อย่างละเอียด การใช้ประโยชน์จากถังข้อมูล
รายธุรกรรมขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า “Big Data” จะช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
และการทาธุรกิจได้ในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นวางแผนการตลาดเพื่อตอบโจทย์ของผู้บริโภค
เฉพาะกลุ่ม การปรับราคาสินค้าตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์อุปทานในแต่ละช่วงเวลา
การบริหารความเสี่ยง การควบคุมของเสียในกระบวนการผลิต หรือการเชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่างธุรกิจต่าง ๆ เพื่อยกระดับการขายสินค้า ขายบริการหรือผลิตภัณฑ์ เป็นการสร้าง
ประสบการณ์ให้แก่ลูกค้า ซึ่งจะสามารถสร้างความผูกพันในระยะยาว และมูลค่าเพิ่มให้แก่
ธุรกิจ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
ด้านที่สาม ธุรกิจจะแข่งกันเรื่องความรวดเร็ว หรือ Economy of Speed มาก
ขึ้น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป เทคโนโลยีทาให้
กระบวนการตัดสินใจของคนใช้เวลาสั้นลงมาก สามารถรับข้อมูลที่พร้อมสาหรับการ
ตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการตัดสินใจซื้อของผ่าน social commerce หรือ e-
commerce หรือแพลตฟอร์มต่าง ๆ
ด้านที่สี่ อาชีพ รูปแบบการทางาน และตาแหน่งงานในอนาคตจะเปลี่ยนจาก
ปัจจุบันมาก การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจะเปลี่ยนโฉมตลาดแรงงาน งาน routine หรือ
งานที่ทาซ้า ๆ จะถูกแทนที่ด้วยระบบอัตโนมัติ และเมื่องาน routine ค่อยๆ หมดไปจะ
เหลือแต่งานที่ระบบอัตโนมัติทดแทนยาก โดยแรงงานกลุ่มที่มี soft skill สูง เช่น มีทักษะ
การสื่อสาร การทางานเป็นทีม มีภาวะผู้นา มีทักษะในการแก้ปัญหาได้ดีจะเป็นที่ต้องการ
มากขึ้น ขณะที่เทคโนโลยีและ Big Data ทาให้ความต้องการแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญ
ด้าน ICT การคานวณ และประมวลผลมากขึ้นด้วยเช่นกัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
ด้านที่ห้า โครงสร้างประชากรในหลายประเทศกาลังเปลี่ยนไปสู่ “สังคมผู้สูงอายุ”
โดยเฉพาะกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และรวมถึงประเทศจีนและไทย สาหรับการดาเนิน
ธุรกิจนั้น แรงงานจะหายากขึ้นและค่าจ้างจะปรับสูงขึ้น ยิ่งส่งผลให้การใช้หุ่นยนต์แทน
แรงงานคนเกิดได้เร็วขึ้น
ด้านที่หก กฎเกณฑ์ กติกา หลายเรื่องจะต้องเปลี่ยนแปลงตามบรรทัดฐานของ
โลกยุคใหม่ ภายใต้บริบทโลกใหม่ที่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะทาให้เส้นแบ่งพรมแดน
สาคัญลดลง รวมทั้งโซเชียลมีเดียทาให้ข้อมูลข่าวสารในโลกส่งถึงกันรวดเร็วมากขึ้น ใช้เวลา
เพียงเสี้ยววินาที และความคาดหวังของคนในสังคมสูงขึ้นเป็นลาดับ เทคโนโลยียังทาให้เกิด
ความโปร่งใสในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ใหม่ๆ และจะถูกตรวจสอบได้โดยง่าย กฎเกณฑ์
กติกา และมาตรฐานหลายอย่างจะต้องเปลี่ยนแปลงตามบรรทัดฐานของโลก ไม่ว่าจะเป็น
เรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน หรือ ธรรมาภิบาล
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นได้มีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง ทาให้ประเทศต่าง ๆ จะต้องปรับตัวให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ไม่อย่างนั้นแล้วเราจะ
ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการแข่งขันทางธุรกิจ ในบทนี้จะแสดงให้เห็นถึง
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ที่ได้เข้ามามีบทบาทและส่งผลกระ
ทบต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) หมายถึงศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ
วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในการสร้างให้คอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักรให้คิดแก้ไขปัญหา
เฉพาะด้าน โดยมีกระบวนการทางานเป็นขั้นตอนอย่างชัดเจน รวมทั้งสามารถตัดสินใจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับการทางานของมนุษย์ (John McCarthy, 2007) อาทิ การทางานด้าน
การคิดคานวณ การใช้เหตุผล การประมวลผลข้อมูล ความสามารถในการเรียนรู้เพื่อดาเนินการ
(machine learning) โดยเฉพาะกลไกในการจดจาข้อมูลภาพและเสียง ความสามารถในการ
เรียนรู้และใช้ความรู้เพื่อจัดการกับสภาพแวดล้อม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
ความสามารถที่เห็นได้อย่างชัดเจนของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ คือ การแปรผล
หรือประมวลผลชุดข้อมูลไปสู่ผลลัพธ์ โดยอาศัยการเรียนรู้จากชุดข้อมูลที่มีอยู่เดิมเพื่อหา
รูปแบบและความสัมพันธ์ระหว่างชุดข้อมูลนาไปสู่การแสดงผลลัพธ์อย่างแม่นยา
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์จึงถูกนาไปประยุกต์ใช้กับสาขาที่หลากหลาย เห็นได้จากการนา
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ไปประยุกต์ใช้กับภาคการเงินและธนาคารปัญญาประดิษฐ์ถูก
นาไปใช้ประโยชน์ในการเก็บข้อมูลของลูกค้าในฐานข้อมูล และจัดประเภทของกลุ่มลูกค้า
เพื่อประโยชน์สาหรับธนาคารในการออกสินเชื่อหรือบัตรเครดิต หรือในแง่ของ
อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ปัญญาประดิษฐ์ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการดาเนินงาน ด้วย
ความสามารถในการคาดเดาเหตุการณ์หรือพฤติกรรมของลูกค้า จึงทาให้เกิดการ
ประมวลผลข้อมูลในเชิงลึก เช่น ความสามารถในการคาดเดาพฤติกรรมเพื่อวางแผนจัดส่ง
สินค้าล่วงหน้าก่อนที่ลูกค้าจะสั่งซื้อสินค้า การคานวณความผันผวนของปริมาณการจัดส่ง
สินค้า เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
ในส่วนของตลาดแรงงาน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทและอาจเข้า
แทนที่แรงงานมนุษย์ได้ในอนาคต ตามการคาดการณ์ของสถาบัน McKinsey Global Institute
ที่ชี้ว่าจานวนแรงงานร้อยละ 9 – 32 ในประเทศที่พัฒนาแล้วอาจจะถูกแทนที่ด้วยการทางานของ
ปัญญาประดิษฐ์ภายในทศวรรษที่ 2020 เนื่องจากความสามารถของปัญญาประดิษฐ์มีขอบเขต
อย่างกว้างขวางจึงอาจทาให้แรงงานมนุษย์ไม่มีความจาเป็นสาหรับอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น
อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมด้านอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น เนื่องจาก
แรงงานในอุตสาหกรรมดังกล่าว มีลักษณะการทางานที่สามารถแบ่งออกเป็นสัดส่วนได้ตาม
หลักการแบ่งงานกันทาและมีกระบวนการทางานที่เป็นไปในรูปแบบเดิม โดยเฉพาะแรงงานใน
สายการผลิต (Production Worker) หรือเสมียนที่จะได้รับผลกระทบจากการนาหุ่นยนต์หรือ
ปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้ทดแทนแรงงานมนุษย์ อย่างไรก็ดี เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ไม่เพียงแต่
จะส่งผลกระทบต่อภาคแรงงานในเชิงลบเท่านั้น หากแต่ยังก่อให้เกิดอาชีพและการจ้างงานใน
สาขาใหม่ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะงานประเภทที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบหุ่นยนต์หรือการ
ควบคุมระบบของหุ่นยนต์ นอกจากนี้ กระแสของปัญญาประดิษฐ์ยังสร้างภาวะกดดันให้มนุษย์
จะต้องพัฒนาความสามารถและทักษะ เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและเพื่อ
ทางานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ได้อย่างราบรื่น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
สาหรับประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้ร้อยละ 17.1 ของ
องค์การทั้งหมดภายในประเทศ โดยเป็นประเทศที่มีการใช้ปัญญาประดิษฐ์มากที่สุดใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รองจากประเทศอินโดนีเซีย (Shu Ling Chan, 2018) ซึ่ง
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ถูกนามาใช้กับธุรกิจค้าปลีกโดยเฉพาะนวัตกรรมในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตและการตรวจสอบคุณภาพโดยอัตโนมัติ (Automated Quality
Inspections) รวมถึงเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานและการจดจาข้อมูล
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
ด้านประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้เป็นอันดับที่
สามของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในองค์การ
ภายในประเทศร้อยละ 9.9 โดยธุรกิจที่ได้รับประโยชน์จากการใช้ปัญญาประดิษฐ์ คือ
การให้บริการทางการเงิน เห็นได้จากการที่ธนาคารแห่งชาติสิงคโปร์ (Money
Authority of Singapore) จัดให้มีระบบเดี่ยวสาหรับอ่านการ์ด (Single unified
terminal) ซึ่งเป็นระบบที่สามารถอ่านบัตรอิเล็กทรอนิกส์หรือบัตรเครดิตได้หลาย
ประเภท โดยใช้เครื่องอ่านชนิดเดียว และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการทาธุรกรรม
ทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่เพียงใช้หมายเลขโทรศัพท์ นอกจากนี้ หน่วยงานด้าน
การดูแลผังเมือง (Urban Development Authority) หน่วยงานด้านการดูแลที่พัก
อาศัย (Housing & Development Board) และหน่วยงานด้านเทคโนโลยีของสิงค์โปร
ได้ร่วมกันจัดทาแอพพลิเคชั่นสาหรับชาระค่าจอดรถในบริเวณที่จอดรถสาธารณะอีก
ด้วย
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
ในขณะเดียวกันประเทศมาเลเซียก็มีแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับสิงคโปร์ โดยรัฐบาลมาเลเซียได้ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีเห็นได้จากการริเริ่มแนวคิดที่เรียกว่า สมาร์ทซิตี้ (Smart Cities)
ในแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับที่ ๑๑ (ค.ศ. 2016 – 2020) (Eleventh Malaysia Plan
2016 - 2020: 11MP) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นถึงการบูรณาการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ ภาคการเงินและธนาคาร การขนส่ง และการ
ผลิต ผสานกับแนวคิด IOT ที่จะใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานให้มีความสะดวกและ
รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยจะนาร่องแนวคิดดังกล่าวในเมืองสาคัญ ได้แก่ กัวลาลัมเปอร์ (Kuala
Lumpur) ปุตราจายา (Putrajaya) ยะโฮร์ (Johor) และ สลังงอร์ (Selangor) นอกจากนี้
มาเลเซียยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อ
นาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถสร้างสินค้าและบริการที่แข่งขันได้ใน
ตลาดโลก
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
แนวโน้มเทคโนโลยีเชิงกลยุทธ์ จากบทวิเคราะห์จาก Gartner (CAT cyfence,
2563) จากสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้ว่ามีการพัฒนา
เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย และยิ่งสถานการณ์โรคไวรัสระบาด COVID-19 ที่บังคับ
ให้เราต้องเข้าสู่วิถีการใช้ชีวิตในรูปแบบ New normal ซึ่งบางส่วนก็นาเอาเทคโนโลยีมาใช้
ทดแทนไปเลย และด้วยการปรับตัวของมนุษย์ในครั้งนี้ ทาให้ช่วยเสริมให้มีการสร้าง
เทคโนโลยีขึ้นมาเพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์ ณ ตอนนี้ โดยเทคโนโลยีบางตัวก็จะได้รับ
การสนับสนุนจาก องค์การภาครัฐ เอกชน และธุรกิจต่าง ๆ อีกทั้งยังมีแนวโน้มว่าจะถูก
นาไปใช้ในปีต่อ ๆ ไป
Gartner บริษัทวิจัยและผู้ให้คาปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศชั้นนาของโลก
ได้วิเคราะห์เกี่ยวกับกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีที่จะมีผลจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมทั่ว
โลก โดย Gartner วิเคราะห์ว่า จะมี 9 แนวโน้มกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
จริงในปี 2021 ข้างหน้านี้ ซึ่งจะมีดังต่อไปนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
• Internet of Behavior (IoB)
• Total Experience
• ระบบคลาวด์แบบกระจายคืออนาคตของ Cloud
• Anywhere operations
• Cybersecurity Mesh
• Intelligent composable business
• ปัญญาประดิษฐ์ (AI)
• Hyper automation
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ที่ส่งผลกระทบหลาย ๆ ด้าน การใช้ Internet of
Behavior (IoB) เข้ามาช่วยก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ เนื่องจาก Internet of Behavior (IoB) จะ
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แห่งมาผสมผสานเทคโนโลยีหลายแบบเข้าด้วยกัน
จุดประสงค์เพื่อใช้ในการติดตามตาแหน่ง จดจาใบหน้า ตรวจจับพฤติกรรม เช่น ติดตาม
พนักงานให้ปฏิบัติตามกฎบริษัท หรือ เฝ้าระวังด้านสุขภาพของพนักงานในช่วงการแพร่
ระบาดไวรัส ซึ่งการมีเทคโนโลยีแบบนี้ก็มีทั้งข้อดี ข้อเสีย สาหรับข้อเสียข้อใหญ่นั่นก็คือ
อาจจะขัดต่อหลักจริยธรรมได้ เนื่องจากสามารถละเมิดความเป็นส่วนตัวของคนอื่น ไม่แน่
ว่าปี 2021 อาจจะมีการปรับปรุงพัฒนา เพื่อทาให้สามารถนามาใช้งานได้ตามขอบเขตข้อ
กฎหมายที่กาหนดในแต่ละประเทศนั้น ๆ ก็ได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
เป็นการผสมผสานประสบการณ์ทั้งหมดตั้งแต่พนักงาน ผู้บริหาร ลูกค้า เข้า
ด้วยกัน เพื่อให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลงทางผลลัพธ์ธุรกิจให้ดียิ่งขึ้น เพราะในช่วง COVID-
19 ที่ผ่านมา มีผลกระทบที่ทาให้ขาดรายได้ ขาดช่องทางในการขาย ไม่สามารถติดต่อ
ลูกค้าได้โดยตรง สิ่งนี้เองที่จะทาให้องค์การ นามาปรับใช้ในการดาเนินการธุรกิจ ให้
สามารถฟื้นฟูและกลับมายืนต่อได้ โดยอาจจะต้องใช้เทคโนโลยีหรือระบบไอทีใด ๆ เข้ามา
ช่วยนั่นเอง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
การป้องกันข้อมูลที่ถูกเก็บไว้แล้วจะไม่เพียงพออีกต่อไป องค์การต้องหาทาง
ปกป้องข้อมูลที่กาลังถูกประมวลผลด้วย และภายในปี 2025 บริษัทใหญ่เกินครึ่งจะต้อง
เพิ่มความสามารถ เพื่อให้สามารถประมวลผลข้อมูลในสภาพแวดล้อมที่ไม่น่าเชื่อถือและมี
ผู้เกี่ยวข้องหลายส่วนแบบให้มีทั้งเรื่อง Privacy และ Security
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
ระบบคลาวด์แบบกระจายคือ บริการคลาวด์ที่กระจายไปยังสถานที่ตั้งที่แตกต่าง
กันไป แต่การดาเนินการ และการกากับดูแลรวมถึงการพัฒนา ยังคงเป็นความรับผิดชอบ
ของผู้ให้บริการคลาวด์สาธารณะ ระบบคลาวด์จะทาให้องค์การสามารถลดต้นทุน ลดความ
ซับซ้อน และช่วยรองรับกฎหมายที่กาหนดให้ การเก็บข้อมูลบนคลาวด์จะต้องอยู่ในพื้นที่
ทางภูมิศาสตร์ที่เฉพาะเจาะจง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
จากเหตุการณ์ COVID-19 ที่ผ่านมาทาให้หลายองค์การมีการปรับตัว และวาง
รูปแบบการดาเนินงานที่สามารถให้บุคลากรสามารถทางานที่ไหนก็ได้ จากการใช้ IT
infrastructure ที่เริ่มตั้งแต่การวางแผนโครงสร้างด้านไอทีที่มั่นคง เพราะรูปแบบการ
ทางานที่ไหนก็ได้เป็นสิ่งสาคัญมากสาหรับการรับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่จะเกิดขึ้น ใน
อนาคต ทาให้ธุรกิจสามารถเข้าถึงลูกค้า และผู้ร่วมงานในพื้นที่ที่ห่างไกลได้ง่าย
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงที่ดีคือ ดิจิทัลระยะไกล เช่น ธนาคารที่ให้บริการแบบ
ดิจิทัลโดยจัดการทุกอย่างตั้งแต่การโอนเงินไปจนถึงการเปิดบัญชีแบบดิจิทัล เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
คือหลักการที่ว่า อนุญาตให้ใครก็ตามสามารถเข้าถึงทรัพย์สินต่าง ๆ ขององค์การ
เช่น ข้อมูล เอกสาร หรืออุปกรณ์ไอที เป็นต้น ได้อย่างปลอดภัย ที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม
ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งานเข้าถึงทรัพย์สินทางดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดยที่ทรัพย์สิน
จานวนมากที่อยู่ภายนอกเขตรักษาความปลอดภัยแบบดั้งเดิมที่ใช้ระบบรักษาความ
ปลอดภัยทางอินเตอร์เน็ตจะสามารถกาหนดขอบเขตความปลอดภัยได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
ธุรกิจที่ชาญฉลาดคือ ธุรกิจที่สามารถปรับตัวได้ตามสถานการณ์ปัจจุบัน ในขณะที่
องค์การต่าง ๆ ที่เร่งกลยุทธ์ทางธุรกิจดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลอย่าง
รวดเร็ว จาเป็นต้องมีความคล่องตัวและการตัดสินใจทางธุรกิจอย่างรวดเร็วเช่นกัน โดยใช้
ข้อมูลที่มีอยู่ในการดาเนินการให้ประสบความสาเร็จ องค์การต่าง ๆ จาเป็นต้องเปิดใช้งาน
การเข้าถึงข้อมูลได้ดียิ่งขึ้นด้วยเทคโนโลยีที่ล้าสมัย และมีความสามารถในการตอบสนองต่อ
ข้อมูลเชิงลึกได้อย่างรวดเร็ว
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
กลยุทธ์ทางวิศวกรรม AI ที่มีประสิทธิภาพจะเพิ่มความสามารถในการตีความและ
ความน่าเชื่อถือของโมเดล AI และมอบคุณค่าของการลงทุน AI อย่างเต็มที่ โครงการ AI
มักประสบปัญหาเกี่ยวกับการบารุงรักษา การปรับขนาดและการกากับดูแลซึ่งทาให้เป็น
ความท้าทายสาหรับองค์การส่วนใหญ่
วิศวกรรม AI นาเสนอเส้นทางทาให้ AI เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ DevOps
แทนที่จะเป็นโครงการเฉพาะและแยกต่างหาก เป็นการรวบรวมสาขาวิชาต่าง ๆ เข้า
ด้วยกันเพื่อควบคุมความน่าเชื่อถือ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
Hyper automation คือ แนวคิดที่ว่าทุกอย่างในองค์การถ้าสามารถทาให้เป็น
อัตโนมัติได้ ควรจะทาให้มันเป็นอัตโนมัติ เป็นการใช้ Big Data และพัฒนา AI อย่าง
สมบูรณ์แบบ เพื่อให้ได้ ประสิทธิภาพประสิทธิผลและความคล่องตัวทางธุรกิจมากยิ่งขึ้น
องค์การไหนที่ยังไม่เน้นเรื่องดังกล่าวจะถูกทิ้งไว้เบื้องหลังในที่สุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
1. จงอธิบายการปฏิวัติอุตสาหกรรมทั้ง 4 ครั้ง
2. จุดเด่นของอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 มีอะไรบ้าง
3. ผลกระทบจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 เป็นอย่างไร
4. บริบทของโลกยุค 4.0 มีผลต่อการดาเนินธุรกิจในอนาคตอย่างไร
5. ประเทศไทยได้รับผลกระทบอะไรบ้างจาก การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
6. ทาไมจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
7. Internet of Behavior (IoB) คืออะไร
8. Hyper automation คืออะไร มีประโยชน์อะไรต่อธุรกิจ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30

More Related Content

What's hot

Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingTeetut Tresirichod
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceTeetut Tresirichod
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNU
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Nawaponch
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจNATTAWANKONGBURAN
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

Chapter 7 prototype
Chapter 7 prototypeChapter 7 prototype
Chapter 7 prototype
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 4 empathize
Chapter 4 empathizeChapter 4 empathize
Chapter 4 empathize
 
Chapter 8 test
Chapter 8 testChapter 8 test
Chapter 8 test
 
Chapter 5 define
Chapter 5 defineChapter 5 define
Chapter 5 define
 
Chapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinkingChapter 3 mindsets of design thinking
Chapter 3 mindsets of design thinking
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for service
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
Chapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of designChapter 1 landscape of design
Chapter 1 landscape of design
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Power point 1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
เข้าใจตลาด (Market Understanding)
เข้าใจตลาด (Market Understanding)เข้าใจตลาด (Market Understanding)
เข้าใจตลาด (Market Understanding)
 
Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
 

Similar to Chapter 7 technology development trends in the 21st century

ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3DrDanai Thienphut
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023pantapong
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018IMC Institute
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 ttfintl
 
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Chanpen Thawornsak
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IMC Institute
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy IMC Institute
 
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021Surapon Boonlue
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 

Similar to Chapter 7 technology development trends in the 21st century (20)

ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3ทัศนภาพธุรกิจ3
ทัศนภาพธุรกิจ3
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Industry 2020
Industry 2020 Industry 2020
Industry 2020
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
 
Vol01
Vol01Vol01
Vol01
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
 
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
Smart Industry Newsletter Vol 30/2559
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)IT Trends: Special Report (IMC Institute)
IT Trends: Special Report (IMC Institute)
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
Business model innovation
Business model innovationBusiness model innovation
Business model innovation
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (17)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 
System management
System managementSystem management
System management
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 

Chapter 7 technology development trends in the 21st century

  • 3. การก้าวสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 จะมีเทคโนโลยีอัจฉริยะต่าง ๆ ที่เข้ามามีบทบาท สาคัญในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ อาทิ เครื่องจักรกลที่คิดได้และสื่อสารเป็น 3D Printing ที่ สามารถเปลี่ยนจินตนาการให้เป็นวัตถุของจริงที่จับต้องได้ หุ่นยนต์จะเข้ามาทางานร่วมกับ มนุษย์เสมือนเป็นเพื่อนร่วมงานคนหนึ่ง นอกจากนั้น ยังมีเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology: IT ที่จะเข้ามาเป็นตัวกลางที่ทาให้การสื่อสารระหว่างคนกับ เครื่องจักร และระหว่างเครื่องจักรด้วยกันเองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เทคโนโลยี ดังกล่าวนี้เอง ที่จะทาให้รูปแบบการผลิตเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง เพื่อประสิทธิภาพการ ผลิตและเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภค สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่ง คือ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้จะพลิกโฉมหน้าการผลิตไป มากน้อยเพียงใด เทคโนโลยีอัตโนมัติรวมถึงหุ่นยนต์อัจฉริยะจะเข้ามามีบทบาทสาคัญ อย่างไรกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. ย้อนอดีตไปราว 230 ปีก่อน โลกของเราเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นเป็นครั้งแรก และมีการ เปลี่ยนแปลงครั้งที่สอง และสาม มาเรื่อย ๆ จนกระทั้งมาถึงครั้งที่สี่ในปัจจุบัน แต่ละยุคสมัยมีการ เปลี่ยนแปลงที่สาคัญดังต่อไปนี้ การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 (Industrial Revolution 1.0) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1784 คือ ยุคของการใช้พลังงานจากน้า (Hydro Power) แทนการใช้แรงงานคน หรือสัตว์ หรือพลังงานธรรมชาติ เป็นยุคที่เริ่มต้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งมีการใช้พลังงานไอน้าจากถ่านหินในกลุ่มอุตสาหกรรมทอผ้า กังหันน้าที่สร้างพลังงานสาหรับใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ หรือการใช้ไอน้าในรถไฟหัวจักรไอน้า เป็นต้น การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (Industrial Revolution 2.0) เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1870 เป็น การเปลี่ยนจากการใช้เครื่องจักรไอน้า มาใช้พลังงานไฟฟ้าส่งผลให้สามารถปลดปล่อยพลังการผลิตอย่างที่ ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เปลี่ยนแปลงระบบการผลิตมาเป็นระบบโรงงาน ทาให้เกิดการผลิตสินค้าคราวละ มาก ๆ และมีคุณภาพที่เทียบเท่างานหัตถกรรม ที่สาคัญคือ สินค้าราคาไม่แพง ทุกคนสามารถบริโภคได้ ทาให้เกิดกระแสบริโภคนิยมไปทั่วโลก การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 (Industrial Revolution 3.0) เกิดขึ้นในปีค.ศ. 1969 เป็นยุค ของการใช้อิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีไอทีในการผลิต มีการปรับปรุงกระบวนการผลิตและระบบบริหาร จัดการด้านคุณภาพ มีการใช้เครื่องจักรอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์ในการผลิต แทนที่แรงงานคน เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้นอีกระดับหนึ่ง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะเป็นการบูรณาการโลกของการผลิตเข้ากับการ เชื่อมต่อทางเครือข่ายในรูปแบบ ‘Internet of Things (IoT)’ ทุกหน่วยของระบบการผลิต ตั้งแต่ วัตถุดิบ เครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์ ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์หน่วยต่าง ๆ เหล่านี้จะถูกติดตั้ง ระบบเครือข่ายเพื่อให้สามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยน ข้อมูลซึ่งกันและกันอย่างอิสระ เพื่อการ จัดการกระบวนการผลิตทั้งหมด จุดเด่นของอุตสาหกรรม 4.0 คือการที่เครื่องจักรหรือระบบอัตโนมัติสามารถเชื่อมโยง เป็นส่วนหนึ่งของสังคมเครือข่ายผ่ายอินเตอร์เน็ต จึงสามารถแบ่งปันข้อมูลข่าวสารถึงกันหมด รวมทั้งสามารถใช้ทรัพยากรบางส่วนร่วมกันได้ เครื่องจักรกลสาหรับอุตสาหกรรม 4.0 จะมี ความสามารถที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ทั้งในด้านการทางานด้วยตนเอง ความยืดหยุ่นและการปรับตัวให้ เข้ากับเงื่อนไขการผลิต มีความสามารถในการตรวจสอบและคาดการณ์ล่วงหน้าได้ นอกจากนี้ เครื่องจักรในอนาคตจะมีโปรแกรมสาหรับตรวจสอบและดูแลสุขภาพของเครื่องจักร เพื่อยืดอายุ การทางานของเครื่องจักร อันจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการวางแผนการผลิตและประเมิน ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร กล่าวคือ เครื่องจักรจะมีความเป็นอัจฉริยะมากขึ้นนั่นเอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. Klaus Schwab ผู้ก่อตั้งและประธานสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) (2017) ชี้ว่าการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 เริ่มมาตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 2000 ซึ่งเป็นผลมาจากการต่อยอดและการผสานแนวคิดและเทคโนโลยีจากการปฏิวัติ อุตสาหกรรมครั้งที่ 3 ทั้งยังเป็นการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างไปจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในครั้งที่ผ่านมา เนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและสร้าง ผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นผล มาจากการบูรณาการเทคโนโลยีทั้ง 3 ด้านเข้าด้วยกัน ได้แก่ เทคโนโลยีทางกายภาพ เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีทางการแพทย์และชีวภาพ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. ในส่วนการพัฒนาเทคโนโลยีทางกายภาพภายใต้การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะเกิด การพัฒนาคอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ส่งผลให้เกิดการผสานการทางานระหว่าง เครื่องจักรกับหุ่นยนต์กลายเป็นเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ที่มีความสามารถใกล้เคียงกับการทางาน ของมนุษย์ โดยเฉพาะความสามารถในการจัดการปัญหาและการแก้ไขสถานการณ์ ตลอดจนการ ซ่อมบารุงรักษาโดยอัตโนมัติ หรือเรียกโดยรวมว่าแนวคิดของการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะทาให้ อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวันของมนุษย์ หรือเป็นสิ่งสาคัญที่เชื่อมโยงมนุษย์เข้ากับ ระบบต่าง ๆ ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดที่เรียกว่า Internet of thing (IOT) เห็นได้จากการพัฒนา ระบบการทาธุรกรรมทางการเงินหรือการสร้างสกุลเงินดิจิทัล เช่น บล็อกเชน (Blockchain) บิต คอยน์ (Bitcoin) เป็นต้น ตลอดจนเกิดโครงสร้างเศรษฐกิจตามความต้องการ (on-demand economy) หรือเศรษฐกิจแบบแบ่งปัน (sharing economy) ซึ่งหมายถึง โครงสร้างเศรษฐกิจ รูปแบบใหม่อันเกิดจากความต้องการที่จะสร้างรายได้จากการแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการที่มี มูลค่าเชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรที่ผู้บริโภคมีอยู่ แต่มีในปริมาณมากเกินความต้องการก่อให้เกิด ความต้องการที่จะสร้างรายได้จากทรัพยากรดังกล่าว จึงเป็นที่มาของกระแสธุรกิจประเภทสตาร์ท อัพ (Startup) (ภาวนิศร์ ชัววัลลี, 2560) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. จากปรากฎการณ์ดังกล่าว ได้นามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตและการ ปรับตัวครั้งสาคัญของบริษัทหรือผู้ประกอบการในภาคธุรกิจ เนื่องจากผู้บริโภคในยุค อุตสาหกรรมใหม่จะมีบทบาทที่ชัดเจนและสาคัญต่อตลาด โดยผู้บริโภคจะเป็นศูนย์กลาง ของการผลิตและทาให้ผู้ประกอบการจะต้องใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าเพื่อตอบสนอง ผู้บริโภคแบบเฉพาะกลุ่มหรือรายบุคคล (Customization) ทั้งจะต้องลดขั้นตอนและ ระยะเวลาการผลิตให้สั้นลง ในขณะเดียวกันก็จะต้องเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้บริโภคด้วยเช่นกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 9. ด้านแรก เศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน หรือ Sharing Economy จะมีความสาคัญมากขึ้น ในโลกยุคใหม่ที่เกิดจากพลังของเทคโนโลยี จะเกิดแพลตฟอร์มที่ธุรกิจสามารถสร้าง ประโยชน์ร่วมกันได้ ที่สาคัญ แพลตฟอร์มเหล่านี้จะทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่าง “ผู้ใช้บริการ” กับ “ผู้ให้บริการ” ได้โดยตรงด้วยต้นทุนที่ต่ามาก ไม่ต้องอาศัยธุรกิจตัวกลาง เหมือนในอดีต ทาให้ธุรกิจตัวกลางต่าง ๆ จะมีบทบาทลดลงมาก แนวคิด Sharing Economy ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกันโดยไม่ต้อง ลงทุนเป็นเจ้าของเอง ไม่เก็บทรัพยากรที่มีไว้ใช้คนเดียว ทาให้เกิดธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ เช่น UBER, AirBnB, Alibaba, Facebook ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
  • 10. ด้านที่สอง ข้อมูลจะเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินธุรกิจและการใช้ข้อมูลอาจจะ เป็นตัวกาหนดความสาเร็จของธุรกิจในโลกดิจิทัล ข้อมูลเหล่านี้แสดงถึงพฤติกรรมการใช้ ชีวิต ความสนใจ และการตัดสินใจของผู้คนได้อย่างละเอียด การใช้ประโยชน์จากถังข้อมูล รายธุรกรรมขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า “Big Data” จะช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และการทาธุรกิจได้ในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นวางแผนการตลาดเพื่อตอบโจทย์ของผู้บริโภค เฉพาะกลุ่ม การปรับราคาสินค้าตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์อุปทานในแต่ละช่วงเวลา การบริหารความเสี่ยง การควบคุมของเสียในกระบวนการผลิต หรือการเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างธุรกิจต่าง ๆ เพื่อยกระดับการขายสินค้า ขายบริการหรือผลิตภัณฑ์ เป็นการสร้าง ประสบการณ์ให้แก่ลูกค้า ซึ่งจะสามารถสร้างความผูกพันในระยะยาว และมูลค่าเพิ่มให้แก่ ธุรกิจ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
  • 11. ด้านที่สาม ธุรกิจจะแข่งกันเรื่องความรวดเร็ว หรือ Economy of Speed มาก ขึ้น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป เทคโนโลยีทาให้ กระบวนการตัดสินใจของคนใช้เวลาสั้นลงมาก สามารถรับข้อมูลที่พร้อมสาหรับการ ตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการตัดสินใจซื้อของผ่าน social commerce หรือ e- commerce หรือแพลตฟอร์มต่าง ๆ ด้านที่สี่ อาชีพ รูปแบบการทางาน และตาแหน่งงานในอนาคตจะเปลี่ยนจาก ปัจจุบันมาก การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจะเปลี่ยนโฉมตลาดแรงงาน งาน routine หรือ งานที่ทาซ้า ๆ จะถูกแทนที่ด้วยระบบอัตโนมัติ และเมื่องาน routine ค่อยๆ หมดไปจะ เหลือแต่งานที่ระบบอัตโนมัติทดแทนยาก โดยแรงงานกลุ่มที่มี soft skill สูง เช่น มีทักษะ การสื่อสาร การทางานเป็นทีม มีภาวะผู้นา มีทักษะในการแก้ปัญหาได้ดีจะเป็นที่ต้องการ มากขึ้น ขณะที่เทคโนโลยีและ Big Data ทาให้ความต้องการแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญ ด้าน ICT การคานวณ และประมวลผลมากขึ้นด้วยเช่นกัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 12. ด้านที่ห้า โครงสร้างประชากรในหลายประเทศกาลังเปลี่ยนไปสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” โดยเฉพาะกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว และรวมถึงประเทศจีนและไทย สาหรับการดาเนิน ธุรกิจนั้น แรงงานจะหายากขึ้นและค่าจ้างจะปรับสูงขึ้น ยิ่งส่งผลให้การใช้หุ่นยนต์แทน แรงงานคนเกิดได้เร็วขึ้น ด้านที่หก กฎเกณฑ์ กติกา หลายเรื่องจะต้องเปลี่ยนแปลงตามบรรทัดฐานของ โลกยุคใหม่ ภายใต้บริบทโลกใหม่ที่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะทาให้เส้นแบ่งพรมแดน สาคัญลดลง รวมทั้งโซเชียลมีเดียทาให้ข้อมูลข่าวสารในโลกส่งถึงกันรวดเร็วมากขึ้น ใช้เวลา เพียงเสี้ยววินาที และความคาดหวังของคนในสังคมสูงขึ้นเป็นลาดับ เทคโนโลยียังทาให้เกิด ความโปร่งใสในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ใหม่ๆ และจะถูกตรวจสอบได้โดยง่าย กฎเกณฑ์ กติกา และมาตรฐานหลายอย่างจะต้องเปลี่ยนแปลงตามบรรทัดฐานของโลก ไม่ว่าจะเป็น เรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน หรือ ธรรมาภิบาล ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นได้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ทาให้ประเทศต่าง ๆ จะต้องปรับตัวให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ไม่อย่างนั้นแล้วเราจะ ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงจะส่งผลต่อการแข่งขันทางธุรกิจ ในบทนี้จะแสดงให้เห็นถึง ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ที่ได้เข้ามามีบทบาทและส่งผลกระ ทบต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) หมายถึงศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในการสร้างให้คอมพิวเตอร์หรือเครื่องจักรให้คิดแก้ไขปัญหา เฉพาะด้าน โดยมีกระบวนการทางานเป็นขั้นตอนอย่างชัดเจน รวมทั้งสามารถตัดสินใจได้อย่างมี ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับการทางานของมนุษย์ (John McCarthy, 2007) อาทิ การทางานด้าน การคิดคานวณ การใช้เหตุผล การประมวลผลข้อมูล ความสามารถในการเรียนรู้เพื่อดาเนินการ (machine learning) โดยเฉพาะกลไกในการจดจาข้อมูลภาพและเสียง ความสามารถในการ เรียนรู้และใช้ความรู้เพื่อจัดการกับสภาพแวดล้อม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. ความสามารถที่เห็นได้อย่างชัดเจนของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ คือ การแปรผล หรือประมวลผลชุดข้อมูลไปสู่ผลลัพธ์ โดยอาศัยการเรียนรู้จากชุดข้อมูลที่มีอยู่เดิมเพื่อหา รูปแบบและความสัมพันธ์ระหว่างชุดข้อมูลนาไปสู่การแสดงผลลัพธ์อย่างแม่นยา เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์จึงถูกนาไปประยุกต์ใช้กับสาขาที่หลากหลาย เห็นได้จากการนา เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ไปประยุกต์ใช้กับภาคการเงินและธนาคารปัญญาประดิษฐ์ถูก นาไปใช้ประโยชน์ในการเก็บข้อมูลของลูกค้าในฐานข้อมูล และจัดประเภทของกลุ่มลูกค้า เพื่อประโยชน์สาหรับธนาคารในการออกสินเชื่อหรือบัตรเครดิต หรือในแง่ของ อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ปัญญาประดิษฐ์ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการดาเนินงาน ด้วย ความสามารถในการคาดเดาเหตุการณ์หรือพฤติกรรมของลูกค้า จึงทาให้เกิดการ ประมวลผลข้อมูลในเชิงลึก เช่น ความสามารถในการคาดเดาพฤติกรรมเพื่อวางแผนจัดส่ง สินค้าล่วงหน้าก่อนที่ลูกค้าจะสั่งซื้อสินค้า การคานวณความผันผวนของปริมาณการจัดส่ง สินค้า เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. ในส่วนของตลาดแรงงาน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ได้ก้าวเข้ามามีบทบาทและอาจเข้า แทนที่แรงงานมนุษย์ได้ในอนาคต ตามการคาดการณ์ของสถาบัน McKinsey Global Institute ที่ชี้ว่าจานวนแรงงานร้อยละ 9 – 32 ในประเทศที่พัฒนาแล้วอาจจะถูกแทนที่ด้วยการทางานของ ปัญญาประดิษฐ์ภายในทศวรรษที่ 2020 เนื่องจากความสามารถของปัญญาประดิษฐ์มีขอบเขต อย่างกว้างขวางจึงอาจทาให้แรงงานมนุษย์ไม่มีความจาเป็นสาหรับอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมด้านอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น เนื่องจาก แรงงานในอุตสาหกรรมดังกล่าว มีลักษณะการทางานที่สามารถแบ่งออกเป็นสัดส่วนได้ตาม หลักการแบ่งงานกันทาและมีกระบวนการทางานที่เป็นไปในรูปแบบเดิม โดยเฉพาะแรงงานใน สายการผลิต (Production Worker) หรือเสมียนที่จะได้รับผลกระทบจากการนาหุ่นยนต์หรือ ปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้ทดแทนแรงงานมนุษย์ อย่างไรก็ดี เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ไม่เพียงแต่ จะส่งผลกระทบต่อภาคแรงงานในเชิงลบเท่านั้น หากแต่ยังก่อให้เกิดอาชีพและการจ้างงานใน สาขาใหม่ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะงานประเภทที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบหุ่นยนต์หรือการ ควบคุมระบบของหุ่นยนต์ นอกจากนี้ กระแสของปัญญาประดิษฐ์ยังสร้างภาวะกดดันให้มนุษย์ จะต้องพัฒนาความสามารถและทักษะ เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและเพื่อ ทางานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ได้อย่างราบรื่น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. สาหรับประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้ร้อยละ 17.1 ของ องค์การทั้งหมดภายในประเทศ โดยเป็นประเทศที่มีการใช้ปัญญาประดิษฐ์มากที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รองจากประเทศอินโดนีเซีย (Shu Ling Chan, 2018) ซึ่ง เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ถูกนามาใช้กับธุรกิจค้าปลีกโดยเฉพาะนวัตกรรมในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตและการตรวจสอบคุณภาพโดยอัตโนมัติ (Automated Quality Inspections) รวมถึงเทคโนโลยีในการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานและการจดจาข้อมูล ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. ด้านประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้เป็นอันดับที่ สามของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการนาปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในองค์การ ภายในประเทศร้อยละ 9.9 โดยธุรกิจที่ได้รับประโยชน์จากการใช้ปัญญาประดิษฐ์ คือ การให้บริการทางการเงิน เห็นได้จากการที่ธนาคารแห่งชาติสิงคโปร์ (Money Authority of Singapore) จัดให้มีระบบเดี่ยวสาหรับอ่านการ์ด (Single unified terminal) ซึ่งเป็นระบบที่สามารถอ่านบัตรอิเล็กทรอนิกส์หรือบัตรเครดิตได้หลาย ประเภท โดยใช้เครื่องอ่านชนิดเดียว และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการทาธุรกรรม ทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่เพียงใช้หมายเลขโทรศัพท์ นอกจากนี้ หน่วยงานด้าน การดูแลผังเมือง (Urban Development Authority) หน่วยงานด้านการดูแลที่พัก อาศัย (Housing & Development Board) และหน่วยงานด้านเทคโนโลยีของสิงค์โปร ได้ร่วมกันจัดทาแอพพลิเคชั่นสาหรับชาระค่าจอดรถในบริเวณที่จอดรถสาธารณะอีก ด้วย ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18. ในขณะเดียวกันประเทศมาเลเซียก็มีแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกับสิงคโปร์ โดยรัฐบาลมาเลเซียได้ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเห็นได้จากการริเริ่มแนวคิดที่เรียกว่า สมาร์ทซิตี้ (Smart Cities) ในแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับที่ ๑๑ (ค.ศ. 2016 – 2020) (Eleventh Malaysia Plan 2016 - 2020: 11MP) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นถึงการบูรณาการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ ภาคการเงินและธนาคาร การขนส่ง และการ ผลิต ผสานกับแนวคิด IOT ที่จะใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานให้มีความสะดวกและ รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยจะนาร่องแนวคิดดังกล่าวในเมืองสาคัญ ได้แก่ กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur) ปุตราจายา (Putrajaya) ยะโฮร์ (Johor) และ สลังงอร์ (Selangor) นอกจากนี้ มาเลเซียยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อ นาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถสร้างสินค้าและบริการที่แข่งขันได้ใน ตลาดโลก ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. แนวโน้มเทคโนโลยีเชิงกลยุทธ์ จากบทวิเคราะห์จาก Gartner (CAT cyfence, 2563) จากสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้ว่ามีการพัฒนา เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย และยิ่งสถานการณ์โรคไวรัสระบาด COVID-19 ที่บังคับ ให้เราต้องเข้าสู่วิถีการใช้ชีวิตในรูปแบบ New normal ซึ่งบางส่วนก็นาเอาเทคโนโลยีมาใช้ ทดแทนไปเลย และด้วยการปรับตัวของมนุษย์ในครั้งนี้ ทาให้ช่วยเสริมให้มีการสร้าง เทคโนโลยีขึ้นมาเพื่อให้สอดรับกับสถานการณ์ ณ ตอนนี้ โดยเทคโนโลยีบางตัวก็จะได้รับ การสนับสนุนจาก องค์การภาครัฐ เอกชน และธุรกิจต่าง ๆ อีกทั้งยังมีแนวโน้มว่าจะถูก นาไปใช้ในปีต่อ ๆ ไป Gartner บริษัทวิจัยและผู้ให้คาปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศชั้นนาของโลก ได้วิเคราะห์เกี่ยวกับกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีที่จะมีผลจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมทั่ว โลก โดย Gartner วิเคราะห์ว่า จะมี 9 แนวโน้มกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จริงในปี 2021 ข้างหน้านี้ ซึ่งจะมีดังต่อไปนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20. • Internet of Behavior (IoB) • Total Experience • ระบบคลาวด์แบบกระจายคืออนาคตของ Cloud • Anywhere operations • Cybersecurity Mesh • Intelligent composable business • ปัญญาประดิษฐ์ (AI) • Hyper automation ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
  • 21. ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ที่ส่งผลกระทบหลาย ๆ ด้าน การใช้ Internet of Behavior (IoB) เข้ามาช่วยก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ เนื่องจาก Internet of Behavior (IoB) จะ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แห่งมาผสมผสานเทคโนโลยีหลายแบบเข้าด้วยกัน จุดประสงค์เพื่อใช้ในการติดตามตาแหน่ง จดจาใบหน้า ตรวจจับพฤติกรรม เช่น ติดตาม พนักงานให้ปฏิบัติตามกฎบริษัท หรือ เฝ้าระวังด้านสุขภาพของพนักงานในช่วงการแพร่ ระบาดไวรัส ซึ่งการมีเทคโนโลยีแบบนี้ก็มีทั้งข้อดี ข้อเสีย สาหรับข้อเสียข้อใหญ่นั่นก็คือ อาจจะขัดต่อหลักจริยธรรมได้ เนื่องจากสามารถละเมิดความเป็นส่วนตัวของคนอื่น ไม่แน่ ว่าปี 2021 อาจจะมีการปรับปรุงพัฒนา เพื่อทาให้สามารถนามาใช้งานได้ตามขอบเขตข้อ กฎหมายที่กาหนดในแต่ละประเทศนั้น ๆ ก็ได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. เป็นการผสมผสานประสบการณ์ทั้งหมดตั้งแต่พนักงาน ผู้บริหาร ลูกค้า เข้า ด้วยกัน เพื่อให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลงทางผลลัพธ์ธุรกิจให้ดียิ่งขึ้น เพราะในช่วง COVID- 19 ที่ผ่านมา มีผลกระทบที่ทาให้ขาดรายได้ ขาดช่องทางในการขาย ไม่สามารถติดต่อ ลูกค้าได้โดยตรง สิ่งนี้เองที่จะทาให้องค์การ นามาปรับใช้ในการดาเนินการธุรกิจ ให้ สามารถฟื้นฟูและกลับมายืนต่อได้ โดยอาจจะต้องใช้เทคโนโลยีหรือระบบไอทีใด ๆ เข้ามา ช่วยนั่นเอง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. การป้องกันข้อมูลที่ถูกเก็บไว้แล้วจะไม่เพียงพออีกต่อไป องค์การต้องหาทาง ปกป้องข้อมูลที่กาลังถูกประมวลผลด้วย และภายในปี 2025 บริษัทใหญ่เกินครึ่งจะต้อง เพิ่มความสามารถ เพื่อให้สามารถประมวลผลข้อมูลในสภาพแวดล้อมที่ไม่น่าเชื่อถือและมี ผู้เกี่ยวข้องหลายส่วนแบบให้มีทั้งเรื่อง Privacy และ Security ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. ระบบคลาวด์แบบกระจายคือ บริการคลาวด์ที่กระจายไปยังสถานที่ตั้งที่แตกต่าง กันไป แต่การดาเนินการ และการกากับดูแลรวมถึงการพัฒนา ยังคงเป็นความรับผิดชอบ ของผู้ให้บริการคลาวด์สาธารณะ ระบบคลาวด์จะทาให้องค์การสามารถลดต้นทุน ลดความ ซับซ้อน และช่วยรองรับกฎหมายที่กาหนดให้ การเก็บข้อมูลบนคลาวด์จะต้องอยู่ในพื้นที่ ทางภูมิศาสตร์ที่เฉพาะเจาะจง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
  • 25. จากเหตุการณ์ COVID-19 ที่ผ่านมาทาให้หลายองค์การมีการปรับตัว และวาง รูปแบบการดาเนินงานที่สามารถให้บุคลากรสามารถทางานที่ไหนก็ได้ จากการใช้ IT infrastructure ที่เริ่มตั้งแต่การวางแผนโครงสร้างด้านไอทีที่มั่นคง เพราะรูปแบบการ ทางานที่ไหนก็ได้เป็นสิ่งสาคัญมากสาหรับการรับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่จะเกิดขึ้น ใน อนาคต ทาให้ธุรกิจสามารถเข้าถึงลูกค้า และผู้ร่วมงานในพื้นที่ที่ห่างไกลได้ง่าย รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงที่ดีคือ ดิจิทัลระยะไกล เช่น ธนาคารที่ให้บริการแบบ ดิจิทัลโดยจัดการทุกอย่างตั้งแต่การโอนเงินไปจนถึงการเปิดบัญชีแบบดิจิทัล เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
  • 26. คือหลักการที่ว่า อนุญาตให้ใครก็ตามสามารถเข้าถึงทรัพย์สินต่าง ๆ ขององค์การ เช่น ข้อมูล เอกสาร หรืออุปกรณ์ไอที เป็นต้น ได้อย่างปลอดภัย ที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งานเข้าถึงทรัพย์สินทางดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดยที่ทรัพย์สิน จานวนมากที่อยู่ภายนอกเขตรักษาความปลอดภัยแบบดั้งเดิมที่ใช้ระบบรักษาความ ปลอดภัยทางอินเตอร์เน็ตจะสามารถกาหนดขอบเขตความปลอดภัยได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. ธุรกิจที่ชาญฉลาดคือ ธุรกิจที่สามารถปรับตัวได้ตามสถานการณ์ปัจจุบัน ในขณะที่ องค์การต่าง ๆ ที่เร่งกลยุทธ์ทางธุรกิจดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลอย่าง รวดเร็ว จาเป็นต้องมีความคล่องตัวและการตัดสินใจทางธุรกิจอย่างรวดเร็วเช่นกัน โดยใช้ ข้อมูลที่มีอยู่ในการดาเนินการให้ประสบความสาเร็จ องค์การต่าง ๆ จาเป็นต้องเปิดใช้งาน การเข้าถึงข้อมูลได้ดียิ่งขึ้นด้วยเทคโนโลยีที่ล้าสมัย และมีความสามารถในการตอบสนองต่อ ข้อมูลเชิงลึกได้อย่างรวดเร็ว ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. กลยุทธ์ทางวิศวกรรม AI ที่มีประสิทธิภาพจะเพิ่มความสามารถในการตีความและ ความน่าเชื่อถือของโมเดล AI และมอบคุณค่าของการลงทุน AI อย่างเต็มที่ โครงการ AI มักประสบปัญหาเกี่ยวกับการบารุงรักษา การปรับขนาดและการกากับดูแลซึ่งทาให้เป็น ความท้าทายสาหรับองค์การส่วนใหญ่ วิศวกรรม AI นาเสนอเส้นทางทาให้ AI เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ DevOps แทนที่จะเป็นโครงการเฉพาะและแยกต่างหาก เป็นการรวบรวมสาขาวิชาต่าง ๆ เข้า ด้วยกันเพื่อควบคุมความน่าเชื่อถือ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 29. Hyper automation คือ แนวคิดที่ว่าทุกอย่างในองค์การถ้าสามารถทาให้เป็น อัตโนมัติได้ ควรจะทาให้มันเป็นอัตโนมัติ เป็นการใช้ Big Data และพัฒนา AI อย่าง สมบูรณ์แบบ เพื่อให้ได้ ประสิทธิภาพประสิทธิผลและความคล่องตัวทางธุรกิจมากยิ่งขึ้น องค์การไหนที่ยังไม่เน้นเรื่องดังกล่าวจะถูกทิ้งไว้เบื้องหลังในที่สุด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
  • 30. 1. จงอธิบายการปฏิวัติอุตสาหกรรมทั้ง 4 ครั้ง 2. จุดเด่นของอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 มีอะไรบ้าง 3. ผลกระทบจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 เป็นอย่างไร 4. บริบทของโลกยุค 4.0 มีผลต่อการดาเนินธุรกิจในอนาคตอย่างไร 5. ประเทศไทยได้รับผลกระทบอะไรบ้างจาก การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 6. ทาไมจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 7. Internet of Behavior (IoB) คืออะไร 8. Hyper automation คืออะไร มีประโยชน์อะไรต่อธุรกิจ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30