SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
บทที่  8 สุขภาพจิตและการจัดการความเครียด อ .  ฐาพล สมสกุล “ มนุษย์ที่มีการพัฒนาตน  ต้องมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย”
Mental Health  หมายถึง สภาพของจิตใจที่มั่นคง เข้มแข็ง พร้อมจะเผชิญกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม โดยสามารถปรับตัวให้มีความสุขกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีข้อขัดแย้งในใจ ความหมายของสุขภาพจิต
-  คลิฟฟอร์ด เบียรส์  ( Clifford W. Beers )   เผยแพร่ประสบการณ์จริงจากการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลโรคจิต ที่คนไข้ได้รับการรักษาอย่างทารุณ เขาสรุปว่าคนไข้โรคจิตไม่ได้เสียสติจนไม่รู้เรื่องราว เขาควรได้รับการรักษาอย่างมีมนุษยธรรมเหมือนคนปกติทั่วไป -  มีการจัดตั้งสมาคมสุขภาพจิตเพื่อร่วมกันแก้ไขข้อบกพร่องในการดูแลรักษาคนไข้โรคจิต พัฒนาการทางสุขภาพจิตในต่างประเทศ
-  เริ่มต้นโครงการในสมัยรัชกาลที่  5  ที่มีการนำคนเสียจริตมาไว้รวมกันที่ตำบลปากคลองสาน ธนบุรี ใช้วิธีรักษาแบบแพทย์แผนโบราณ ด้วยยาต้ม ยานัตถุ์ รวมถึงการล่ามโซ่ตรวน ,[object Object],[object Object],[object Object],ประวัติสุขภาพจิตในประเทศไทย
๑ .  บุคคลที่มีสุขภาพจิตปกติ ๒ .  บุคคลที่มีสุขภาพจิตอกปติ หรือ ไม่ปกติ ๑ .  ดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ๒ .  ช่วยปรับปรุงแก้ไขความคับข้องใจ ๓ .  เกิดความเข้าใจตนเองและผู้อื่น
๑ .  สาเหตุจาก ตัวบุคคล ๑ . ๑ ความผิดปกติทางกาย ๑ . ๒ โรคประจำตัวเรื้อรัง ๑ . ๓ สภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ๒ .  สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม ๒ . ๑ ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว ๒ . ๒ ปัญหาทางเศรษฐกิจ ๒ . ๓ ปัญหาสังคม สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิต
แบ่งออกเป็น  3  กลุ่มใหญ่ •  บุคลิกภาพผิดปกติหรือบุคลิกภาพแปรปรวน •  โรคประสาท •  โรคจิต ประเภทของความผิดปกติทางจิต
๑ .  บุคลิกภาพไม่เหมือนบุคคลปกติ  ๒ .  บุคลิกภาพเพ้อฝัน และอารมณ์รุนแรง ๓ .  บุคลิกภาพวิตกกังวลและหวาดกลัว •  บุคลิกภาพผิดปกติหรือบุคลิกภาพแปรปรวน หมายถึง  พฤติกรรมที่แสดงออกอย่างไม่เหมาะสม ไม่เหมือนคนปกติ หรือจากมาตรฐานที่สังคมกำหนด อาการจะไม่แสดงออกหากไม่มีความกดดันอย่างรุนแรง แบ่งเป็น .
๑ . ๑ บุคลิกภาพแบบหวาดระแวงหรือหลงผิด  -  หวาดระแวงกลัวคนทำร้าย ลุกลนพร้อมจะตอบโต้ทันที ๑ . ๒ บุคลิกภาพแบบเพี้ยน  -  มีอาการกระตุกของร่างกาย เพ้อเจ้อ แต่งตัวประหลาด โกหกเก่ง ชอบขยิบตาถี่ ๆ  ๑ . ๓ บุคลิกภาพแบบจิตเภท -  ชอบแยกตัวออกจากสังคม ไม่กล้าแสดงออกทางอารมณ์ ๑ .  บุคลิกภาพไม่เหมือนบุคคลปกติ
๒ .  บุคลิกภาพเพ้อฝัน และอารมณ์รุนแรง ๒ . ๑ แบบอารมณ์ไม่มั่นคง  -  มัก เครียดตลอดเวลา เมื่อมีความกดดันมักจะมีอาการ ติดอ่าง กัดเล็บ เดี๋ยวเศร้า เดี๋ยวร่างเริง  ๒ . ๒ แบบเรียกร้องเอาแต่ใจ  -  อ่อนไหวไม่มีวุฒิภาวะ ชอบให้คนอื่นยกย่อง  ๒ . ๓ แบบต่อต้านสังคม  -  ชอบฝืนกฎระเบียบ ชอบละเมิดสิทธิของคนอื่น มองโลกในแง่ร้าย ๒ . ๔ บุคลิกภาพเห็นตนดีเด่น  -  หยิ่ง ถือตัว ขี้อิจฉา
๓ .  บุคลิกภาพจิตวิตกกังวล และหวาดกลัว ๓ . ๑ แบบมีปมด้อย  -  แสดงได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑ .  ถ่อมตัว ชอบเดินก้มหน้า กระสับส่าย  ๒ .  ตัวเป็นหลัก ก้าวร้าว ข่มขู่ ๓ . ๒ แบบพึ่งพาผู้อื่น  -  ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง พึ่งตนเองไม่ได้ ต้องการได้รับการดูแลเอาใจ ถ้ารุนแรงมากอาจเป็นโรคประสาทได้ ๓ . ๓ แบบสมยอมและก้าวร้าว  -  เจ้าระเบียบ ต้องการความสมบูรณ์แบบ มักไม่แสดงออกถึงความนุ่มนวลและอ่อนโยน
เป็นโรคที่มีพื้นฐานมาจากความขัดแย้ง และความวิตกกังวล แบ่งออกเป็น ๑ .  ชนิดวิตกกังวล  -  มีลักษณะเด่นคือมักวิตกกังวลกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นแบบไม่สมกับความวิตกกังวล ใช้กลวิธานป้องกันตนเองบ่อยจนชิน มีอาการทางกายคู่ เช่น เหงื่อมาก คลื่นไส้ ๒ .  ชนิดหวาดกลัว  - จะมีอาการกลัวสิ่งของหรือสถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยไม่มีเหตุผล เช่น กลัวที่สูง กลัวที่โล่ง  ๓ .  ชนิดย้ำคิดย้ำทำ  -  คิดแต่เรื่องเดิมซ้ำ ๆ  •  โรคประสาท
๔ .  ชนิดฮิสทีเรีย  -  เป็นความเจ็บป่วยทางร่างกาย ไม่สามารถตรวจสอบได้ถึงสาเหตุของอาการ เช่น ทหารที่อยู่ในสนามรบทุกวัน อาจเกิดเป็นง่อยเนื่องจากเขารู้ว่าถ้าเป็นง่อยแล้วไม่ต้องรบ เมื่อออกจากสนามรบจะหาย แบ่งเป็น ๔ . ๑ อาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง กล้ามเนื้อกระตุก เป็นต้น ๔ . ๒ อาการเกี่ยวกับการรับความรู้สึก โรคประสาทชนิดฮิสทีเรียมักมีปัญหาทางเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง และมีความโน้มเอียงที่จะเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น ทำให้ถูกเข้าใจว่าเป็นโรคขาดผู้ชายไม่ได้ ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง
๕ .  โรคประสาทชนิดซึมเศร้า  -  มักมีอาการเศร้าโศกเสียใจคงที่เป็นเวลานานจากการสูญเสียสิ่งที่รัก มักมีอารมณ์แปรปรวน ๖ .  โรคประสาทชนิดอุปาทาน  -  มักจะคิดว่าตนเองป่วยเป็นโรคต่างๆ ส่งผลต่อพฤติกรรมชอบหาหมอ ๘ .  โรคประสาทชนิดท้อแท้  -  มักแสดงอาการอ่อนเพลียหมดแรง กินไม่ได้  ๙ .  โรคประสาทชนิดหลายบุคลิกภาพ  -  ในช่วงเวลาหนึ่งอาจแสดงบุคลิกภาพแบบหนึ่ง แล้วอาจเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน ผู้ป่วยจะไม่สามารถจำเหตุการณ์ได้
เป็นภาวะความผิดปกติหรือความแปรปรวนทางจิต สูญเสียความสามารถในการรับรู้ตนเอง บุคลิกภาพมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง สาเหตุที่เป็นโรคจิต ๑ .  สาเหตุทางกาย  เกิดขึ้นเนื่องจากสมองหรือระบบประสาทส่วนกลางได้รับความกระทบกระเทือน ๒ .  สาเหตุทางจิตใจ  เกิดขึ้นเนื่องจากจิตใจได้รับความกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง
๑ .  ชนิดจิตเภท คือ โรคจิตที่มีความคิดที่แปรปรวน มี  ๓ ลักษณะ คือ ๑ . ๑ จิตเภทที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ๑ . ๒ จิตเภทชนิดเฉยเมย ๑ . ๓ จิตเภทชนิดหลงผิด ๒ .  ชนิดอารมณ์แปรปรวน มีอาการผิดปกติทางอารมณ์อย่างรุนแรง ซึมเศร้า บางรายตื่นตัวมาก สามารถคุ้มคลั่งอาละวาด
ความเครียดเป็นภาวะความไม่สมดุลภายในของบุคคล เกิดจากกระบวนการรับรู้หรือประเมินของบุคคลต่อสิ่งเร้าที่เข้ามาในประสบการณ์ว่า เป็นสิ่งที่คุกคามหรืออันตราย ความเครียดเป็นความรู้สึกไม่พอใจ ไม่สบายใจ เนื่องจากบุคคลประเมินว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ ความเครียดสามารถเกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกเพศทุกวัย และเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบต่อบุคคลทั้งร่างกายและจิตใจ
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด ๑ .  สาเหตุแบบแบ่งตามที่มาของความเครียด ๑ . ๑ ความเครียดที่เกิดจากการสูญเสีย ๑ . ๒ ความเครียดที่เกิดจากการได้รับอันตรายหรือเกรงว่าจะได้รับอันตราย ๑ . ๓ ความเครียดที่เกิดจากความคับข้องใจเนื่องมาจากความต้องการของสัญชาติญาณไม่สมปรารถนา
๒ .  สาเหตุตามปัจจัยประกอบ ๒ . ๑ ปัจจัยด้านองค์ประกอบของตัวบุคคลประกอบด้วย ๒ . ๑ . ๑ บุคลิกภาพและคุณลักษณะประจำตัวบุคคลที่มีความเข้มแข็งในจิตใจจะมีความเครียดได้ยากกว่า คือมีการควบคุม ความมุ่งมั่น และการท้าทาย ๒ . ๑ . ๒ ลักษณะของอารมณ์ทางด้านลบหรือบวก ๒ . ๑ . ๓ ประสบการณ์ในอดีต
๒ . ๒ ปัจจัยด้านองค์ประกอบที่แวดล้อมตัวบุคคล ๒ . ๒ . ๑ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ๒ . ๒ . ๒ สิ่งแวดล้อมทางสังคม ๒ . ๒ . ๓ สภาพทางเศรษฐกิจ ๒ . ๒ . ๔ การเปลี่ยนแปลง
ผลของความเครียด ความเครียดก่อให้เกิดผลด้านต่างๆ คือ  ๑ .  ด้านร่างกาย ๒ .  ด้านจิตใจและอารมณ์ ๓ .  ด้านความคิด ๔ .  ด้านพฤติกรรม ๕ .  ด้านสังคม ๖ .  ด้านการทำงาน ๗ .  ด้านเศรษฐกิจ ๘ .  ด้านการเจ็บป่วยของร่างกาย
แนวทางการจัดการความเครียด ๑ .  การฝึกลมหายใจ ๒ .  การฝึกสมาธิ ๓ .  การฝึกสร้างจินตนาการ ๔ .  ดนตรีบำบัด ๕ .  การนวด ๖ .  การฝึกผ่อนคลายความเครียดกล้ามเนื้อ ๗ .  การสะกดจิตตนเอง ๘ .  การรับประทานอาหารคลายเครียด
สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของจิตใจที่มั่นคงเข้มแข็งพร้อมเผชิญปัญหาด้วยปัญญาและสามารถปรับตัวได้อย่างมีความสุขกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ในสมัยโบราณ บุคคลที่เป็นโรคจิตจะถูกมองว่าเป็นผลจากการกระทำของสิ่งเหนือธรรมชาติ การรักษาจึงเต็มไปด้วยการทารุณ เช่น การเจาะกะโหลก ปัจจุบันเชื่อว่าโรคจิตเป็นโรคชนิดหนึ่ง จึงมีการรักษาที่มีมนุษยธรรมเพิ่มขึ้น สรุป
•  บุคคลที่มีสุขภาพจิตดีจะมีการเข้าใจตนเองและแสดงออกทางสังคมอย่างเหมาะสม •  สาเหตุที่บุคคลเกิดปัญหาทางสุขภาพจิตเกิดจากตัวบุคคลและสิ่งแวดล้อม •  ความผิดปกติทางจิตเกิดจากบุคลิกภาพผิดปกติ โรคประสาทและโรคจิต
ความเครียดและการจัดการความเครียด ,[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

Similar to บทที่8

Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1Natthaphong Messi
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4linnoi
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรfifa23122544
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำบุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำguest7530ba
 

Similar to บทที่8 (20)

Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็กโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
โรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังภยันตรายในเด็ก
 
คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวช
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
Eq1
Eq1Eq1
Eq1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 28 ม.5 1
 
สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไร
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำบุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
 
51105
5110551105
51105
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 

More from Tuk Diving

บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Tuk Diving
 
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำTuk Diving
 
บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)Tuk Diving
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 

More from Tuk Diving (8)

บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of Physiological
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
ความสำคัญของพฤติกรรมภาวะผู้นำ
 
C
CC
C
 
Que sera sera
Que sera seraQue sera sera
Que sera sera
 
บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)บทที่5 (ต่อ)
บทที่5 (ต่อ)
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 

บทที่8

  • 1. บทที่ 8 สุขภาพจิตและการจัดการความเครียด อ . ฐาพล สมสกุล “ มนุษย์ที่มีการพัฒนาตน ต้องมีสุขภาพจิตที่ดีด้วย”
  • 2. Mental Health หมายถึง สภาพของจิตใจที่มั่นคง เข้มแข็ง พร้อมจะเผชิญกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม โดยสามารถปรับตัวให้มีความสุขกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีข้อขัดแย้งในใจ ความหมายของสุขภาพจิต
  • 3. - คลิฟฟอร์ด เบียรส์ ( Clifford W. Beers ) เผยแพร่ประสบการณ์จริงจากการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลโรคจิต ที่คนไข้ได้รับการรักษาอย่างทารุณ เขาสรุปว่าคนไข้โรคจิตไม่ได้เสียสติจนไม่รู้เรื่องราว เขาควรได้รับการรักษาอย่างมีมนุษยธรรมเหมือนคนปกติทั่วไป - มีการจัดตั้งสมาคมสุขภาพจิตเพื่อร่วมกันแก้ไขข้อบกพร่องในการดูแลรักษาคนไข้โรคจิต พัฒนาการทางสุขภาพจิตในต่างประเทศ
  • 4.
  • 5. ๑ . บุคคลที่มีสุขภาพจิตปกติ ๒ . บุคคลที่มีสุขภาพจิตอกปติ หรือ ไม่ปกติ ๑ . ดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ๒ . ช่วยปรับปรุงแก้ไขความคับข้องใจ ๓ . เกิดความเข้าใจตนเองและผู้อื่น
  • 6. ๑ . สาเหตุจาก ตัวบุคคล ๑ . ๑ ความผิดปกติทางกาย ๑ . ๒ โรคประจำตัวเรื้อรัง ๑ . ๓ สภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ๒ . สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม ๒ . ๑ ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว ๒ . ๒ ปัญหาทางเศรษฐกิจ ๒ . ๓ ปัญหาสังคม สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพจิต
  • 7. แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ • บุคลิกภาพผิดปกติหรือบุคลิกภาพแปรปรวน • โรคประสาท • โรคจิต ประเภทของความผิดปกติทางจิต
  • 8. ๑ . บุคลิกภาพไม่เหมือนบุคคลปกติ ๒ . บุคลิกภาพเพ้อฝัน และอารมณ์รุนแรง ๓ . บุคลิกภาพวิตกกังวลและหวาดกลัว • บุคลิกภาพผิดปกติหรือบุคลิกภาพแปรปรวน หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกอย่างไม่เหมาะสม ไม่เหมือนคนปกติ หรือจากมาตรฐานที่สังคมกำหนด อาการจะไม่แสดงออกหากไม่มีความกดดันอย่างรุนแรง แบ่งเป็น .
  • 9. ๑ . ๑ บุคลิกภาพแบบหวาดระแวงหรือหลงผิด - หวาดระแวงกลัวคนทำร้าย ลุกลนพร้อมจะตอบโต้ทันที ๑ . ๒ บุคลิกภาพแบบเพี้ยน - มีอาการกระตุกของร่างกาย เพ้อเจ้อ แต่งตัวประหลาด โกหกเก่ง ชอบขยิบตาถี่ ๆ ๑ . ๓ บุคลิกภาพแบบจิตเภท - ชอบแยกตัวออกจากสังคม ไม่กล้าแสดงออกทางอารมณ์ ๑ . บุคลิกภาพไม่เหมือนบุคคลปกติ
  • 10. ๒ . บุคลิกภาพเพ้อฝัน และอารมณ์รุนแรง ๒ . ๑ แบบอารมณ์ไม่มั่นคง - มัก เครียดตลอดเวลา เมื่อมีความกดดันมักจะมีอาการ ติดอ่าง กัดเล็บ เดี๋ยวเศร้า เดี๋ยวร่างเริง ๒ . ๒ แบบเรียกร้องเอาแต่ใจ - อ่อนไหวไม่มีวุฒิภาวะ ชอบให้คนอื่นยกย่อง ๒ . ๓ แบบต่อต้านสังคม - ชอบฝืนกฎระเบียบ ชอบละเมิดสิทธิของคนอื่น มองโลกในแง่ร้าย ๒ . ๔ บุคลิกภาพเห็นตนดีเด่น - หยิ่ง ถือตัว ขี้อิจฉา
  • 11. ๓ . บุคลิกภาพจิตวิตกกังวล และหวาดกลัว ๓ . ๑ แบบมีปมด้อย - แสดงได้ ๒ ลักษณะ คือ ๑ . ถ่อมตัว ชอบเดินก้มหน้า กระสับส่าย ๒ . ตัวเป็นหลัก ก้าวร้าว ข่มขู่ ๓ . ๒ แบบพึ่งพาผู้อื่น - ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง พึ่งตนเองไม่ได้ ต้องการได้รับการดูแลเอาใจ ถ้ารุนแรงมากอาจเป็นโรคประสาทได้ ๓ . ๓ แบบสมยอมและก้าวร้าว - เจ้าระเบียบ ต้องการความสมบูรณ์แบบ มักไม่แสดงออกถึงความนุ่มนวลและอ่อนโยน
  • 12. เป็นโรคที่มีพื้นฐานมาจากความขัดแย้ง และความวิตกกังวล แบ่งออกเป็น ๑ . ชนิดวิตกกังวล - มีลักษณะเด่นคือมักวิตกกังวลกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นแบบไม่สมกับความวิตกกังวล ใช้กลวิธานป้องกันตนเองบ่อยจนชิน มีอาการทางกายคู่ เช่น เหงื่อมาก คลื่นไส้ ๒ . ชนิดหวาดกลัว - จะมีอาการกลัวสิ่งของหรือสถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยไม่มีเหตุผล เช่น กลัวที่สูง กลัวที่โล่ง ๓ . ชนิดย้ำคิดย้ำทำ - คิดแต่เรื่องเดิมซ้ำ ๆ • โรคประสาท
  • 13. ๔ . ชนิดฮิสทีเรีย - เป็นความเจ็บป่วยทางร่างกาย ไม่สามารถตรวจสอบได้ถึงสาเหตุของอาการ เช่น ทหารที่อยู่ในสนามรบทุกวัน อาจเกิดเป็นง่อยเนื่องจากเขารู้ว่าถ้าเป็นง่อยแล้วไม่ต้องรบ เมื่อออกจากสนามรบจะหาย แบ่งเป็น ๔ . ๑ อาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง กล้ามเนื้อกระตุก เป็นต้น ๔ . ๒ อาการเกี่ยวกับการรับความรู้สึก โรคประสาทชนิดฮิสทีเรียมักมีปัญหาทางเพศเข้ามาเกี่ยวข้อง และมีความโน้มเอียงที่จะเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น ทำให้ถูกเข้าใจว่าเป็นโรคขาดผู้ชายไม่ได้ ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง
  • 14. ๕ . โรคประสาทชนิดซึมเศร้า - มักมีอาการเศร้าโศกเสียใจคงที่เป็นเวลานานจากการสูญเสียสิ่งที่รัก มักมีอารมณ์แปรปรวน ๖ . โรคประสาทชนิดอุปาทาน - มักจะคิดว่าตนเองป่วยเป็นโรคต่างๆ ส่งผลต่อพฤติกรรมชอบหาหมอ ๘ . โรคประสาทชนิดท้อแท้ - มักแสดงอาการอ่อนเพลียหมดแรง กินไม่ได้ ๙ . โรคประสาทชนิดหลายบุคลิกภาพ - ในช่วงเวลาหนึ่งอาจแสดงบุคลิกภาพแบบหนึ่ง แล้วอาจเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน ผู้ป่วยจะไม่สามารถจำเหตุการณ์ได้
  • 15. เป็นภาวะความผิดปกติหรือความแปรปรวนทางจิต สูญเสียความสามารถในการรับรู้ตนเอง บุคลิกภาพมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง สาเหตุที่เป็นโรคจิต ๑ . สาเหตุทางกาย เกิดขึ้นเนื่องจากสมองหรือระบบประสาทส่วนกลางได้รับความกระทบกระเทือน ๒ . สาเหตุทางจิตใจ เกิดขึ้นเนื่องจากจิตใจได้รับความกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง
  • 16. ๑ . ชนิดจิตเภท คือ โรคจิตที่มีความคิดที่แปรปรวน มี ๓ ลักษณะ คือ ๑ . ๑ จิตเภทที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ๑ . ๒ จิตเภทชนิดเฉยเมย ๑ . ๓ จิตเภทชนิดหลงผิด ๒ . ชนิดอารมณ์แปรปรวน มีอาการผิดปกติทางอารมณ์อย่างรุนแรง ซึมเศร้า บางรายตื่นตัวมาก สามารถคุ้มคลั่งอาละวาด
  • 17. ความเครียดเป็นภาวะความไม่สมดุลภายในของบุคคล เกิดจากกระบวนการรับรู้หรือประเมินของบุคคลต่อสิ่งเร้าที่เข้ามาในประสบการณ์ว่า เป็นสิ่งที่คุกคามหรืออันตราย ความเครียดเป็นความรู้สึกไม่พอใจ ไม่สบายใจ เนื่องจากบุคคลประเมินว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ ความเครียดสามารถเกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกเพศทุกวัย และเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบต่อบุคคลทั้งร่างกายและจิตใจ
  • 18. สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด ๑ . สาเหตุแบบแบ่งตามที่มาของความเครียด ๑ . ๑ ความเครียดที่เกิดจากการสูญเสีย ๑ . ๒ ความเครียดที่เกิดจากการได้รับอันตรายหรือเกรงว่าจะได้รับอันตราย ๑ . ๓ ความเครียดที่เกิดจากความคับข้องใจเนื่องมาจากความต้องการของสัญชาติญาณไม่สมปรารถนา
  • 19. ๒ . สาเหตุตามปัจจัยประกอบ ๒ . ๑ ปัจจัยด้านองค์ประกอบของตัวบุคคลประกอบด้วย ๒ . ๑ . ๑ บุคลิกภาพและคุณลักษณะประจำตัวบุคคลที่มีความเข้มแข็งในจิตใจจะมีความเครียดได้ยากกว่า คือมีการควบคุม ความมุ่งมั่น และการท้าทาย ๒ . ๑ . ๒ ลักษณะของอารมณ์ทางด้านลบหรือบวก ๒ . ๑ . ๓ ประสบการณ์ในอดีต
  • 20. ๒ . ๒ ปัจจัยด้านองค์ประกอบที่แวดล้อมตัวบุคคล ๒ . ๒ . ๑ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ๒ . ๒ . ๒ สิ่งแวดล้อมทางสังคม ๒ . ๒ . ๓ สภาพทางเศรษฐกิจ ๒ . ๒ . ๔ การเปลี่ยนแปลง
  • 21. ผลของความเครียด ความเครียดก่อให้เกิดผลด้านต่างๆ คือ ๑ . ด้านร่างกาย ๒ . ด้านจิตใจและอารมณ์ ๓ . ด้านความคิด ๔ . ด้านพฤติกรรม ๕ . ด้านสังคม ๖ . ด้านการทำงาน ๗ . ด้านเศรษฐกิจ ๘ . ด้านการเจ็บป่วยของร่างกาย
  • 22. แนวทางการจัดการความเครียด ๑ . การฝึกลมหายใจ ๒ . การฝึกสมาธิ ๓ . การฝึกสร้างจินตนาการ ๔ . ดนตรีบำบัด ๕ . การนวด ๖ . การฝึกผ่อนคลายความเครียดกล้ามเนื้อ ๗ . การสะกดจิตตนเอง ๘ . การรับประทานอาหารคลายเครียด
  • 23. สุขภาพจิต หมายถึง สภาพของจิตใจที่มั่นคงเข้มแข็งพร้อมเผชิญปัญหาด้วยปัญญาและสามารถปรับตัวได้อย่างมีความสุขกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ในสมัยโบราณ บุคคลที่เป็นโรคจิตจะถูกมองว่าเป็นผลจากการกระทำของสิ่งเหนือธรรมชาติ การรักษาจึงเต็มไปด้วยการทารุณ เช่น การเจาะกะโหลก ปัจจุบันเชื่อว่าโรคจิตเป็นโรคชนิดหนึ่ง จึงมีการรักษาที่มีมนุษยธรรมเพิ่มขึ้น สรุป
  • 24. • บุคคลที่มีสุขภาพจิตดีจะมีการเข้าใจตนเองและแสดงออกทางสังคมอย่างเหมาะสม • สาเหตุที่บุคคลเกิดปัญหาทางสุขภาพจิตเกิดจากตัวบุคคลและสิ่งแวดล้อม • ความผิดปกติทางจิตเกิดจากบุคลิกภาพผิดปกติ โรคประสาทและโรคจิต
  • 25.