SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
ผู้นำองค์กำรธุรกิจกับกำรจัดกำรควำมเปลี่ยนแปลง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
เมื่อนักศึกษำได้ศึกษำบทนี้แล้วสำมำรถ
9.1 อธิบำยภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง
9.2 อธิบำยผู้นำองค์กำรธุรกิจในสถำนกำรณ์โลกแบบ VUCA
9.3 อธิบำยผู้นำองค์กำรธุรกิจกับกำรตัดสินใจด้ำนนวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
ร็อบบินส์และโคลเตอร์ (Robbins & Coulter, 2008) ให้ควำมหมำยของ ผู้นำ
(Leader) ไว้ว่ำ ผู้นำหมำยถึงผู้ที่มีควำมสำมำรถหรือศิลปในกำรจูงใจให้ผู้อื่นคิดตำมหรือ
ปฏิบัติตำม และภำวะผู้นำ (Leadership) คือ สิ่งที่ผู้นำกระทำ ซึ่งก็คือ กระบวนกำรจูงใจ
ให้กลุ่มหรือองค์กำรปฏิบัติตำมเพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยของกลุ่มหรือขององค์กำร
อุดม ทุมโฆษิต (2544) สรุปควำมหมำยของผู้นำไว้ว่ำ ภำวะผู้นำ หมำยถึง
กระบวนกำรใช้อำนำจและอิทธิพลของผู้นำต่อผู้ตำมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กำร
พัชสิรี ชมภูคำ (2552) สรุปควำมหมำยของภำวะผู้นำไว้ว่ำ หมำยถึง กระบวนกำร
ของผู้นำ ซึ่งมีอิทธิพลที่สำมำรถโน้มน้ำว สร้ำงแรงบันดำลใจ จูงใจ ให้คนอื่นทำตำม เพื่อ
บรรลุตำมเป้ำหมำยขององค์กำร
สรุปได้ว่ำ ภำวะผู้นำ คือ กระบวนกำรจูงใจโดยต้องมีศิลป ในกำรโน้มน้ำว ให้
ผู้ใต้บังคับบัญชำหรือกลุ่มในองค์กำรทำตำมเพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยขององค์กำร
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำ มักจะศึกษำใน 3 กลุ่มทฤษฎี ดังนี้
กำรศึกษำเกี่ยวกับภำวะผู้นำนั้น มักสนใจศึกษำอยู่ 3 กลุ่มทฤษฎีด้วยกันคือ
1) ทฤษฎีเชิงคุณลักษณะผู้นำ (Trait Theory) เป็นแนวคิดที่แสวงหำลักษณะ
ต่ำง ๆ ของกลุ่มคนที่เป็นผู้นำ ว่ำมีประกำรใดบ้ำงที่เป็นลักษณะเฉพำะของคนที่เป็นผู้นำที่มี
เหมือนกัน บำงคนเกิดมำเป็นผู้นำโดยสำยเลือด กำรเป็นผู้นำเป็นเรื่องที่สร้ำงขึ้นมำไม่ได้
ในทำงปฏิบัติปรำกฎว่ำกำรศึกษำตำมแนวนี้มีปัญหำ เพรำะผู้นำแต่ละคนนั้นบำงครั้งมี
ลักษณะที่แตกต่ำงกันมำกและกำรศึกษำไม่คำนึงถึงอิทธิพลของปัจจัยสถำนกำรณ์
นอกจำกนี้ควำมเป็นผู้นำเป็นเรื่องของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคน คือ ต้องมีกลุ่มผู้ตำมด้วย
ดังนั้นกล่ำวได้ว่ำลักษณะของคนที่มักพบอยู่ในตัวผู้นำ ได้แก่ ควำมฉลำด กำรชอบครอบงำ
ผู้อื่น ควำมมั่นใจในตัวเอง กำรมีพลังสูง และกำรมีควำมรู้อย่ำงดีเกี่ยวกับงำนที่ทำ (พิทยำ
บวรวัฒนำ, 2556)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
ในขณะที่ ร็อบบินส์ (Robbins, 2005) ร็อบบินส์และโคลเตอร์ (Robbins &
Coulter, 2008) กล่ำวว่ำคุณลักษณะพื้นฐำนของผู้นำที่มีประสิทธิภำพนั้นประกอบด้วย
ดังนี้คือ มีควำมเฉลียวฉลำด มีควำมปรำรถนำที่จะนำผู้อื่น มีควำมรอบรู้ในงำน มีควำม
เชื่อมั่นในตัวเองสูง มีควำมซื่อสัตย์สุจริตและซื่อตรง และอื่น ๆ ผู้นำจะมีคุณลักษณะ
บำงอย่ำงที่พิเศษโดดเด่นกว่ำผู้ตำม และต้องสำมำรถเลือกใช้คุณลักษณะต่ำง ๆให้ถูก
กำลเทศะ หรือเหมำะสมกับสถำนกำรณ์ด้วย นอกจำกนี้คุณลักษณะยังเป็นตัวกำหนดควำม
แตกต่ำงระหว่ำงผู้นำกับผู้ที่มิได้เป็นผู้นำ คุณลักษณะดังกล่ำวได้แก่ ขนำดของร่ำงกำย
บุคลิกภำพ ระดับชั้นทำงสังคม ควำมมั่นคงทำงอำรมณ์ ควำมสำมำรถในกำรพูด และ
ควำมสำมำรถทำงสังคม เป็นต้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
2) ทฤษฎีเชิงพฤติกรรมของผู้นำ (Behavioral Theory) เป็นแนวควำมคิดที่
แสวงหำพฤติกรรมที่คล้ำยกันของผู้นำทั้งหลำย เพื่อที่จะนำไปใช้ศึกษำและเป็นแนวทำงใน
กำรจัดโครงกำรฝึกอบรมผู้นำ ซึ่งจำกกำรศึกษำของนักวิชำกำรที่มหำวิทยำลัย Ohio State
ได้ค้นพบว่ำพฤติกรรมของผู้นำมีอยู่ 2 แบบได้แก่
แบบแรก คือพฤติกรรมที่มุ่งไปสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรทำงำน หมำยถึง
พฤติกรรมที่มุ่งปรับปรุงระบบกำรทำงำน จัดให้คนงำนทำงำนอย่ำงมีมำตรฐำนตำม
กำหนดเวลำที่วำงไว้
แบบที่สอง ได้แก่พฤติกรรมที่มุ่งสู่ควำมสัมพันธ์ที่ดีในกำรทำงำน ซึ่งเป็นเรื่อง
เกี่ยวกับกำรสร้ำงควำมเชื่อใจซึ่งกันและกัน กำรเคำรพควำมคิดของลูกน้อง และกำร
คำนึงถึงควำมรู้สึกของลูกน้อง ผู้นำประเภทนี้จะเป็นผู้ที่ช่วยเหลือลูกน้อง มีควำมเป็น
กันเอง และถือว่ำลูกน้องมีควำมเท่ำเทียมกับตน
โดยสรุปแล้ว ผู้นำที่มีลักษณะเป็นแบบแรกและแบบที่สองอย่ำงสูง ทั้งสองแบบจะ
เป็นผู้นำที่ให้เกิดผลดีต่อองค์กำร (พิทยำ บวรวัฒนำ, 2556)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
จำกกำรศึกษำของมหำวิทยำลัยมิชิแกน ที่ศึกษำเพื่อหำพฤติกรรมของผู้นำซึ่ง
เกี่ยวข้องกับประสิทธิผลในกำรดำเนินงำน ซึ่งได้ข้อสรุปเกี่ยวกับพฤติกรรมของภำวะผู้นำไว้
2 มิติ คือ
แบบแรก คือ ผู้นำที่มุ่งพนักงำน (Employee Oriented) คือผู้นำที่มุ่งเน้น
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล ให้ควำมสนใจเกี่ยวกับบุคคล ได้แก่ ควำมต้องกำรของ
ผู้ใต้บังคับบัญชำ และกำรยอมรับควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล
แบบที่สอง คือ ผู้นำที่มุ่งกำรผลิต (Productivity Oriented) คือผู้นำที่มุ่ง
บรรลุผลด้ำนเทคนิคหรือรำยละเอียดของกำรทำงำนเป็นสำคัญ (Robbins, 2005)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
3) ทฤษฎีผู้นำเชิงสถำนกำรณ์ (Contingency Theory) ซึ่งแนวคิดทฤษฎีกลุ่ม
นี้ให้ควำมสำคัญกับปัจจัยสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เป็นปัจจัยสำคัญในกำรกำหนดควำมสำเร็จ
ของผู้นำต่ำง ๆในองค์กำร ซึ่งมีนักวิชำกำรหลำยคนที่ให้ควำมสนใจศึกษำและนำเสนอ
แนวคิดไว้ ซึ่งผู้เขียนได้นำมำเสนอดังต่อไปนี้
ผู้นำแบบประชำธิปไตยและเผด็จกำร ซึ่งถือหลักว่ำผู้นำจะมีหลักษณะเผด็จกำร
หรือประชำธิปไตยนั้นขึ้นอยู่กับว่ำผู้นำจะมีส่วนผสมของควำมเป็นเผด็จกำรและ
ประชำธิปไตยมำกน้อยแค่ไหน ซึ่งลักษณะผสมดังกล่ำวสำมำรถวัดได้เหมือนกับไม้บรรทัด
สำมำรถดูได้ว่ำผู้นำมีควำมเป็นประชำธิปไตยกี่เปอร์เซ็นต์และมีควำมเป็นเผด็จกำรกี่
เปอร์เซ็นต์ จึงสำมำรถแยกแยะประเภทของผู้นำของผู้นำออกออกได้หลำยประเภทขึ้นอยู่
กับรูปแบบไหนเหมำะสมกับสถำนกำรณ์ใด และจำกกำรศึกษำพบว่ำผู้นำแบบ
ประชำธิปไตยทำให้ลูกน้องเกิดควำมพึงพอใจมำกกว่ำผู้นำแบบเผด็จกำร และสรุปได้ว่ำ
ผู้นำแบบประชำธิปไตยจะทำให้องค์กำรมีประสิทธิภำพสูงสุด (พิทยำ บวรวัฒนำ, 2556)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
House, Robert J. & Mitchell, R. (1977) ได้นำเสนอทฤษฎีผู้นำแบบคำนึงเป้ำหมำย
ของคนงำน (Path Goal Theory) มองว่ำงำนหลักของผู้นำคือกำรช่วยให้ผู้ตำมเดินตำมเส้นทำง
(Path) ที่ถูกต้องในกำรที่จะบรรลุเป้ำหมำยและมีรำงวัลที่มีคุณค่ำสำหรับผู้ตำม และเฮำส์ยังเห็นว่ำ
ผู้นำแต่ละคนสำมำรถแสดงรูปแบบของผู้นำได้มำกกว่ำ 1 รูปแบบและควรปรับปรุงรูปแบบ ให้
เหมำะสมกับสถำนกำรณ์
ในปี 1996 เฮำส์เสนอรูปแบบของผู้นำเพิ่ม เป็น 8 รูปแบบได้แก่
(1) กำรทำให้เห็นหนทำงไปสู่เป้ำหมำยชัดเจน (Path-goal Clarifying)
(2) กำรมุ่งเน้นควำมสำเร็จ (Achievement Oriented)
(3) กำรช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำรทำงำน (Work Facilitation)
(4) กำรให้กำรสนับสนุน (Supportive)
(5) กำรช่วยกำรประสำนติดต่อปฏิสัมพันธ์ (Interaction Facilitation)
(6) กำรเน้นกำรตัดสินใจด้วยกลุ่ม (Group-oriented Decision Making)
(7) กำรเป็นตัวแทนและสร้ำงเครือข่ำย (Representation and Networking)
(8) กำรสร้ำงคุณค่ำ (Value Based) (พัชสิรี ชมพูคำ, 2009)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
บทบำทที่สำคัญของผู้นำองค์กำรธุรกิจคือต้องสำมำรถเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมและควำมเชื่อมั่นของผู้อื่น โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อให้ปฏิบัติตำมได้สำเร็จ หรือกำร
ส่งทอดควำมเป็นผู้นำให้กับผู้ที่มีควำมโดดเด่นที่จะเป็นผู้นำได้ต่อไป ดังนั้นผู้นำ จึงมีควำม
จำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องมุ่งมั่นพัฒนำและมีกำรประเมินศักยภำพของตัวเองอยู่ตลอดเวลำ
โดยผู้นำจะต้องมีแรงกระตุ้น จำกภำยใน มีควำมพร้อมที่จะเรียนรู้และปรับเปลี่ยน โดยมุ่ง
ไปที่กำรมีทัศนะที่กว้ำงไกล มุมมองที่สร้ำงสรรค์และมีกระบวนทัศน์ ในกำรพัฒนำองค์
ควำมรู้โดยเฉพำะทักษะใหม่ ๆ เพื่อให้ร่วมสมัยหรือทันต่อเหตุกำรณ์ในปัจจุบันหรือ
เหตุกำรณ์ที่อำจจะเกิดขึ้น หรือไม่ก็ตำมในอนำคต เฉกเข่น สถำนกำรณ์โลกภำยใต้ชื่อ
VUCA ซึ่งหมำยถึงสถำนกำรณ์ที่มีควำมผันผวน ควำมไม่แน่นอน ควำมซับซ้อนและควำม
คลุมเครือผู้นำจึงต้องมีควำมกระหำยที่จะพัฒนำศักยภำพองค์ควำมรู้ต่ำง ๆ ในแต่ละ
สถำนกำรณ์นั้น ๆ ที่อำจจะเกิดขึ้นในอนำคตต่อไป
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
ศักยภำพของผู้นำเป็นปัจจัยที่ชี้วัดถึงควำมสำเร็จขององค์กำร จะเห็นได้ว่ำผู้นำ
เป็นกลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ แต่สถำนกำรณ์ที่ไม่สำมำรถคำดกำรณ์ได้ในโลกที่อำจเกิดขึ้น
หรือไม่นั้น จะเป็นหนทำงแห่งควำมท้ำทำยศักยภำพที่แท้จริงของ แต่ละผู้นำ ถ้ำผู้นำมี
ศักยภำพอย่ำงแท้จริงก็จะสำมำรถช่วยนำพำให้องค์กำรผ่ำนพ้นวิกฤติไปได้อย่ำงมหัศจรรย์
แต่หำกผู้นำขำดทักษะหรือมุมมองใหม่ ๆ กำรปรับตัวเข้ำสู่สถำนกำรณ์ที่อำจจะเกิดขึ้น
หรือไม่นั้น ผู้นำอำจนำพำให้องค์กำรเกิดควำมเสียเปรียบ หรือหำยนะได้เช่นกัน เพื่อพลัง
อำนำจในกำรช่วยเสริมสร้ำงควำมมั่นคงและเติบโตให้กับองค์กำรได้อย่ำงยั่งยืน ผู้นำจำเป็น
ที่จะต้องเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ให้เข้ำกับกลยุทธ์และยุทธวิธีเพื่อนำไปสู่กำรปฏิบัติตำมอย่ำง
คล่องแคล่ว ภำยใต้กำรชี้ทิศทำงของผู้นำนั้น จำเป็นจะต้องมีกำรสื่อสำรที่ชัดเจน เพื่อให้ผู้
ตำมได้มีควำมรู้และควำมเข้ำใจในพันธกิจอย่ำงถ่องแท้และสำมำรถปฏิบัติตำม ทิศทำงที่
ผู้นำได้กำหนดไว้ ซึ่งกระบวนกำรเหล่ำนี้จะเป็นเครื่องพิสูจน์ศักยภำพของผู้นำที่ต้อง
เผชิญหน้ำหรือรับมือกับเหตุกำรณ์ ในสถำนกำรณ์ VUCA World ดังนั้นผู้นำจึงต้องมีควำม
พร้อมในทุก ๆ ด้ำนเพื่อจะปกป้องหรือแก้ปัญหำได้อย่ำงทันท่วงที
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
ผู้นำถือว่ำเป็นผู้กระตุ้นให้เกิดควำมเปลี่ยนแปลง ผู้นำเป็นผู้มีอิทธิพล ดังนั้นผู้นำที่
มีศักยภำพจึงต้องมีคุณสมบัติที่หลำกหลำยดังนี้คือ กำรมีควำมสำมำรถโน้มน้ำวและผลักดัน
ผู้อื่นได้และผู้นำที่จะมีอิทธิพลได้มำจำก นิสัยและตัวตนของบุคคลนั้น ควำมสัมพันธ์ที่มี
ผู้คนที่บุคคลนั้นรู้จัก ควำมรู้หรือสิ่งที่บุคคลนั้นรู้ กำรสื่อสำร วิธีที่บุคคลนั้นเชื่อมต่อกับคน
อื่น ประสบกำรณ์ สถำนที่บุคคลนั้นเคยไป ควำมสำเร็จในอดีต สิ่งที่บุคคลนั้นเคยทำ
ควำมสำมำรถ สิ่งที่บุคคลนั้นทำได้ ผู้นำต้องมีปัจจัยเหล่ำนี้ อำจแตกต่ำงกันแต่ได้ผลแบบ
เดียวกันคือ ผู้คนยอมทำตำมผู้นำ เป็นผู้รวบรวมคน ผู้นำเป็นผู้เพิ่มคุณค่ำ (โลกนี้เต็มไปด้วย
ผู้นำ ที่ผลักดันคนอื่นลงไปเพื่อยกตัวเองขึ้นมำซึ่งส่งผลกระทบต่อโลกในเชิงลบ) ผู้นำเป็นผู้
ไขว่คว้ำโอกำส ผู้นำคือคนที่เดินนำหน้ำ ไปยังดินแดนใหม่ ๆ และมีคนเดินตำม ผู้นำเป็นคน
ที่ทำงำนสำเร็จ ดังคำพูดบทกวีเก่ำแก่ของคุณวอลต์ เมสัน ได้กล่ำวไว้ว่ำ “ผู้นำเป็นคนที่
ทำงำนสำเร็จได้ตำมเป้ำหมำย” ทุกสิ่งทุกอย่ำงจะรุ่งเรืองหรือล้มเหลวได้ตำมผู้นำ
(Maxwell, 2014) ดังนั้นผู้นำ ต้องเริ่มจำกปรับทัศนคติของตัวเองให้มีควำมตื่นตัวที่อยำก
เรียนรู้เรื่องใหม่ ๆ อย่ำงสม่ำเสมอ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
Woodson (2013) ผู้ช่วยเลขำนุกำรกลำโหมด้ำนสำธำรณสุข ประเทศ
สหรัฐอเมริกำ คือ ดร.โจนำธำนวู๊ดสัน ได้กล่ำวไว้ว่ำผู้นำองค์กำรธุรกิจต้องเป็นคนที่รู้สึก
สบำย ไม่กระวนกระวำย แม้จะอยู่ในภำวะที่อึดอัด โดยได้ตั้งคำถำมว่ำเรำจะสำมำรถกิน
ช้ำงได้อย่ำงไร (กินหมดในคำเดียว) ตัวอย่ำงเช่น ผู้นำที่ต้องบริหำรงำนก็เหมือนกำรกินช้ำง
ช้ำงมันกินคำเดียวไม่หมด ต้องค่อย ๆ กิน กำรบริหำรงำนของผู้นำก็เช่นกัน ต้องค่อย ๆ
ไตร่ตรอง ต้องคอยฝึกฝน จึงจะล่วงรู้วิธีกำรและผ่ำนอุปสรรคได้ด้วย ควำมช่ำชอง จน
กลำยเป็นควำมชำนำญ คุ้นเคย ส่งผลให้ผู้นำประสบควำมสำเร็จ ในฐำนะที่เป็นผู้นำ
ยุทธศำสตร์ จะสำมำรถมองเห็นศักยภำพของผู้ที่เป็นผู้นำได้โดยจะต้องรู้จักหำทำงออกและ
แก้ปัญหำ รวมทั้งกำรพิจำรณำจำกควำมจริง ตัวแปร และทฤษฎีต่ำง ๆ เพื่อคิดหำวิธีกำร
แก้ไข ยิ่งถ้ำหำกผู้นำนั้นสำมำรถหำปัจจัยที่เล็ก ๆ หรือเฉพำะเจำะจงได้ ก็จะช่วยให้ผู้นำ
มองเห็นชัดขึ้นแล้วก็จะตัดสินใจเลือกคำตอบได้ตรงประเด็นที่สุด
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
ผู้นำต้องเรียนรู้ที่จะฟังผ่ำนเสียงของสถำนกำรณ์ VUCA World, สถำนกำรณ์
VUCA World จะทำให้อนำคตแย่ลง, สถำนกำรณ์ VUCA World นี้จะมีทั้งควำมเสี่ยงและ
โอกำส ผู้นำจำเป็นต้องเรียนรู้ทักษะใหม่เพื่อจะทำให้อนำคตดีขึ้นและต้องมีกำรพัฒนำ
ฝึกอบรมผู้บริหำรมำกขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
Situation Effects Cognition/Decision
Making
Complexity
(ควำมซับซ้อน)
Volatility
(ควำมผันผวน)
Uncertainty
(ควำมไม่แน่นอน)
Ambiguity
(ควำมคลุมเครือ)
Clearly (ควำมชัดเจน) Vision
(วิสัยทัศน์)
Understanding
(ควำมเข้ำใจ)
Agility
(ควำมคล่องแคล่วว่องไว)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
จำกตำรำงที่ 9-1 จะเห็นได้ว่ำสถำนกำรณ์คือควำมซับซ้อน ส่งผลให้เกิดควำมผัน
ผวนและควำมไม่แน่นอน นำพำให้เกิด ควำมคลุมเครือ ดังนั้นผู้นำจึงจำเป็นต้องเข้ำใจอย่ำง
ถ่องแท้ถึงสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปสู่กระบวนกำรค้นหำวิธีที่ดีที่สุด ให้กับองค์กำร
ประสบกำรณ์ใหม่นี้ถือเป็นสิ่งที่ท้ำทำยในกำรตัดสินใจหรือเลือกทำอะไรที่แตกต่ำงภำยใต้
สถำนกำรณ์ VUCA World โดยผู้นำจะสำมำรถเลือกวิธีกำรที่ดีที่สุดเพื่อกำรปกป้องวิกฤติ
ของสภำพแวดล้อมได้หรือไม่ในอนำคตนั้นขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถ ของผู้นำในกำรหยิบจับ
ข้อมูลข่ำวสำรและวิจำรณญำณในกำรวิเครำะห์และนำมำปรับใช้จริงด้วยควำมชัดเจน โดย
มีวิสัยทัศน์และควำมเข้ำใจภำยใต้กำรตัดสินใจอย่ำงมีไหวพริบด้วยควำมคล่องแคล่วว่องไว
จะเห็นได้ว่ำหำกผู้นำตระหนักถึงสภำวะกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วของโลกนี้ ผู้นำของ
องค์กำรก็จะสำมำรถวำงแผน รับมือกับสถำนกำรณ์นั้นให้ผ่ำนพ้นไปได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
ผู้นำองค์กำรจะต้องสำมำรถอธิบำยถึงกำรทำงำนที่ชัดเจน มีกำรเตรียมวิธีกำร
รับมือ เรียนรู้ที่ประยุกต์หรือปรับเปลี่ยน ควำมคิดให้ทันสมัย โดยมองไปที่ปัญหำที่จะ
เกิดขึ้นจำกหลำย ๆ ทำง และเมื่อเหตุกำรณ์นั้นเกิด ผู้นำในองค์กำรจะสำมำรถตัดสินใจ
เลือกใช้เครื่องมือที่ดีที่สุด ซึ่ง Charles Darwin (Greatest critical thinkers) กล่ำวไว้ว่ำ
“ผู้ที่เหมำะสมเท่ำนั้นถึงจะอยู่รอด” เรำกำลังพัฒนำสู่เศรษฐกิจโลกอย่ำงแท้จริงและ
องค์กำรต่ำง ๆ ต้องเผชิญกับกำรแข่งขันทั่วโลก ควำมได้เปรียบในกำรแช่งขันที่แข็งแกร่งใน
ตลำดปัจจุบันไม่เพียงพอแล้ว จึงต้องปรับเปลี่ยน ปรับตัวและพัฒนำมำกขึ้น โดยจะต้อง
ริเริ่มคิดอย่ำงจริงจัง และมีวิจำรณญำณโดยกำรตั้งคำถำมที่ถูกต้อง แต่แทนที่จะมำหำ
คำตอบนั้นควรต้องรู้จักถำมอย่ำงต่อเนื่องว่ำ จะรู้ได้อย่ำงไรว่ำ คำตอบนี้เป็นควำมจริง? มี
ข้อมูลอะไรใหม่ที่อำจมีผลต่อกำรตัดสินใจก่อนหน้ำนี้ เมื่อเรำได้รูปแบบถำมคำถำมที่ดีแล้ว
คำถำมนี้ จะเป็นพื้นฐำนใช้ชิงไหวชิงพริบในกำรแก้ปัญหำต่อไป (Gilman, 2017)
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
VUCA Prime ถูกพัฒนำขึ้นโดย Bob Johansen เป็นแนวควำมคิดที่ใช้รับมือกับภำวะ VUCA
Volatility ควำมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำสำมำรถตอบโต้ด้วย Vision คือกำรมีวิสัยทัศน์ ผู้นำที่มี
วิสัยทัศน์ชัดเจนจะสำมำรถมองทิศทำงขององค์กำรในอีก 3 ถึง 5 ปีข้ำงหน้ำและสำมำรถรับมือกับควำม
เปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ
Uncertainty คือควำมไม่แน่นอนสำมำรถรับมือได้ด้วย Understanding คือควำมเข้ำใจคือ
ทักษะในกำรหยุดคิด มอง และรับฟังสิ่งต่ำง ๆ ผู้นำที่ดีจะสำมำรถสื่อสำรกับพนักงำนทุกระดับในองค์กำร
สำมำรถพัฒนำและสำธิตทักษะกำรทำงำน ร่วมกันได้
Complexity คือควำมซับซ้อนสำมำรถจัดกำรได้ด้วย Clarity คือควำมชัดเจน หมำยถึงกำรมี
กระบวนกำรคิด อย่ำงรอบคอบในกำรจัดกำรกับปัญหำควำมยุ่งยำกต่ำง ๆ ดังนั้นผู้นำในโลก VUCA
จะต้องจัดกำรปัญหำเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับปัญหำหลักได้อย่ำงรวดเร็วและชัดเจน ทั้งนี้ในกำรตัดสินใจต่ำง
ๆ นั้นก็ควรจะมีแจ้งให้รับทรำบอย่ำงทั่วถึง
Ambiguity คือควำมคลุมเครือสำมำรถจัดกำรด้วย Agility คือควำมคล่องแคล่วว่องไวในกำร
สื่อสำรระหว่ำงองค์กำร และนำแนวทำงกำรแก้ปัญหำต่ำง ๆ ไปใช้อย่ำงรวดเร็ว ทั้ง 4 บริบทนี้เป็น
องค์ประกอบที่เชื่อมโยงกันซึ่งสำมำรถทำให้ผู้นำองค์กำรธุรกิจสำมำรถที่จะเป็นผู้นำในสถำนกำรณ์ VUCA
World ที่แข็งแกร่งได้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
Horney, Pasmore & O’shea, (2010) ได้กล่ำวว่ำ ผู้นำที่จะประสบควำมสำเร็จ
นั้น ต้องสร้ำงควำมเปลี่ยนแปลงอย่ำงต่อเนื่อง ทั้งในผู้คน กระบวนกำร เทคโนโลยี และ
โครงสร้ำง ซึ่งกำรจะทำเช่นนี้ได้ต้องอำศัยควำมยืดหยุ่นและไหวพริบในกำรตัดสินใจ
ในขณะที่กลุ่ม Boston Consulting Group (BCG) สรุปว่ำ องค์กำรในทุกวันนี้ต้อง
สำมำรถปรับตัวกับภำพกำรณ์ต่ำง ๆ ได้จึงจะสำมำรถสร้ำงควำมได้เปรียบ และยังมีรำยงำน
จำกศูนย์ Center for Creative Leadership ระบุว่ำ สภำพแวดล้อมทำงธุรกิจแบบ
VUCA ต้องกำรผู้นำที่มีทักษะกำรคิดที่ปรับตัวกับสภำพต่ำง ๆ และซับซ้อนมำกขึ้น กำร
บริหำรทรัพยำกรบุคคลจึงจำเป็นต้องพัฒนำผู้นำที่มีปฏิภำณไหวพริบรวดเร็ว (Kinsinger &
Walch, 2012) นอกจำกนี้ผู้นำยังต้องพัฒนำศักยภำพ โดยทำควำมเข้ำใจและพร้อมที่จะตั้ง
รับในสถำนกำรณ์ VUCA ดังต่อไปนี้
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
1. เมื่อเกิดกำรเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงรวดเร็วมำก ผู้นำองค์กำรธุรกิจจะต้องรีบปรับ
กระบวนกำรคิดใหม่ทำให้เป้ำหมำยเป็นหลัก ทั้งนี้ยังต้องพิจำรณำปรับยุทธวิธีแบบใหม่
เพื่อให้เท่ำทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง
2. เมื่อเกิดควำมไม่แน่นอนจำกสภำพแวดล้อมภำยนอกและภำยในที่มีอยู่รอบตัว
ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ กำรเมือง ภัยพิบัติ กำรล้ำหน้ำทำงเทคโนโลยี ผู้นำจำเป็นที่จะต้องใช้
สัญชำติญำณเฉพำะตัวและมีไหวพริบในกำรตัดสินใจอย่ำงฉับไวและทันท่วงที
3. เมื่อเกิดควำมซับซ้อน มีเงื่อนงำ สับสน วุ่นวำย ยุ่งเหยิง ผู้นำจำเป็นที่จะต้องมี
ข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อจะนำไปวิเครำะห์ได้อย่ำงละเอียดและแม่นยำ โดยต้องใช้วิจำรณญำณ
นอย่ำงรอบคอบและถี่ถ้วน
4. ควำมคลุมเครือ ไม่ชัดเจน กำกวม ผู้นำจะต้องใช้ดุลยพินิจมองทุกอย่ำงให้ทะลุ
กระจ่ำงแจ้ง โดยต้องเลือกข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ประกอบในกำรตัดสินใจได้อย่ำง
เหมำะสมและนำไปกำหนดใช้อย่ำงชัดเจน
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
ควำมหมำยของกำรยอมรับ
Rogers (1983, อ้ำงถึงใน ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์, 2546) ได้ให้คำนิยำมไว้ว่ำ
กำรยอมรับนวัตกรรมหมำยถึงกำรตัดสินใจที่จะนำนวัตกรรมนั้นไปใช้อย่ำงเต็มที่เพรำะ
นวัตกรรมนั้นเป็นวิถีทำงที่ดีกว่ำ และมีประโยชน์มำกกว่ำ กำรยอมรับของบุคคลเกิดขึ้นเป็น
กระบวนกำร เริ่มตั้งแต่บุคคลได้สัมผัสนวัตกรรม ถูกชักจูงให้ยอมรับนวัตกรรมตัดสินใจ
ยอมรับ หรือปฏิเสธปฏิบัติตำมกำรตัดสินใจและยืนยันกำรปฏิบัตินั้น กระบวนกำรนี้อำจจะ
ใช้เวลำช้ำหรือเร็วขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญคือตัวบุคคลและลักษณะของนวัตกรรม
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
1. คุณลักษณะประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ (Relative Advantage) คือ กำร
รับรู้ว่ำนวัตกรรมดีกว่ำมีประโยชน์กว่ำวิธีกำรปฏิบัติเดิม ๆ เช่น สะดวกกว่ำ รวดเร็วกว่ำ มี
ผลตอบแทนที่ดีกว่ำอื่น ๆ เป็นต้น ในส่วนที่ดีกว่ำ ถ้ำเห็นว่ำมีประโยชน์มำกกว่ำเสีย
ประโยชน์ก็จะทำให้กำรยอมรับ นวัตกรรมมีแนวโน้มในกำรยอมรับมำกขึ้น
2. คุณลักษณะที่เข้ำกันได้ (Compatibility) คือ กำรที่ผู้รับนวัตกรรมรู้สึกหรือ
คิดว่ำเข้ำกันได้หรือไปด้วยกันได้กับค่ำนิยมที่เป็นอยู่เดิม ถ้ำนวัตกรรมใดมีลักษณะ
สอดคล้องกับควำมคิดเดิม ๆ ก็จะทำให้กำรยอมรับมีแนวโน้มสูงขึ้น จำกประสบกำรณ์ใน
อดีตตลอดจนควำมต้องกำรของผู้รับ ควำมคิดใหม่ ๆ กำรเข้ำกันได้ของนวัตกรรมกับสิ่งต่ำง
ๆ ทำให้ผู้ยอมรับรู้สึกมั่นใจและไม่ต้องเสี่ยงภัยมำก ทำให้เกิดควำมรู้สึกที่มีควำมหมำยมำก
ขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
3. คุณลักษณะควำมยุ่งยำกซับซ้อน (Complexity) ถ้ำนวัตกรรมที่นำมำใช้มี
ควำมยุ่งยำก สลับซับซ้อนมำก กำรยอมรับก็จะน้อยลงโดยเฉพำะถ้ำบุคลำกรที่นำ
นวัตกรรมเหล่ำนั้นมำใช้มีควำมยุ่งยำกก็ยิ่งทำให้เกิดกำรต่อต้ำน ดังนั้นกำรนำนวัตกรรมมำ
ใช้จึงมีควำมสัมพันธ์ในทำงตรงกันข้ำมกับกำรยอมรับ ถ้ำนวัตกรรมมีควำมซับซ้อนมำก
อัตรำกำรยอมรับจะลดลง แต่ถ้ำนวัตกรรมมีควำมซับซ้อนน้อย อัตรำกำรยอมรับก็จะ
เพิ่มขึ้น
4. คุณลักษณะสำมำรถทดลองใช้ได้ (Trialability) โดยกำรนำเอำนวัตกรรม
ส่วนย่อย ๆ ไปทดลองใช้โดยใช้ระยะเวลำไม่มำกนัก ซึ่งอำจจะแบ่งเป็นส่วนเล็ก เมื่อนำไป
ทดลองและประสบควำมสำเร็จตำมที่ต้องกำรก็จะทำให้เกิดกำรยอมรับมำกขึ้นในนวัตกรรม
นั้น ๆ
5. คุณลักษณะสำมำรถสังเกตได้ (Observability) คือ ผลของนวัตกรรมเป็นสิ่ง
ที่ มองเห็นได้หมำยควำมว่ำ ถ้ำนวัตกรรมทำให้เกิดกำรมองเห็นได้ก็จะทำให้กำรยอมรับมี
น้ำหนักมำก ขึ้น ซึ่งอำจมองไปถึงด้ำนรูปธรรม ถ้ำสำมำรถทำให้เป็นรูปธรรมได้ก็จะเป็นสิ่ง
ที่ทำให้เกิด กำรยอมรับมำกขึ้นกว่ำที่เป็นนำมธรรมหรือเป็นแค่จินตนำกำร
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
ขั้นที่ 1 ขั้นควำมรู้ (knowledge) กระบวนกำรตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรมเริ่มต้น เมื่อ
บุคคลได้สัมผัสนวัตกรรม และเริ่มศึกษำหำข้อมูลเพื่อทำควำมเข้ำใจถึงหน้ำที่ของนวัตกรรมนั้น
ควำมรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมที่บุคคลได้รับในขั้นนี้สำมำรถแบ่งได้เป็น 3 ด้ำน ดังนี้
ด้ำนที่ 1 ควำมรู้จักนวัตกรรม (awareness knowledge) เป็นควำมรู้ที่ทำให้เกิดกำร
ตื่นตัว เกี่ยวกับนวัตกรรม เป็นควำมรู้ที่รู้ว่ำมีนวัตกรรมเกิดขึ้นแล้ว และนวัตกรรมนั้นสำมำรถทำ
หน้ำที่ อะไรได้บ้ำง
ด้ำนที่ 2 ควำมรู้วิธีกำรใช้นวัตกรรม (how-to knowledge) ควำมรู้ประเภทนี้ได้จำก
กำร ติดต่อสื่อสำรกับสื่อมวลชน กำรติดต่อกับหน่วยงำนรำชกำรที่ทำกำรเผยแพร่นวัตกรรม หรือ
เข้ำร่วม ประชุม ควำมรู้ประเภทนี้จะช่วยให้ใชันวัตกรรมได้อย่ำงถูกต้อง นวัตกรรมยิ่งมีควำมซับ
ช้อนมำก ขึ้นเท่ำใด ควำมจำเป็นที่ต้องมีควำมรู้นั้นก็ยิ่งมำกขึ้นเท่ำนั้น กำรขำดควำมรู้ด้ำนนี้จะทำ
ให้เกิดกำรปฏิเสธนวัตกรรมได้มำก
ด้ำนที่ 3 ควำมรู้เกี่ยวกับหลักกำรของนวัตกรรม (principles knowledge) ควำมรู้
ประเภทนี้ เป็นควำมรู้ถึงเกณฑ์เบื้องหลังของนวัตกรรม ซึ่งจะช่วยให้นวัตกรรมบรรลุผล
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
ขั้นที่ 2 ขั้นกำรจูงใจ (persuasion) ในขั้นนี้บุคคลจะสร้ำงทัศนคติชอบหรือไม่
ชอบนวัตกรรม กิจกรรมในสมองของบุคคลในขั้นควำมรู้ เป็นเรื่องของควำมคิด หรือกำรรู้
ส่วนกิจกรรม ในสมองในขั้นกำรจูงใจเป็นเรื่องของอำรมณ์ หรือควำมรู้สึก โดยบุคคลจะมี
พฤติกรรมสำคัญ คือ แสวงหำข่ำวสำรข้อมูล ข้อมูลที่ได้รับมำเกี่ยวกับนวัตกรรมนั้นว่ำ
เหมำะสมกับตัวเขำทั้งในสภำพปัจจุบัน และในอนำคตหรือไม่อย่ำงไร บุคคลจะมีกำร
พัฒนำแนวคิดเชิงประเมินเกี่ยวกับนวัตกรรม นั้น ซึ่งเป็นกำรพิจำรณำคุณค่ำของนวัตกรรม
ว่ำ เมื่อรับนวัตกรรมมำใช้จะมีผลติดตำมมำในด้ำนใด มีประโยชน์ต่อตัวเขำมำกน้อย
เพียงใด ถ้ำมีประโยชน์มำกจะมีควำมรู้สึกทำงบวก แต่ถ้ำคิดว่ำไม่มีประโยชน์ หรือมี
ประโยชน์น้อยต่อตัวเขำ จะพัฒนำควำมคิดทำงลบ
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
ขั้นที่ 3 ขั้นกำรตัดสินใจ (decision) ในขั้นนี้บุคคลกระทำกิจกรรมซึ่งนำไปสู่
กำรเลือกที่จะยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม กำรจะตัดสินใจยอมรับหรือไม่ยอมรับ
นวัตกรรมนั้นขึ้นอยู่กับ 2 ขั้นตอนที่ผ่ำนมำด้วย ถ้ำบุคคลมีควำมรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม มี
ควำมรู้สึกชอบ และเห็นประโยชน์ของนวัตกรรมนั้น บุคคลก็มีแนวโน้มที่จะตัดสินใจยอมรับ
นวัตกรรมนั้น นอกจำกนี้กำรตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรมยังขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของนวัตกรรม ถ้ำนวัตกรรมนั้นสำมำรถแยกส่วนย่อย ๆ ได้ ให้มีกำรทดลองใช้ได้
บุคคลจะมีแนวโน้มที่จะตัดสินใจยอมรับนวัตกรรมนั้น ในขั้นนี้มีควำมสำคัญมำก กำรที่
บุคคลจะเลือกทำงใดเป็นผลมำจำกขั้นควำมรู้และขั้นกำรจูงใจ และกำรพิจำรณำลักษณะ
นวัตกรรมว่ำสอดคล้องกับฐำนะทำงเศรษฐกิจ สถำนภำพทำงสังคม และขนบธรรมเนียม
ประเพณี
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
ขั้นที่ 4 ขั้นกำรนำไปใช้ (implementation) กระบวนกำรตัดสินใจยอมรับ
นวัตกรรมในขั้นต้น ๆ เป็นเรื่องของควำมรู้ ควำมคิด แต่ในขั้นนี้เป็นขั้นของกำรปฏิบัติ เมื่อ
บุคคลตัดสินใจยอมรับ นวัตกรรมไปใช้ เขำจะต้องรู้ว่ำจะสำมำรถหำนวัตกรรมนั้นมำจำก
ไหน นำไปใช้อย่ำงไร และเมื่อนำไปใช้จะเกิดปัญหำอย่ำงไร และสำมำรถแก้ปัญหำได้
อย่ำงไร บุคคลจึงพยำยำมแสวงหำสิ่งต่ำง ๆ เกี่ยวกับนวัตกรรม ดังนั้น ผู้นำกำร
เปลี่ยนแปลง และวิธีกำรสื่อสำรจึงมีบทบำทที่จะช่วยบุคคลให้ได้รับสิ่งที่เขำต้องกำร ในขั้น
นี้รวมถึงขั้นดัดแปลงแก้ไขด้วย กำรใช้นี้จะดำเนินไปเรื่อย ๆ ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของ
นวัตกรรมนั้น ซึ่งอำจไปถึงกำรที่นวัตกรรมใหม่นี้ได้เข้ำไปเป็นส่วนหนึ่งของสถำบันนั้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
ขั้นที่ 5 ขั้นกำรยืนยัน (confirmation) ขั้นตอนนี้เกิดขึ้นเป็นขั้นสุดท้ำยของ
กระบวนกำรตัดสินใจยอมรับนวัตกรรมในบุคคลส่วนใหญ่ กล่ำวคือ เมื่อบุคคลได้ตัดสินใจที่
จะยอมรับหรือไม่ยอมรับไปแล้ว บุคคลจะแสวงหำข้อมูลข่ำวสำร แรงเสริม เพื่อสนับสนุน
กำรตัดสินใจของแต่ละบุคคล เมื่อยอมรับนวัตกรรมแล้ว เขำจะพยำยำมศึกษำหำควำมรู้
เพิ่มเดิมให้เกิดควำมมั่นใจ กำรรับข่ำวสำรข้อมูล กำรได้รับคำแนะนำและได้เห็น
ควำมสำเร็จของกำรใชันวัตกรรม จะมีอิทธิพลต่อกำรยืนยันมำกขึ้น
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
1. จงอธิบำยภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง
2. ผู้นำองค์กำรธุรกิจในสถำนกำรณ์โลกแบบ VUCA ต้องเป็นอย่ำงไร
3. แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำมีอะไรบ้ำง
4. ผู้นำองค์กำรธุรกิจมีวิธีกำรอย่ำงไรในกำรปรับตัว
5. ให้นักศึกษำวิเครำะห์สถำนกำรณ์ VUCA World ที่เกิดขึ้น
6. ศักยภำพที่จำเป็นของผู้นำองค์กำรธุรกิจในสถำนกำรณ์ VUCA World คืออะไร
7. นวัตกรรมที่ยอมรับได้ง่ำยควรมีลักษณะอย่ำงไร
8. กระบวนกำรตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรม (A model of the innovation decision
process) ประกอบด้วยกี่ขั้นตอนอะไรบ้ำง
ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29

More Related Content

What's hot

การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)Alongkorn WP
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingTeetut Tresirichod
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การwanna2728
 

What's hot (20)

การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
System management
System managementSystem management
System management
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการบทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
บทที่ 8 วิเิคราะห์กระบวนการ
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
Chapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinkingChapter 9 environment for design thinking
Chapter 9 environment for design thinking
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
Process management
Process managementProcess management
Process management
 

Chapter 9 business organization leadership and change management

  • 2. เมื่อนักศึกษำได้ศึกษำบทนี้แล้วสำมำรถ 9.1 อธิบำยภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง 9.2 อธิบำยผู้นำองค์กำรธุรกิจในสถำนกำรณ์โลกแบบ VUCA 9.3 อธิบำยผู้นำองค์กำรธุรกิจกับกำรตัดสินใจด้ำนนวัตกรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
  • 3. ร็อบบินส์และโคลเตอร์ (Robbins & Coulter, 2008) ให้ควำมหมำยของ ผู้นำ (Leader) ไว้ว่ำ ผู้นำหมำยถึงผู้ที่มีควำมสำมำรถหรือศิลปในกำรจูงใจให้ผู้อื่นคิดตำมหรือ ปฏิบัติตำม และภำวะผู้นำ (Leadership) คือ สิ่งที่ผู้นำกระทำ ซึ่งก็คือ กระบวนกำรจูงใจ ให้กลุ่มหรือองค์กำรปฏิบัติตำมเพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยของกลุ่มหรือขององค์กำร อุดม ทุมโฆษิต (2544) สรุปควำมหมำยของผู้นำไว้ว่ำ ภำวะผู้นำ หมำยถึง กระบวนกำรใช้อำนำจและอิทธิพลของผู้นำต่อผู้ตำมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กำร พัชสิรี ชมภูคำ (2552) สรุปควำมหมำยของภำวะผู้นำไว้ว่ำ หมำยถึง กระบวนกำร ของผู้นำ ซึ่งมีอิทธิพลที่สำมำรถโน้มน้ำว สร้ำงแรงบันดำลใจ จูงใจ ให้คนอื่นทำตำม เพื่อ บรรลุตำมเป้ำหมำยขององค์กำร สรุปได้ว่ำ ภำวะผู้นำ คือ กระบวนกำรจูงใจโดยต้องมีศิลป ในกำรโน้มน้ำว ให้ ผู้ใต้บังคับบัญชำหรือกลุ่มในองค์กำรทำตำมเพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยขององค์กำร ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำ มักจะศึกษำใน 3 กลุ่มทฤษฎี ดังนี้ กำรศึกษำเกี่ยวกับภำวะผู้นำนั้น มักสนใจศึกษำอยู่ 3 กลุ่มทฤษฎีด้วยกันคือ 1) ทฤษฎีเชิงคุณลักษณะผู้นำ (Trait Theory) เป็นแนวคิดที่แสวงหำลักษณะ ต่ำง ๆ ของกลุ่มคนที่เป็นผู้นำ ว่ำมีประกำรใดบ้ำงที่เป็นลักษณะเฉพำะของคนที่เป็นผู้นำที่มี เหมือนกัน บำงคนเกิดมำเป็นผู้นำโดยสำยเลือด กำรเป็นผู้นำเป็นเรื่องที่สร้ำงขึ้นมำไม่ได้ ในทำงปฏิบัติปรำกฎว่ำกำรศึกษำตำมแนวนี้มีปัญหำ เพรำะผู้นำแต่ละคนนั้นบำงครั้งมี ลักษณะที่แตกต่ำงกันมำกและกำรศึกษำไม่คำนึงถึงอิทธิพลของปัจจัยสถำนกำรณ์ นอกจำกนี้ควำมเป็นผู้นำเป็นเรื่องของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคน คือ ต้องมีกลุ่มผู้ตำมด้วย ดังนั้นกล่ำวได้ว่ำลักษณะของคนที่มักพบอยู่ในตัวผู้นำ ได้แก่ ควำมฉลำด กำรชอบครอบงำ ผู้อื่น ควำมมั่นใจในตัวเอง กำรมีพลังสูง และกำรมีควำมรู้อย่ำงดีเกี่ยวกับงำนที่ทำ (พิทยำ บวรวัฒนำ, 2556) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. ในขณะที่ ร็อบบินส์ (Robbins, 2005) ร็อบบินส์และโคลเตอร์ (Robbins & Coulter, 2008) กล่ำวว่ำคุณลักษณะพื้นฐำนของผู้นำที่มีประสิทธิภำพนั้นประกอบด้วย ดังนี้คือ มีควำมเฉลียวฉลำด มีควำมปรำรถนำที่จะนำผู้อื่น มีควำมรอบรู้ในงำน มีควำม เชื่อมั่นในตัวเองสูง มีควำมซื่อสัตย์สุจริตและซื่อตรง และอื่น ๆ ผู้นำจะมีคุณลักษณะ บำงอย่ำงที่พิเศษโดดเด่นกว่ำผู้ตำม และต้องสำมำรถเลือกใช้คุณลักษณะต่ำง ๆให้ถูก กำลเทศะ หรือเหมำะสมกับสถำนกำรณ์ด้วย นอกจำกนี้คุณลักษณะยังเป็นตัวกำหนดควำม แตกต่ำงระหว่ำงผู้นำกับผู้ที่มิได้เป็นผู้นำ คุณลักษณะดังกล่ำวได้แก่ ขนำดของร่ำงกำย บุคลิกภำพ ระดับชั้นทำงสังคม ควำมมั่นคงทำงอำรมณ์ ควำมสำมำรถในกำรพูด และ ควำมสำมำรถทำงสังคม เป็นต้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 6. 2) ทฤษฎีเชิงพฤติกรรมของผู้นำ (Behavioral Theory) เป็นแนวควำมคิดที่ แสวงหำพฤติกรรมที่คล้ำยกันของผู้นำทั้งหลำย เพื่อที่จะนำไปใช้ศึกษำและเป็นแนวทำงใน กำรจัดโครงกำรฝึกอบรมผู้นำ ซึ่งจำกกำรศึกษำของนักวิชำกำรที่มหำวิทยำลัย Ohio State ได้ค้นพบว่ำพฤติกรรมของผู้นำมีอยู่ 2 แบบได้แก่ แบบแรก คือพฤติกรรมที่มุ่งไปสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรทำงำน หมำยถึง พฤติกรรมที่มุ่งปรับปรุงระบบกำรทำงำน จัดให้คนงำนทำงำนอย่ำงมีมำตรฐำนตำม กำหนดเวลำที่วำงไว้ แบบที่สอง ได้แก่พฤติกรรมที่มุ่งสู่ควำมสัมพันธ์ที่ดีในกำรทำงำน ซึ่งเป็นเรื่อง เกี่ยวกับกำรสร้ำงควำมเชื่อใจซึ่งกันและกัน กำรเคำรพควำมคิดของลูกน้อง และกำร คำนึงถึงควำมรู้สึกของลูกน้อง ผู้นำประเภทนี้จะเป็นผู้ที่ช่วยเหลือลูกน้อง มีควำมเป็น กันเอง และถือว่ำลูกน้องมีควำมเท่ำเทียมกับตน โดยสรุปแล้ว ผู้นำที่มีลักษณะเป็นแบบแรกและแบบที่สองอย่ำงสูง ทั้งสองแบบจะ เป็นผู้นำที่ให้เกิดผลดีต่อองค์กำร (พิทยำ บวรวัฒนำ, 2556) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
  • 7. จำกกำรศึกษำของมหำวิทยำลัยมิชิแกน ที่ศึกษำเพื่อหำพฤติกรรมของผู้นำซึ่ง เกี่ยวข้องกับประสิทธิผลในกำรดำเนินงำน ซึ่งได้ข้อสรุปเกี่ยวกับพฤติกรรมของภำวะผู้นำไว้ 2 มิติ คือ แบบแรก คือ ผู้นำที่มุ่งพนักงำน (Employee Oriented) คือผู้นำที่มุ่งเน้น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล ให้ควำมสนใจเกี่ยวกับบุคคล ได้แก่ ควำมต้องกำรของ ผู้ใต้บังคับบัญชำ และกำรยอมรับควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล แบบที่สอง คือ ผู้นำที่มุ่งกำรผลิต (Productivity Oriented) คือผู้นำที่มุ่ง บรรลุผลด้ำนเทคนิคหรือรำยละเอียดของกำรทำงำนเป็นสำคัญ (Robbins, 2005) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. 3) ทฤษฎีผู้นำเชิงสถำนกำรณ์ (Contingency Theory) ซึ่งแนวคิดทฤษฎีกลุ่ม นี้ให้ควำมสำคัญกับปัจจัยสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เป็นปัจจัยสำคัญในกำรกำหนดควำมสำเร็จ ของผู้นำต่ำง ๆในองค์กำร ซึ่งมีนักวิชำกำรหลำยคนที่ให้ควำมสนใจศึกษำและนำเสนอ แนวคิดไว้ ซึ่งผู้เขียนได้นำมำเสนอดังต่อไปนี้ ผู้นำแบบประชำธิปไตยและเผด็จกำร ซึ่งถือหลักว่ำผู้นำจะมีหลักษณะเผด็จกำร หรือประชำธิปไตยนั้นขึ้นอยู่กับว่ำผู้นำจะมีส่วนผสมของควำมเป็นเผด็จกำรและ ประชำธิปไตยมำกน้อยแค่ไหน ซึ่งลักษณะผสมดังกล่ำวสำมำรถวัดได้เหมือนกับไม้บรรทัด สำมำรถดูได้ว่ำผู้นำมีควำมเป็นประชำธิปไตยกี่เปอร์เซ็นต์และมีควำมเป็นเผด็จกำรกี่ เปอร์เซ็นต์ จึงสำมำรถแยกแยะประเภทของผู้นำของผู้นำออกออกได้หลำยประเภทขึ้นอยู่ กับรูปแบบไหนเหมำะสมกับสถำนกำรณ์ใด และจำกกำรศึกษำพบว่ำผู้นำแบบ ประชำธิปไตยทำให้ลูกน้องเกิดควำมพึงพอใจมำกกว่ำผู้นำแบบเผด็จกำร และสรุปได้ว่ำ ผู้นำแบบประชำธิปไตยจะทำให้องค์กำรมีประสิทธิภำพสูงสุด (พิทยำ บวรวัฒนำ, 2556) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 9. House, Robert J. & Mitchell, R. (1977) ได้นำเสนอทฤษฎีผู้นำแบบคำนึงเป้ำหมำย ของคนงำน (Path Goal Theory) มองว่ำงำนหลักของผู้นำคือกำรช่วยให้ผู้ตำมเดินตำมเส้นทำง (Path) ที่ถูกต้องในกำรที่จะบรรลุเป้ำหมำยและมีรำงวัลที่มีคุณค่ำสำหรับผู้ตำม และเฮำส์ยังเห็นว่ำ ผู้นำแต่ละคนสำมำรถแสดงรูปแบบของผู้นำได้มำกกว่ำ 1 รูปแบบและควรปรับปรุงรูปแบบ ให้ เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ ในปี 1996 เฮำส์เสนอรูปแบบของผู้นำเพิ่ม เป็น 8 รูปแบบได้แก่ (1) กำรทำให้เห็นหนทำงไปสู่เป้ำหมำยชัดเจน (Path-goal Clarifying) (2) กำรมุ่งเน้นควำมสำเร็จ (Achievement Oriented) (3) กำรช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำรทำงำน (Work Facilitation) (4) กำรให้กำรสนับสนุน (Supportive) (5) กำรช่วยกำรประสำนติดต่อปฏิสัมพันธ์ (Interaction Facilitation) (6) กำรเน้นกำรตัดสินใจด้วยกลุ่ม (Group-oriented Decision Making) (7) กำรเป็นตัวแทนและสร้ำงเครือข่ำย (Representation and Networking) (8) กำรสร้ำงคุณค่ำ (Value Based) (พัชสิรี ชมพูคำ, 2009) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
  • 10. บทบำทที่สำคัญของผู้นำองค์กำรธุรกิจคือต้องสำมำรถเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมและควำมเชื่อมั่นของผู้อื่น โดยมีจุดมุ่งหมำยเพื่อให้ปฏิบัติตำมได้สำเร็จ หรือกำร ส่งทอดควำมเป็นผู้นำให้กับผู้ที่มีควำมโดดเด่นที่จะเป็นผู้นำได้ต่อไป ดังนั้นผู้นำ จึงมีควำม จำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องมุ่งมั่นพัฒนำและมีกำรประเมินศักยภำพของตัวเองอยู่ตลอดเวลำ โดยผู้นำจะต้องมีแรงกระตุ้น จำกภำยใน มีควำมพร้อมที่จะเรียนรู้และปรับเปลี่ยน โดยมุ่ง ไปที่กำรมีทัศนะที่กว้ำงไกล มุมมองที่สร้ำงสรรค์และมีกระบวนทัศน์ ในกำรพัฒนำองค์ ควำมรู้โดยเฉพำะทักษะใหม่ ๆ เพื่อให้ร่วมสมัยหรือทันต่อเหตุกำรณ์ในปัจจุบันหรือ เหตุกำรณ์ที่อำจจะเกิดขึ้น หรือไม่ก็ตำมในอนำคต เฉกเข่น สถำนกำรณ์โลกภำยใต้ชื่อ VUCA ซึ่งหมำยถึงสถำนกำรณ์ที่มีควำมผันผวน ควำมไม่แน่นอน ควำมซับซ้อนและควำม คลุมเครือผู้นำจึงต้องมีควำมกระหำยที่จะพัฒนำศักยภำพองค์ควำมรู้ต่ำง ๆ ในแต่ละ สถำนกำรณ์นั้น ๆ ที่อำจจะเกิดขึ้นในอนำคตต่อไป ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
  • 11. ศักยภำพของผู้นำเป็นปัจจัยที่ชี้วัดถึงควำมสำเร็จขององค์กำร จะเห็นได้ว่ำผู้นำ เป็นกลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ แต่สถำนกำรณ์ที่ไม่สำมำรถคำดกำรณ์ได้ในโลกที่อำจเกิดขึ้น หรือไม่นั้น จะเป็นหนทำงแห่งควำมท้ำทำยศักยภำพที่แท้จริงของ แต่ละผู้นำ ถ้ำผู้นำมี ศักยภำพอย่ำงแท้จริงก็จะสำมำรถช่วยนำพำให้องค์กำรผ่ำนพ้นวิกฤติไปได้อย่ำงมหัศจรรย์ แต่หำกผู้นำขำดทักษะหรือมุมมองใหม่ ๆ กำรปรับตัวเข้ำสู่สถำนกำรณ์ที่อำจจะเกิดขึ้น หรือไม่นั้น ผู้นำอำจนำพำให้องค์กำรเกิดควำมเสียเปรียบ หรือหำยนะได้เช่นกัน เพื่อพลัง อำนำจในกำรช่วยเสริมสร้ำงควำมมั่นคงและเติบโตให้กับองค์กำรได้อย่ำงยั่งยืน ผู้นำจำเป็น ที่จะต้องเชื่อมโยงวิสัยทัศน์ให้เข้ำกับกลยุทธ์และยุทธวิธีเพื่อนำไปสู่กำรปฏิบัติตำมอย่ำง คล่องแคล่ว ภำยใต้กำรชี้ทิศทำงของผู้นำนั้น จำเป็นจะต้องมีกำรสื่อสำรที่ชัดเจน เพื่อให้ผู้ ตำมได้มีควำมรู้และควำมเข้ำใจในพันธกิจอย่ำงถ่องแท้และสำมำรถปฏิบัติตำม ทิศทำงที่ ผู้นำได้กำหนดไว้ ซึ่งกระบวนกำรเหล่ำนี้จะเป็นเครื่องพิสูจน์ศักยภำพของผู้นำที่ต้อง เผชิญหน้ำหรือรับมือกับเหตุกำรณ์ ในสถำนกำรณ์ VUCA World ดังนั้นผู้นำจึงต้องมีควำม พร้อมในทุก ๆ ด้ำนเพื่อจะปกป้องหรือแก้ปัญหำได้อย่ำงทันท่วงที ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
  • 12. ผู้นำถือว่ำเป็นผู้กระตุ้นให้เกิดควำมเปลี่ยนแปลง ผู้นำเป็นผู้มีอิทธิพล ดังนั้นผู้นำที่ มีศักยภำพจึงต้องมีคุณสมบัติที่หลำกหลำยดังนี้คือ กำรมีควำมสำมำรถโน้มน้ำวและผลักดัน ผู้อื่นได้และผู้นำที่จะมีอิทธิพลได้มำจำก นิสัยและตัวตนของบุคคลนั้น ควำมสัมพันธ์ที่มี ผู้คนที่บุคคลนั้นรู้จัก ควำมรู้หรือสิ่งที่บุคคลนั้นรู้ กำรสื่อสำร วิธีที่บุคคลนั้นเชื่อมต่อกับคน อื่น ประสบกำรณ์ สถำนที่บุคคลนั้นเคยไป ควำมสำเร็จในอดีต สิ่งที่บุคคลนั้นเคยทำ ควำมสำมำรถ สิ่งที่บุคคลนั้นทำได้ ผู้นำต้องมีปัจจัยเหล่ำนี้ อำจแตกต่ำงกันแต่ได้ผลแบบ เดียวกันคือ ผู้คนยอมทำตำมผู้นำ เป็นผู้รวบรวมคน ผู้นำเป็นผู้เพิ่มคุณค่ำ (โลกนี้เต็มไปด้วย ผู้นำ ที่ผลักดันคนอื่นลงไปเพื่อยกตัวเองขึ้นมำซึ่งส่งผลกระทบต่อโลกในเชิงลบ) ผู้นำเป็นผู้ ไขว่คว้ำโอกำส ผู้นำคือคนที่เดินนำหน้ำ ไปยังดินแดนใหม่ ๆ และมีคนเดินตำม ผู้นำเป็นคน ที่ทำงำนสำเร็จ ดังคำพูดบทกวีเก่ำแก่ของคุณวอลต์ เมสัน ได้กล่ำวไว้ว่ำ “ผู้นำเป็นคนที่ ทำงำนสำเร็จได้ตำมเป้ำหมำย” ทุกสิ่งทุกอย่ำงจะรุ่งเรืองหรือล้มเหลวได้ตำมผู้นำ (Maxwell, 2014) ดังนั้นผู้นำ ต้องเริ่มจำกปรับทัศนคติของตัวเองให้มีควำมตื่นตัวที่อยำก เรียนรู้เรื่องใหม่ ๆ อย่ำงสม่ำเสมอ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. Woodson (2013) ผู้ช่วยเลขำนุกำรกลำโหมด้ำนสำธำรณสุข ประเทศ สหรัฐอเมริกำ คือ ดร.โจนำธำนวู๊ดสัน ได้กล่ำวไว้ว่ำผู้นำองค์กำรธุรกิจต้องเป็นคนที่รู้สึก สบำย ไม่กระวนกระวำย แม้จะอยู่ในภำวะที่อึดอัด โดยได้ตั้งคำถำมว่ำเรำจะสำมำรถกิน ช้ำงได้อย่ำงไร (กินหมดในคำเดียว) ตัวอย่ำงเช่น ผู้นำที่ต้องบริหำรงำนก็เหมือนกำรกินช้ำง ช้ำงมันกินคำเดียวไม่หมด ต้องค่อย ๆ กิน กำรบริหำรงำนของผู้นำก็เช่นกัน ต้องค่อย ๆ ไตร่ตรอง ต้องคอยฝึกฝน จึงจะล่วงรู้วิธีกำรและผ่ำนอุปสรรคได้ด้วย ควำมช่ำชอง จน กลำยเป็นควำมชำนำญ คุ้นเคย ส่งผลให้ผู้นำประสบควำมสำเร็จ ในฐำนะที่เป็นผู้นำ ยุทธศำสตร์ จะสำมำรถมองเห็นศักยภำพของผู้ที่เป็นผู้นำได้โดยจะต้องรู้จักหำทำงออกและ แก้ปัญหำ รวมทั้งกำรพิจำรณำจำกควำมจริง ตัวแปร และทฤษฎีต่ำง ๆ เพื่อคิดหำวิธีกำร แก้ไข ยิ่งถ้ำหำกผู้นำนั้นสำมำรถหำปัจจัยที่เล็ก ๆ หรือเฉพำะเจำะจงได้ ก็จะช่วยให้ผู้นำ มองเห็นชัดขึ้นแล้วก็จะตัดสินใจเลือกคำตอบได้ตรงประเด็นที่สุด ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. ผู้นำต้องเรียนรู้ที่จะฟังผ่ำนเสียงของสถำนกำรณ์ VUCA World, สถำนกำรณ์ VUCA World จะทำให้อนำคตแย่ลง, สถำนกำรณ์ VUCA World นี้จะมีทั้งควำมเสี่ยงและ โอกำส ผู้นำจำเป็นต้องเรียนรู้ทักษะใหม่เพื่อจะทำให้อนำคตดีขึ้นและต้องมีกำรพัฒนำ ฝึกอบรมผู้บริหำรมำกขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. Situation Effects Cognition/Decision Making Complexity (ควำมซับซ้อน) Volatility (ควำมผันผวน) Uncertainty (ควำมไม่แน่นอน) Ambiguity (ควำมคลุมเครือ) Clearly (ควำมชัดเจน) Vision (วิสัยทัศน์) Understanding (ควำมเข้ำใจ) Agility (ควำมคล่องแคล่วว่องไว) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. จำกตำรำงที่ 9-1 จะเห็นได้ว่ำสถำนกำรณ์คือควำมซับซ้อน ส่งผลให้เกิดควำมผัน ผวนและควำมไม่แน่นอน นำพำให้เกิด ควำมคลุมเครือ ดังนั้นผู้นำจึงจำเป็นต้องเข้ำใจอย่ำง ถ่องแท้ถึงสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปสู่กระบวนกำรค้นหำวิธีที่ดีที่สุด ให้กับองค์กำร ประสบกำรณ์ใหม่นี้ถือเป็นสิ่งที่ท้ำทำยในกำรตัดสินใจหรือเลือกทำอะไรที่แตกต่ำงภำยใต้ สถำนกำรณ์ VUCA World โดยผู้นำจะสำมำรถเลือกวิธีกำรที่ดีที่สุดเพื่อกำรปกป้องวิกฤติ ของสภำพแวดล้อมได้หรือไม่ในอนำคตนั้นขึ้นอยู่กับควำมสำมำรถ ของผู้นำในกำรหยิบจับ ข้อมูลข่ำวสำรและวิจำรณญำณในกำรวิเครำะห์และนำมำปรับใช้จริงด้วยควำมชัดเจน โดย มีวิสัยทัศน์และควำมเข้ำใจภำยใต้กำรตัดสินใจอย่ำงมีไหวพริบด้วยควำมคล่องแคล่วว่องไว จะเห็นได้ว่ำหำกผู้นำตระหนักถึงสภำวะกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วของโลกนี้ ผู้นำของ องค์กำรก็จะสำมำรถวำงแผน รับมือกับสถำนกำรณ์นั้นให้ผ่ำนพ้นไปได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
  • 17. ผู้นำองค์กำรจะต้องสำมำรถอธิบำยถึงกำรทำงำนที่ชัดเจน มีกำรเตรียมวิธีกำร รับมือ เรียนรู้ที่ประยุกต์หรือปรับเปลี่ยน ควำมคิดให้ทันสมัย โดยมองไปที่ปัญหำที่จะ เกิดขึ้นจำกหลำย ๆ ทำง และเมื่อเหตุกำรณ์นั้นเกิด ผู้นำในองค์กำรจะสำมำรถตัดสินใจ เลือกใช้เครื่องมือที่ดีที่สุด ซึ่ง Charles Darwin (Greatest critical thinkers) กล่ำวไว้ว่ำ “ผู้ที่เหมำะสมเท่ำนั้นถึงจะอยู่รอด” เรำกำลังพัฒนำสู่เศรษฐกิจโลกอย่ำงแท้จริงและ องค์กำรต่ำง ๆ ต้องเผชิญกับกำรแข่งขันทั่วโลก ควำมได้เปรียบในกำรแช่งขันที่แข็งแกร่งใน ตลำดปัจจุบันไม่เพียงพอแล้ว จึงต้องปรับเปลี่ยน ปรับตัวและพัฒนำมำกขึ้น โดยจะต้อง ริเริ่มคิดอย่ำงจริงจัง และมีวิจำรณญำณโดยกำรตั้งคำถำมที่ถูกต้อง แต่แทนที่จะมำหำ คำตอบนั้นควรต้องรู้จักถำมอย่ำงต่อเนื่องว่ำ จะรู้ได้อย่ำงไรว่ำ คำตอบนี้เป็นควำมจริง? มี ข้อมูลอะไรใหม่ที่อำจมีผลต่อกำรตัดสินใจก่อนหน้ำนี้ เมื่อเรำได้รูปแบบถำมคำถำมที่ดีแล้ว คำถำมนี้ จะเป็นพื้นฐำนใช้ชิงไหวชิงพริบในกำรแก้ปัญหำต่อไป (Gilman, 2017) ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
  • 18. VUCA Prime ถูกพัฒนำขึ้นโดย Bob Johansen เป็นแนวควำมคิดที่ใช้รับมือกับภำวะ VUCA Volatility ควำมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำสำมำรถตอบโต้ด้วย Vision คือกำรมีวิสัยทัศน์ ผู้นำที่มี วิสัยทัศน์ชัดเจนจะสำมำรถมองทิศทำงขององค์กำรในอีก 3 ถึง 5 ปีข้ำงหน้ำและสำมำรถรับมือกับควำม เปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ Uncertainty คือควำมไม่แน่นอนสำมำรถรับมือได้ด้วย Understanding คือควำมเข้ำใจคือ ทักษะในกำรหยุดคิด มอง และรับฟังสิ่งต่ำง ๆ ผู้นำที่ดีจะสำมำรถสื่อสำรกับพนักงำนทุกระดับในองค์กำร สำมำรถพัฒนำและสำธิตทักษะกำรทำงำน ร่วมกันได้ Complexity คือควำมซับซ้อนสำมำรถจัดกำรได้ด้วย Clarity คือควำมชัดเจน หมำยถึงกำรมี กระบวนกำรคิด อย่ำงรอบคอบในกำรจัดกำรกับปัญหำควำมยุ่งยำกต่ำง ๆ ดังนั้นผู้นำในโลก VUCA จะต้องจัดกำรปัญหำเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับปัญหำหลักได้อย่ำงรวดเร็วและชัดเจน ทั้งนี้ในกำรตัดสินใจต่ำง ๆ นั้นก็ควรจะมีแจ้งให้รับทรำบอย่ำงทั่วถึง Ambiguity คือควำมคลุมเครือสำมำรถจัดกำรด้วย Agility คือควำมคล่องแคล่วว่องไวในกำร สื่อสำรระหว่ำงองค์กำร และนำแนวทำงกำรแก้ปัญหำต่ำง ๆ ไปใช้อย่ำงรวดเร็ว ทั้ง 4 บริบทนี้เป็น องค์ประกอบที่เชื่อมโยงกันซึ่งสำมำรถทำให้ผู้นำองค์กำรธุรกิจสำมำรถที่จะเป็นผู้นำในสถำนกำรณ์ VUCA World ที่แข็งแกร่งได้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. Horney, Pasmore & O’shea, (2010) ได้กล่ำวว่ำ ผู้นำที่จะประสบควำมสำเร็จ นั้น ต้องสร้ำงควำมเปลี่ยนแปลงอย่ำงต่อเนื่อง ทั้งในผู้คน กระบวนกำร เทคโนโลยี และ โครงสร้ำง ซึ่งกำรจะทำเช่นนี้ได้ต้องอำศัยควำมยืดหยุ่นและไหวพริบในกำรตัดสินใจ ในขณะที่กลุ่ม Boston Consulting Group (BCG) สรุปว่ำ องค์กำรในทุกวันนี้ต้อง สำมำรถปรับตัวกับภำพกำรณ์ต่ำง ๆ ได้จึงจะสำมำรถสร้ำงควำมได้เปรียบ และยังมีรำยงำน จำกศูนย์ Center for Creative Leadership ระบุว่ำ สภำพแวดล้อมทำงธุรกิจแบบ VUCA ต้องกำรผู้นำที่มีทักษะกำรคิดที่ปรับตัวกับสภำพต่ำง ๆ และซับซ้อนมำกขึ้น กำร บริหำรทรัพยำกรบุคคลจึงจำเป็นต้องพัฒนำผู้นำที่มีปฏิภำณไหวพริบรวดเร็ว (Kinsinger & Walch, 2012) นอกจำกนี้ผู้นำยังต้องพัฒนำศักยภำพ โดยทำควำมเข้ำใจและพร้อมที่จะตั้ง รับในสถำนกำรณ์ VUCA ดังต่อไปนี้ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20. 1. เมื่อเกิดกำรเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงรวดเร็วมำก ผู้นำองค์กำรธุรกิจจะต้องรีบปรับ กระบวนกำรคิดใหม่ทำให้เป้ำหมำยเป็นหลัก ทั้งนี้ยังต้องพิจำรณำปรับยุทธวิธีแบบใหม่ เพื่อให้เท่ำทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง 2. เมื่อเกิดควำมไม่แน่นอนจำกสภำพแวดล้อมภำยนอกและภำยในที่มีอยู่รอบตัว ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ กำรเมือง ภัยพิบัติ กำรล้ำหน้ำทำงเทคโนโลยี ผู้นำจำเป็นที่จะต้องใช้ สัญชำติญำณเฉพำะตัวและมีไหวพริบในกำรตัดสินใจอย่ำงฉับไวและทันท่วงที 3. เมื่อเกิดควำมซับซ้อน มีเงื่อนงำ สับสน วุ่นวำย ยุ่งเหยิง ผู้นำจำเป็นที่จะต้องมี ข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อจะนำไปวิเครำะห์ได้อย่ำงละเอียดและแม่นยำ โดยต้องใช้วิจำรณญำณ นอย่ำงรอบคอบและถี่ถ้วน 4. ควำมคลุมเครือ ไม่ชัดเจน กำกวม ผู้นำจะต้องใช้ดุลยพินิจมองทุกอย่ำงให้ทะลุ กระจ่ำงแจ้ง โดยต้องเลือกข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ประกอบในกำรตัดสินใจได้อย่ำง เหมำะสมและนำไปกำหนดใช้อย่ำงชัดเจน ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
  • 21. ควำมหมำยของกำรยอมรับ Rogers (1983, อ้ำงถึงใน ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์, 2546) ได้ให้คำนิยำมไว้ว่ำ กำรยอมรับนวัตกรรมหมำยถึงกำรตัดสินใจที่จะนำนวัตกรรมนั้นไปใช้อย่ำงเต็มที่เพรำะ นวัตกรรมนั้นเป็นวิถีทำงที่ดีกว่ำ และมีประโยชน์มำกกว่ำ กำรยอมรับของบุคคลเกิดขึ้นเป็น กระบวนกำร เริ่มตั้งแต่บุคคลได้สัมผัสนวัตกรรม ถูกชักจูงให้ยอมรับนวัตกรรมตัดสินใจ ยอมรับ หรือปฏิเสธปฏิบัติตำมกำรตัดสินใจและยืนยันกำรปฏิบัตินั้น กระบวนกำรนี้อำจจะ ใช้เวลำช้ำหรือเร็วขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญคือตัวบุคคลและลักษณะของนวัตกรรม ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. 1. คุณลักษณะประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ (Relative Advantage) คือ กำร รับรู้ว่ำนวัตกรรมดีกว่ำมีประโยชน์กว่ำวิธีกำรปฏิบัติเดิม ๆ เช่น สะดวกกว่ำ รวดเร็วกว่ำ มี ผลตอบแทนที่ดีกว่ำอื่น ๆ เป็นต้น ในส่วนที่ดีกว่ำ ถ้ำเห็นว่ำมีประโยชน์มำกกว่ำเสีย ประโยชน์ก็จะทำให้กำรยอมรับ นวัตกรรมมีแนวโน้มในกำรยอมรับมำกขึ้น 2. คุณลักษณะที่เข้ำกันได้ (Compatibility) คือ กำรที่ผู้รับนวัตกรรมรู้สึกหรือ คิดว่ำเข้ำกันได้หรือไปด้วยกันได้กับค่ำนิยมที่เป็นอยู่เดิม ถ้ำนวัตกรรมใดมีลักษณะ สอดคล้องกับควำมคิดเดิม ๆ ก็จะทำให้กำรยอมรับมีแนวโน้มสูงขึ้น จำกประสบกำรณ์ใน อดีตตลอดจนควำมต้องกำรของผู้รับ ควำมคิดใหม่ ๆ กำรเข้ำกันได้ของนวัตกรรมกับสิ่งต่ำง ๆ ทำให้ผู้ยอมรับรู้สึกมั่นใจและไม่ต้องเสี่ยงภัยมำก ทำให้เกิดควำมรู้สึกที่มีควำมหมำยมำก ขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. 3. คุณลักษณะควำมยุ่งยำกซับซ้อน (Complexity) ถ้ำนวัตกรรมที่นำมำใช้มี ควำมยุ่งยำก สลับซับซ้อนมำก กำรยอมรับก็จะน้อยลงโดยเฉพำะถ้ำบุคลำกรที่นำ นวัตกรรมเหล่ำนั้นมำใช้มีควำมยุ่งยำกก็ยิ่งทำให้เกิดกำรต่อต้ำน ดังนั้นกำรนำนวัตกรรมมำ ใช้จึงมีควำมสัมพันธ์ในทำงตรงกันข้ำมกับกำรยอมรับ ถ้ำนวัตกรรมมีควำมซับซ้อนมำก อัตรำกำรยอมรับจะลดลง แต่ถ้ำนวัตกรรมมีควำมซับซ้อนน้อย อัตรำกำรยอมรับก็จะ เพิ่มขึ้น 4. คุณลักษณะสำมำรถทดลองใช้ได้ (Trialability) โดยกำรนำเอำนวัตกรรม ส่วนย่อย ๆ ไปทดลองใช้โดยใช้ระยะเวลำไม่มำกนัก ซึ่งอำจจะแบ่งเป็นส่วนเล็ก เมื่อนำไป ทดลองและประสบควำมสำเร็จตำมที่ต้องกำรก็จะทำให้เกิดกำรยอมรับมำกขึ้นในนวัตกรรม นั้น ๆ 5. คุณลักษณะสำมำรถสังเกตได้ (Observability) คือ ผลของนวัตกรรมเป็นสิ่ง ที่ มองเห็นได้หมำยควำมว่ำ ถ้ำนวัตกรรมทำให้เกิดกำรมองเห็นได้ก็จะทำให้กำรยอมรับมี น้ำหนักมำก ขึ้น ซึ่งอำจมองไปถึงด้ำนรูปธรรม ถ้ำสำมำรถทำให้เป็นรูปธรรมได้ก็จะเป็นสิ่ง ที่ทำให้เกิด กำรยอมรับมำกขึ้นกว่ำที่เป็นนำมธรรมหรือเป็นแค่จินตนำกำร ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 24. ขั้นที่ 1 ขั้นควำมรู้ (knowledge) กระบวนกำรตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรมเริ่มต้น เมื่อ บุคคลได้สัมผัสนวัตกรรม และเริ่มศึกษำหำข้อมูลเพื่อทำควำมเข้ำใจถึงหน้ำที่ของนวัตกรรมนั้น ควำมรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมที่บุคคลได้รับในขั้นนี้สำมำรถแบ่งได้เป็น 3 ด้ำน ดังนี้ ด้ำนที่ 1 ควำมรู้จักนวัตกรรม (awareness knowledge) เป็นควำมรู้ที่ทำให้เกิดกำร ตื่นตัว เกี่ยวกับนวัตกรรม เป็นควำมรู้ที่รู้ว่ำมีนวัตกรรมเกิดขึ้นแล้ว และนวัตกรรมนั้นสำมำรถทำ หน้ำที่ อะไรได้บ้ำง ด้ำนที่ 2 ควำมรู้วิธีกำรใช้นวัตกรรม (how-to knowledge) ควำมรู้ประเภทนี้ได้จำก กำร ติดต่อสื่อสำรกับสื่อมวลชน กำรติดต่อกับหน่วยงำนรำชกำรที่ทำกำรเผยแพร่นวัตกรรม หรือ เข้ำร่วม ประชุม ควำมรู้ประเภทนี้จะช่วยให้ใชันวัตกรรมได้อย่ำงถูกต้อง นวัตกรรมยิ่งมีควำมซับ ช้อนมำก ขึ้นเท่ำใด ควำมจำเป็นที่ต้องมีควำมรู้นั้นก็ยิ่งมำกขึ้นเท่ำนั้น กำรขำดควำมรู้ด้ำนนี้จะทำ ให้เกิดกำรปฏิเสธนวัตกรรมได้มำก ด้ำนที่ 3 ควำมรู้เกี่ยวกับหลักกำรของนวัตกรรม (principles knowledge) ควำมรู้ ประเภทนี้ เป็นควำมรู้ถึงเกณฑ์เบื้องหลังของนวัตกรรม ซึ่งจะช่วยให้นวัตกรรมบรรลุผล ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
  • 25. ขั้นที่ 2 ขั้นกำรจูงใจ (persuasion) ในขั้นนี้บุคคลจะสร้ำงทัศนคติชอบหรือไม่ ชอบนวัตกรรม กิจกรรมในสมองของบุคคลในขั้นควำมรู้ เป็นเรื่องของควำมคิด หรือกำรรู้ ส่วนกิจกรรม ในสมองในขั้นกำรจูงใจเป็นเรื่องของอำรมณ์ หรือควำมรู้สึก โดยบุคคลจะมี พฤติกรรมสำคัญ คือ แสวงหำข่ำวสำรข้อมูล ข้อมูลที่ได้รับมำเกี่ยวกับนวัตกรรมนั้นว่ำ เหมำะสมกับตัวเขำทั้งในสภำพปัจจุบัน และในอนำคตหรือไม่อย่ำงไร บุคคลจะมีกำร พัฒนำแนวคิดเชิงประเมินเกี่ยวกับนวัตกรรม นั้น ซึ่งเป็นกำรพิจำรณำคุณค่ำของนวัตกรรม ว่ำ เมื่อรับนวัตกรรมมำใช้จะมีผลติดตำมมำในด้ำนใด มีประโยชน์ต่อตัวเขำมำกน้อย เพียงใด ถ้ำมีประโยชน์มำกจะมีควำมรู้สึกทำงบวก แต่ถ้ำคิดว่ำไม่มีประโยชน์ หรือมี ประโยชน์น้อยต่อตัวเขำ จะพัฒนำควำมคิดทำงลบ ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
  • 26. ขั้นที่ 3 ขั้นกำรตัดสินใจ (decision) ในขั้นนี้บุคคลกระทำกิจกรรมซึ่งนำไปสู่ กำรเลือกที่จะยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม กำรจะตัดสินใจยอมรับหรือไม่ยอมรับ นวัตกรรมนั้นขึ้นอยู่กับ 2 ขั้นตอนที่ผ่ำนมำด้วย ถ้ำบุคคลมีควำมรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม มี ควำมรู้สึกชอบ และเห็นประโยชน์ของนวัตกรรมนั้น บุคคลก็มีแนวโน้มที่จะตัดสินใจยอมรับ นวัตกรรมนั้น นอกจำกนี้กำรตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรมยังขึ้นอยู่กับ ลักษณะของนวัตกรรม ถ้ำนวัตกรรมนั้นสำมำรถแยกส่วนย่อย ๆ ได้ ให้มีกำรทดลองใช้ได้ บุคคลจะมีแนวโน้มที่จะตัดสินใจยอมรับนวัตกรรมนั้น ในขั้นนี้มีควำมสำคัญมำก กำรที่ บุคคลจะเลือกทำงใดเป็นผลมำจำกขั้นควำมรู้และขั้นกำรจูงใจ และกำรพิจำรณำลักษณะ นวัตกรรมว่ำสอดคล้องกับฐำนะทำงเศรษฐกิจ สถำนภำพทำงสังคม และขนบธรรมเนียม ประเพณี ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
  • 27. ขั้นที่ 4 ขั้นกำรนำไปใช้ (implementation) กระบวนกำรตัดสินใจยอมรับ นวัตกรรมในขั้นต้น ๆ เป็นเรื่องของควำมรู้ ควำมคิด แต่ในขั้นนี้เป็นขั้นของกำรปฏิบัติ เมื่อ บุคคลตัดสินใจยอมรับ นวัตกรรมไปใช้ เขำจะต้องรู้ว่ำจะสำมำรถหำนวัตกรรมนั้นมำจำก ไหน นำไปใช้อย่ำงไร และเมื่อนำไปใช้จะเกิดปัญหำอย่ำงไร และสำมำรถแก้ปัญหำได้ อย่ำงไร บุคคลจึงพยำยำมแสวงหำสิ่งต่ำง ๆ เกี่ยวกับนวัตกรรม ดังนั้น ผู้นำกำร เปลี่ยนแปลง และวิธีกำรสื่อสำรจึงมีบทบำทที่จะช่วยบุคคลให้ได้รับสิ่งที่เขำต้องกำร ในขั้น นี้รวมถึงขั้นดัดแปลงแก้ไขด้วย กำรใช้นี้จะดำเนินไปเรื่อย ๆ ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของ นวัตกรรมนั้น ซึ่งอำจไปถึงกำรที่นวัตกรรมใหม่นี้ได้เข้ำไปเป็นส่วนหนึ่งของสถำบันนั้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. ขั้นที่ 5 ขั้นกำรยืนยัน (confirmation) ขั้นตอนนี้เกิดขึ้นเป็นขั้นสุดท้ำยของ กระบวนกำรตัดสินใจยอมรับนวัตกรรมในบุคคลส่วนใหญ่ กล่ำวคือ เมื่อบุคคลได้ตัดสินใจที่ จะยอมรับหรือไม่ยอมรับไปแล้ว บุคคลจะแสวงหำข้อมูลข่ำวสำร แรงเสริม เพื่อสนับสนุน กำรตัดสินใจของแต่ละบุคคล เมื่อยอมรับนวัตกรรมแล้ว เขำจะพยำยำมศึกษำหำควำมรู้ เพิ่มเดิมให้เกิดควำมมั่นใจ กำรรับข่ำวสำรข้อมูล กำรได้รับคำแนะนำและได้เห็น ควำมสำเร็จของกำรใชันวัตกรรม จะมีอิทธิพลต่อกำรยืนยันมำกขึ้น ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 29. 1. จงอธิบำยภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง 2. ผู้นำองค์กำรธุรกิจในสถำนกำรณ์โลกแบบ VUCA ต้องเป็นอย่ำงไร 3. แนวคิดเกี่ยวกับผู้นำมีอะไรบ้ำง 4. ผู้นำองค์กำรธุรกิจมีวิธีกำรอย่ำงไรในกำรปรับตัว 5. ให้นักศึกษำวิเครำะห์สถำนกำรณ์ VUCA World ที่เกิดขึ้น 6. ศักยภำพที่จำเป็นของผู้นำองค์กำรธุรกิจในสถำนกำรณ์ VUCA World คืออะไร 7. นวัตกรรมที่ยอมรับได้ง่ำยควรมีลักษณะอย่ำงไร 8. กระบวนกำรตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรม (A model of the innovation decision process) ประกอบด้วยกี่ขั้นตอนอะไรบ้ำง ผศ.ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29