SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552

ISBN 978-974-300-906-8
จัดทำโดย
สมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย
Myofascial Pain Syndrome
Fibromyalgia
แนวทางเวชปฏิบัติ
กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ชื่อหนังสือ
แนวทางเวชปฏิบัติ
กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
Myofascial Pain Syndrome 
Fibromyalgia


จัดทำโดย
สมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย

พิมพ์ครั้งที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ. 2552

จำนวนพิมพ์ 5,000 เล่ม

ISBN 978-974-300-906-8
พิมพ์ที่ 
บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน)
65/16 ถนนชัยพฤกษ์ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170
แนวทางการรักษานี้ เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสุขภาพ
ที่เหมาะสมกับทรัพยากร และเงื่อนไขของสังคมไทย โดยหวังผลในการสร้างเสริม
และแก้ไขปัญหาสุขภาพของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า

ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้ไม่ใช่ข้อบังคับของการปฏิบัติ

ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้
ขึ้นอยู่กับกรณีหรือสถานการณ์ที่แตกต่างออกไป หรือมีเหตุผลที่สมควร
โดยใช้วิจารณญาณ และการตัดสินใจที่เป็นที่ยอมรับในสังคม
แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
คำนำ
ปวดเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย อุบัติการณ์ในอเมริกาและยุโรปพบว่าอยู่ระหว่าง 15 - 20%
ของประชากรและกลุ่มที่พบบ่อยคือ กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล (myofascial
pain syndrome) และกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดไฟโบรมัยอัลเจีย (fibromyalgia) ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่
ของวงการแพทย์ 
โดยนิยามของ “อาการปวดเรื้อรัง” หมายถึงอาการปวดที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องหรือเกิดซ้ำอย่าง
สม่ำเสมอเป็นเวลามากกว่า 3 เดือน เนื่องจากความชุกและความยากของการวินิจฉัยและผลการรักษาที่
ยังจำกัดในประสิทธิผล อาการปวดเรื้อรังจึงเป็นเรื่องท้าทายและได้รับความสนใจอย่างมากในขณะนี้ 

การขาดแนวทางเวชปฏิบัติ (clinical practice guideline: CPG) โดยเฉพาะแนวทางเวชปฏิบัติที่สอดคล้อง
และเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงของประเทศไทยเป็นปัจจัยสำคัญที่นำมาซึ่งความขัดแย้งของ

ผู้ให้การรักษา สิ่งที่ตามมาคือการสูญเสียผลประโยชน์ของผู้ป่วย ด้วยเหตุนี้ทางสมาคมการศึกษาเรื่อง
ความปวดแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นองค์กรในรูปแบบสหสาขาวิชาชีพทางการแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์
มีหน้าที่หลักในการส่งเสริมด้านวิชาการ การวิจัย และให้บริการด้านความปวดจึงได้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติ
ในกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่พบบ่อยและยังไม่มีการจัดทำในประเทศไทยมาก่อน
2 เรื่องคือ 1. กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล (myofascial pain syndrome: MPS) 

ที่มีปัญหาในเวชปฏิบัติทั่วไปจากความหลากหลายในรูปแบบการรักษา (practice variation) และ 2. กลุ่ม
อาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดไฟโบรมัยอัลเจีย (fibromyalgia: FMS) ที่มีปัญหาในเวชปฏิบัติทั่วไป

จากความหลากหลายในอาการ (clinical variation) และปัญหาด้านทัศนคติ (attitude) ของสังคมต่อผู้ป่วย
และผู้ป่วยต่อโรค 
การจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโดยสมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทยครั้งนี้ 

มุ่งประเด็นของ “อาการปวดเรื้อรัง” ซึ่งมักจะมีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ไม่ว่าจะเป็นอุบัติการณ์
และความแตกต่างในเรื่อง ความเหมาะสมของการรักษา เนื่องจากปัจจัยความแตกต่างทางวัฒนธรรม
และสังคมตลอดจนสภาวะเศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้น
สำหรับผู้ที่มีความสำคัญเป็นอันดับแรกคือ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (general practitioner) ในการดูแลผู้ป่วย
เหล่านี้โดยเน้นความเป็นไปได้จริงตามศักยภาพโดยรวมของระบบสาธารณสุขของประเทศไทย อันจะนำ
ประโยชน์สูงสุดมาสู่ผู้ป่วย
	 (รศ. นพ. ประดิษฐ์ ประทีปะวณิช)
	 ประธานคณะผู้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
รายนามคณะผู้จัดทำ
	1.	 รศ. นพ. ประดิษฐ์ ประทีปะวณิช	 นายกสมาคมการศึกษาเรื่องความปวด	 ประธาน
			 แห่งประเทศไทย
	2.	 รศ. นพ. ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร	คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์	 กรรมการ
	3.	 รศ. ดร. ภญ. จุฑามณี สุทธิสีสังข์	 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล	 กรรมการ
	4.	 นพ. ประสิทธิ์ ลักษณสมบูรณ์	 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล	 กรรมการ
	5.	 นพ. ธวัช บูรถาวรสม	 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ	 กรรมการ
			 การแพทย์ทางเลือก
	6.	 รศ. พญ. พงศ์ภารดี เจาฑะเกษตริน	คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล	 กรรมการ
	7.	 ผศ. นพ. วิษณุ กัมทรทิพย์	 ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู	 กรรมการ
			 แห่งประเทศไทย 
	8.	 รศ. นพ. สุรินทร์ ธนพิพัฒนศิริ	 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล	 กรรมการ
	9.	 รศ. พญ. สุดสบาย จุลกทัพพะ 	 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล	 กรรมการ
	10.	 นพ. สุรจิต สุนทรธรรม	 ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย	 กรรมการ
	11.	 พญ. เอมวลี อารมย์ดี	 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล	 กรรมการ 
				 และเลขานุการ 
	12.	 ภก. พงศธร มีสวัสดิ์สม	 คณะเภสัชศาสตร์ 	 กรรมการ
			 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	 และผู้ช่วยเลขานุการ
แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
สารบัญ
หน้า
คำนำ				 
รายนามคณะผู้จัดทำ	 
ข้อแนะนำการใช้ CPG	 
วิธีการสืบค้นข้อมูล		
บทนำ				 
บทที่ 1 กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล (Myofascial Pain Syndrome)	 1
	 1.1	 อุบัติการณ์	 1
	 1.2	 ลักษณะทางคลินิก	 1
	 1.3	 พยาธิกำเนิด	 1	
1.4	 การวินิจฉัย		 2
	 1.5	 การประเมินปัญหา	 3
	 1.6	 การวินิจฉัยแยกโรค	 4
	 1.7	 การรักษา	 4
		 1.7.1	 การรักษา primary MPS	 4
		 1.7.2	 การรักษา secondary MPS	 7
		 1.7.3	 การรักษา MPS ที่มี co-morbid	 10
		 1.7.4	 ข้อควรคำนึงในการรักษา chronic MPS	 10
	 1.8	 เกณฑ์การส่งต่อ	 13
บทที่ 2 อาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดไฟโบรมัยอัลเจีย (Fibromyalgia)	 15
	 2.1	 อุบัติการณ์	 15
	 2.2	 พยาธิกำเนิด	 15
	 2.3	 การวินิจฉัย	 16
	 2.4	 การวินิจฉัยแยกโรค	 18
	 2.5	 การประเมิน FMS	 19
	 2.6	 การรักษา	 20
		 2.6.1	 การรักษาด้วยยา	 21
		 2.6.2	 การรักษาโดยไม่ใช่ยา	 25
	 2.7	 การประเมินผลการรักษา	 27
	 2.8	 การพยากรณ์โรค	 27
	 2.9	 เกณฑ์การส่งต่อ	 28
ภาคผนวก แบบประเมินผลกระทบของโรคไฟโบรมัยอัลเจีย ฉบับภาษาไทย (Thai-FIQ)	 32
ข้อแนะนำการใช้ CPG
CPG เปรียบเสมือนคู่มือที่มีเป้าหมายเพื่อช่วยในการวินิจฉัยและการดูแลรักษาที่ถูกต้อง การใช้
CPG เหมือนกับการใช้แผนที่เมื่อหลงทางหรือติดขัด ณ จุดใดก็เปิดดูรายละเอียดและศึกษาข้อมูล ณ 

จุดนั้น ซึ่งอาจเป็นตารางหรือรายละเอียดในภาคผนวกท้ายเล่ม
น้ำหนักคำแนะนำ (Strength of Recommendation)
น้ำหนัก ++ 	 หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำให้ทำอยู่ในระดับสูงเพราะมาตรการดังกล่าว
มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ป่วยและคุ้มค่า (cost effective) “ควรทำ”
น้ำหนัก + 	 หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำให้ทำอยู่ในระดับปานกลางเนื่องจากมาตรการ
ดังกล่าวอาจมีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและอาจคุ้มค่าในภาวะจำเพาะ “น่าทำ”
น้ำหนัก +/- 	 หมายถึง ความมั่นใจยังไม่เพียงพอในการให้คำแนะนำเนื่องจากมาตรการ

ดังกล่าวยังมีหลักฐานไม่เพียงพอในการสนับสนุนหรือคัดค้านว่าอาจมีหรืออาจ
ไม่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและอาจไม่คุ้มค่าแต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
ดังนั้นการตัดสินใจกระทำขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ “อาจทำหรือไม่ทำ”
น้ำหนัก - 	 หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำห้ามทำอยู่ในระดับปานกลางเนื่องจาก
มาตรการดังกล่าวไม่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและไม่คุ้มค่า หากไม่จำเป็น “ไม่น่าทำ” 
น้ำหนัก - -	 หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำห้ามทำอยู่ในระดับสูงเพราะมาตรการ

ดังกล่าว อาจเกิดโทษหรือก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย “ไม่ควรทำ” 
คุณภาพของหลักฐานทางวิชาการ (Classification of References) 
Level of evidence A	หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ randomized, controlled
clinical trials หรือหลักฐานที่ได้จาก randomized, controlled clinical trials ที่ดำเนิน
การอย่างเหมาะสม
Level of evidence B	หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ controlled clinical study หรือ
หลักฐานที่ได้จาก controlled clinical study (เช่น nonrandomized, controlled trial,
cohort study, case-control study, cross sectional study) ที่ดำเนินการอย่าง

เหมาะสม หรือหลักฐานที่ได้จากการวิจัยทางคลินิกที่ใช้รูปแบบการวิจัยอื่น และ
ผลการวิจัยพบประโยชน์หรือโทษจากการปฏิบัติรักษาที่เด่นชัดมาก หรือเรื่อง 

ดังกล่าวไม่มีผลงานวิจัยประเภท randomized, controlled clinical trials แต่ได้นำเอา
หลักฐานที่ได้จาก randomized, controlled clinical trials ในประชากรกลุ่มอื่นหรือ
เรื่องอื่นที่คล้ายคลึงกันมาใช้เป็นหลักฐาน หรือหลักฐานที่ได้จาก systematic
review ของ randomized, controlled clinical trials หรือ randomized, controlled
clinical trials ที่ดำเนินการไม่เหมาะสม
แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
Level of evidence C	หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ descriptive study หรือ

หลักฐานที่ได้จาก descriptive study ซึ่งหมายถึงรายงานผู้ป่วยหนึ่งรายหรือ

มากกว่า หรือหลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ controlled clinical study
หรือ controlled clinical study ที่ดำเนินการไม่เหมาะสมหรือหลักฐานที่ได้จาก
controlled clinical trials ในประชากรกลุ่มอื่นหรือเรื่องอื่นที่คล้ายคลึงกัน
Level of evidence D	หมายถึง หลักฐานที่ได้จากความเห็นหรือฉันทามติ (consensus) ของคณะ

ผู้เชี่ยวชาญ เนื่องจากไม่มีหลักฐานจากผลงานวิจัยทางคลินิก หรือผลงานวิจัย
ทางคลินิกที่มีอยู่ ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสถานการณ์และ สถานภาพของ
การประกอบวิชาชีพ ในประเทศไทยหรือมีเพียงหลักฐานทางห้องปฏิบัติการ
หมายเหตุ :	Level of evidence (สารราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 18 ฉบับที่ 6 พ.ย. - ธ.ค. 

	 พ.ศ. 2544)
วิธีการสืบค้นข้อมูล
คณะผู้นิพนธ์/ผู้จัดทำแนวทางการรักษาภาวะปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อได้ทำการ
สืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Medline, Cochrane library, EMBASE และแหล่งข้อมูลอื่นๆ เช่น งานวิจัยที่ได้
รับการนำเสนอในระดับนานาชาติ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1966 ถึงเดือนมกราคม 2009 โดยใช้คำสำคัญดังต่อไปนี้
musculoskeletal pain, epidemiology, assessment, treatment, diagnosis, guideline, rehabilitation,
complementary medicine, alternative medicine, acupuncture, myofascial pain syndrome, fibromyalgia 
ในส่วนของบรรณานุกรม จะระบุเฉพาะ key articles เท่านั้น
แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
บทนำ
“อาการปวด” ตามนิยามของ International Association for the Study of Pain (IASP 1979) 

หมายถึง ความรู้สึกไม่สบายทางกายหรือจิตใจอันเนื่องมาจากมีหรือแนวโน้มที่จะมีการบาดเจ็บของ
เนื้อเยื่อ หรือแม้เป็นเพียงความรู้สึกที่ราวกับว่ามีการบาดเจ็บ
ในเวชปฏิบัติ “อาการปวด” เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยโดยทำหน้าที่เป็นสัญญาณเตือนภัยที่มี
ความไวสูง เพื่อบอกให้ทราบว่ามีความผิดปกติหรืออันตรายเกิดขึ้น ความสำคัญข้อนี้ทำให้อาการปวด

ถูกจัดเป็นสัญญาณชีพที่ห้า (The Fifth Vital Sign) เพราะ “อาการปวด” มีความเกี่ยวข้องกับแพทย์และ
บุคลากรทางการแพทย์ทุกสาขา เพียงแต่อาจแตกต่างกันในบทบาทหน้าที่ การรวบรวมองค์ความรู้ในการ
รักษาความปวดได้รับความสนใจมากในขณะนี้ ดังจะเห็นได้จากการเพิ่มขึ้นของชมรมและสมาคมการ
ศึกษาเรื่องความปวดอย่างต่อเนื่องทั้งระดับท้องถิ่น และระดับสากล หลายประเทศมีหลักสูตรเฉพาะสาขา
ด้านการรักษาอาการปวด (pain medicine) นำมาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ๆ มากมาย แต่ที่ยังเป็นปัญหาหลัก
ขณะนี้คือ “อาการปวดเรื้อรัง” เนื่องจากความยากของการวินิจฉัย และผลการรักษาที่ยังจำกัดใน
ประสิทธิผล ดังข้อความที่ใช้ในการรณรงค์เพื่อต่อสู้กับอาการปวดว่า “มีน้อยคนที่ตายจากความปวด
หลายคนตายพร้อมกับอาการปวด แต่ที่พบได้มากกว่าคือ ที่ต้องอยู่กับความปวด”
ในการรักษาอาการปวดเรื้อรัง (อาการปวดที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องหรือเกิดซ้ำอย่างสม่ำเสมอเป็น
เวลานานกว่า 3 เดือน) ข้อสำคัญที่สุด คือต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติแต่เดิมที่มักเข้าใจว่าปวดเรื้อรังเป็น

เพียงแค่อาการหรือปัญหาทางจิตแต่จัดเป็นโรคโดยตัวของมันเอง (A Disease in Itself) ดังกรณีของ
myofascial pain syndrome และ fibromyalgia อันจะนำมาซึ่งทัศนคติใหม่ของการรักษาที่สอดคล้องกับ
ความเป็นจริงของแต่ละสังคมโดยเน้นความเหมาะสมและกลมกลืนกับวิถีชิวิตจริง และอาจจำเป็นต้องมี
การดัดแปลงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence-based) ตามความเหมาะสมโดยผู้ให้และผู้ได้รับการ
รักษาใช้แนวคิดในการรักษาเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

More Related Content

What's hot

คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยาคู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยาUtai Sukviwatsirikul
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาPain clinic pnk
 
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กPain clinic pnk
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Utai Sukviwatsirikul
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01kroojaja
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยาคู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
 
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee 2553
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
อจท. แผน 1 1 วิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 

Viewers also liked

09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 5909 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59Utai Sukviwatsirikul
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)techno UCH
 
โรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างโรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างAoom Sam
 
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacistการจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacistUtai Sukviwatsirikul
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (10)

09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 5909 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
09 arincare tutorial เพิ่มคนไข้ ในapp 29 9 59
 
ปวดหลัง
ปวดหลังปวดหลัง
ปวดหลัง
 
Cpn corporate report q1 2016
Cpn corporate report q1 2016Cpn corporate report q1 2016
Cpn corporate report q1 2016
 
Back pain
Back painBack pain
Back pain
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
โรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างโรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่าง
 
Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..
 
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacistการจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addiction
 

Similar to Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia

Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyUtai Sukviwatsirikul
 
TAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementTAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementtaem
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nursetaem
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser6a3b56
 

Similar to Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia (20)

Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
TAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementTAEM10:Pain management
TAEM10:Pain management
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
07
0707
07
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurse
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia

  • 1. ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552 ISBN 978-974-300-906-8 จัดทำโดย สมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย Myofascial Pain Syndrome Fibromyalgia แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
  • 2. แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ชื่อหนังสือ แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ Myofascial Pain Syndrome Fibromyalgia จัดทำโดย สมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 จำนวนพิมพ์ 5,000 เล่ม ISBN 978-974-300-906-8 พิมพ์ที่ บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) 65/16 ถนนชัยพฤกษ์ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170
  • 3. แนวทางการรักษานี้ เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสุขภาพ ที่เหมาะสมกับทรัพยากร และเงื่อนไขของสังคมไทย โดยหวังผลในการสร้างเสริม และแก้ไขปัญหาสุขภาพของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้ไม่ใช่ข้อบังคับของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ ขึ้นอยู่กับกรณีหรือสถานการณ์ที่แตกต่างออกไป หรือมีเหตุผลที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณ และการตัดสินใจที่เป็นที่ยอมรับในสังคม
  • 4. แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ คำนำ ปวดเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย อุบัติการณ์ในอเมริกาและยุโรปพบว่าอยู่ระหว่าง 15 - 20% ของประชากรและกลุ่มที่พบบ่อยคือ กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล (myofascial pain syndrome) และกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดไฟโบรมัยอัลเจีย (fibromyalgia) ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ ของวงการแพทย์ โดยนิยามของ “อาการปวดเรื้อรัง” หมายถึงอาการปวดที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องหรือเกิดซ้ำอย่าง สม่ำเสมอเป็นเวลามากกว่า 3 เดือน เนื่องจากความชุกและความยากของการวินิจฉัยและผลการรักษาที่ ยังจำกัดในประสิทธิผล อาการปวดเรื้อรังจึงเป็นเรื่องท้าทายและได้รับความสนใจอย่างมากในขณะนี้ การขาดแนวทางเวชปฏิบัติ (clinical practice guideline: CPG) โดยเฉพาะแนวทางเวชปฏิบัติที่สอดคล้อง และเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงของประเทศไทยเป็นปัจจัยสำคัญที่นำมาซึ่งความขัดแย้งของ ผู้ให้การรักษา สิ่งที่ตามมาคือการสูญเสียผลประโยชน์ของผู้ป่วย ด้วยเหตุนี้ทางสมาคมการศึกษาเรื่อง ความปวดแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นองค์กรในรูปแบบสหสาขาวิชาชีพทางการแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ มีหน้าที่หลักในการส่งเสริมด้านวิชาการ การวิจัย และให้บริการด้านความปวดจึงได้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติ ในกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อที่พบบ่อยและยังไม่มีการจัดทำในประเทศไทยมาก่อน 2 เรื่องคือ 1. กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล (myofascial pain syndrome: MPS) ที่มีปัญหาในเวชปฏิบัติทั่วไปจากความหลากหลายในรูปแบบการรักษา (practice variation) และ 2. กลุ่ม อาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดไฟโบรมัยอัลเจีย (fibromyalgia: FMS) ที่มีปัญหาในเวชปฏิบัติทั่วไป จากความหลากหลายในอาการ (clinical variation) และปัญหาด้านทัศนคติ (attitude) ของสังคมต่อผู้ป่วย และผู้ป่วยต่อโรค การจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโดยสมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทยครั้งนี้ มุ่งประเด็นของ “อาการปวดเรื้อรัง” ซึ่งมักจะมีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ไม่ว่าจะเป็นอุบัติการณ์ และความแตกต่างในเรื่อง ความเหมาะสมของการรักษา เนื่องจากปัจจัยความแตกต่างทางวัฒนธรรม และสังคมตลอดจนสภาวะเศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแนวทางเบื้องต้น สำหรับผู้ที่มีความสำคัญเป็นอันดับแรกคือ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (general practitioner) ในการดูแลผู้ป่วย เหล่านี้โดยเน้นความเป็นไปได้จริงตามศักยภาพโดยรวมของระบบสาธารณสุขของประเทศไทย อันจะนำ ประโยชน์สูงสุดมาสู่ผู้ป่วย (รศ. นพ. ประดิษฐ์ ประทีปะวณิช) ประธานคณะผู้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติกลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
  • 5. รายนามคณะผู้จัดทำ 1. รศ. นพ. ประดิษฐ์ ประทีปะวณิช นายกสมาคมการศึกษาเรื่องความปวด ประธาน แห่งประเทศไทย 2. รศ. นพ. ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ 3. รศ. ดร. ภญ. จุฑามณี สุทธิสีสังข์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการ 4. นพ. ประสิทธิ์ ลักษณสมบูรณ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กรรมการ 5. นพ. ธวัช บูรถาวรสม กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ กรรมการ การแพทย์ทางเลือก 6. รศ. พญ. พงศ์ภารดี เจาฑะเกษตริน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กรรมการ 7. ผศ. นพ. วิษณุ กัมทรทิพย์ ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู กรรมการ แห่งประเทศไทย 8. รศ. นพ. สุรินทร์ ธนพิพัฒนศิริ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กรรมการ 9. รศ. พญ. สุดสบาย จุลกทัพพะ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กรรมการ 10. นพ. สุรจิต สุนทรธรรม ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย กรรมการ 11. พญ. เอมวลี อารมย์ดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กรรมการ และเลขานุการ 12. ภก. พงศธร มีสวัสดิ์สม คณะเภสัชศาสตร์ กรรมการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และผู้ช่วยเลขานุการ
  • 6. แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ สารบัญ หน้า คำนำ รายนามคณะผู้จัดทำ ข้อแนะนำการใช้ CPG วิธีการสืบค้นข้อมูล บทนำ บทที่ 1 กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล (Myofascial Pain Syndrome) 1 1.1 อุบัติการณ์ 1 1.2 ลักษณะทางคลินิก 1 1.3 พยาธิกำเนิด 1 1.4 การวินิจฉัย 2 1.5 การประเมินปัญหา 3 1.6 การวินิจฉัยแยกโรค 4 1.7 การรักษา 4 1.7.1 การรักษา primary MPS 4 1.7.2 การรักษา secondary MPS 7 1.7.3 การรักษา MPS ที่มี co-morbid 10 1.7.4 ข้อควรคำนึงในการรักษา chronic MPS 10 1.8 เกณฑ์การส่งต่อ 13 บทที่ 2 อาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดไฟโบรมัยอัลเจีย (Fibromyalgia) 15 2.1 อุบัติการณ์ 15 2.2 พยาธิกำเนิด 15 2.3 การวินิจฉัย 16 2.4 การวินิจฉัยแยกโรค 18 2.5 การประเมิน FMS 19 2.6 การรักษา 20 2.6.1 การรักษาด้วยยา 21 2.6.2 การรักษาโดยไม่ใช่ยา 25 2.7 การประเมินผลการรักษา 27 2.8 การพยากรณ์โรค 27 2.9 เกณฑ์การส่งต่อ 28 ภาคผนวก แบบประเมินผลกระทบของโรคไฟโบรมัยอัลเจีย ฉบับภาษาไทย (Thai-FIQ) 32
  • 7. ข้อแนะนำการใช้ CPG CPG เปรียบเสมือนคู่มือที่มีเป้าหมายเพื่อช่วยในการวินิจฉัยและการดูแลรักษาที่ถูกต้อง การใช้ CPG เหมือนกับการใช้แผนที่เมื่อหลงทางหรือติดขัด ณ จุดใดก็เปิดดูรายละเอียดและศึกษาข้อมูล ณ จุดนั้น ซึ่งอาจเป็นตารางหรือรายละเอียดในภาคผนวกท้ายเล่ม น้ำหนักคำแนะนำ (Strength of Recommendation) น้ำหนัก ++ หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำให้ทำอยู่ในระดับสูงเพราะมาตรการดังกล่าว มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ป่วยและคุ้มค่า (cost effective) “ควรทำ” น้ำหนัก + หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำให้ทำอยู่ในระดับปานกลางเนื่องจากมาตรการ ดังกล่าวอาจมีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและอาจคุ้มค่าในภาวะจำเพาะ “น่าทำ” น้ำหนัก +/- หมายถึง ความมั่นใจยังไม่เพียงพอในการให้คำแนะนำเนื่องจากมาตรการ ดังกล่าวยังมีหลักฐานไม่เพียงพอในการสนับสนุนหรือคัดค้านว่าอาจมีหรืออาจ ไม่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและอาจไม่คุ้มค่าแต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ดังนั้นการตัดสินใจกระทำขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นๆ “อาจทำหรือไม่ทำ” น้ำหนัก - หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำห้ามทำอยู่ในระดับปานกลางเนื่องจาก มาตรการดังกล่าวไม่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและไม่คุ้มค่า หากไม่จำเป็น “ไม่น่าทำ” น้ำหนัก - - หมายถึง ความมั่นใจของคำแนะนำห้ามทำอยู่ในระดับสูงเพราะมาตรการ ดังกล่าว อาจเกิดโทษหรือก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย “ไม่ควรทำ” คุณภาพของหลักฐานทางวิชาการ (Classification of References) Level of evidence A หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ randomized, controlled clinical trials หรือหลักฐานที่ได้จาก randomized, controlled clinical trials ที่ดำเนิน การอย่างเหมาะสม Level of evidence B หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ controlled clinical study หรือ หลักฐานที่ได้จาก controlled clinical study (เช่น nonrandomized, controlled trial, cohort study, case-control study, cross sectional study) ที่ดำเนินการอย่าง เหมาะสม หรือหลักฐานที่ได้จากการวิจัยทางคลินิกที่ใช้รูปแบบการวิจัยอื่น และ ผลการวิจัยพบประโยชน์หรือโทษจากการปฏิบัติรักษาที่เด่นชัดมาก หรือเรื่อง ดังกล่าวไม่มีผลงานวิจัยประเภท randomized, controlled clinical trials แต่ได้นำเอา หลักฐานที่ได้จาก randomized, controlled clinical trials ในประชากรกลุ่มอื่นหรือ เรื่องอื่นที่คล้ายคลึงกันมาใช้เป็นหลักฐาน หรือหลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ randomized, controlled clinical trials หรือ randomized, controlled clinical trials ที่ดำเนินการไม่เหมาะสม
  • 8. แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ Level of evidence C หมายถึง หลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ descriptive study หรือ หลักฐานที่ได้จาก descriptive study ซึ่งหมายถึงรายงานผู้ป่วยหนึ่งรายหรือ มากกว่า หรือหลักฐานที่ได้จาก systematic review ของ controlled clinical study หรือ controlled clinical study ที่ดำเนินการไม่เหมาะสมหรือหลักฐานที่ได้จาก controlled clinical trials ในประชากรกลุ่มอื่นหรือเรื่องอื่นที่คล้ายคลึงกัน Level of evidence D หมายถึง หลักฐานที่ได้จากความเห็นหรือฉันทามติ (consensus) ของคณะ ผู้เชี่ยวชาญ เนื่องจากไม่มีหลักฐานจากผลงานวิจัยทางคลินิก หรือผลงานวิจัย ทางคลินิกที่มีอยู่ ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสถานการณ์และ สถานภาพของ การประกอบวิชาชีพ ในประเทศไทยหรือมีเพียงหลักฐานทางห้องปฏิบัติการ หมายเหตุ : Level of evidence (สารราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 18 ฉบับที่ 6 พ.ย. - ธ.ค. พ.ศ. 2544)
  • 9. วิธีการสืบค้นข้อมูล คณะผู้นิพนธ์/ผู้จัดทำแนวทางการรักษาภาวะปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อได้ทำการ สืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Medline, Cochrane library, EMBASE และแหล่งข้อมูลอื่นๆ เช่น งานวิจัยที่ได้ รับการนำเสนอในระดับนานาชาติ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1966 ถึงเดือนมกราคม 2009 โดยใช้คำสำคัญดังต่อไปนี้ musculoskeletal pain, epidemiology, assessment, treatment, diagnosis, guideline, rehabilitation, complementary medicine, alternative medicine, acupuncture, myofascial pain syndrome, fibromyalgia ในส่วนของบรรณานุกรม จะระบุเฉพาะ key articles เท่านั้น
  • 10. แนวทางเวชปฏิบัติ กลุ่มอาการปวดเรื้อรังระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ บทนำ “อาการปวด” ตามนิยามของ International Association for the Study of Pain (IASP 1979) หมายถึง ความรู้สึกไม่สบายทางกายหรือจิตใจอันเนื่องมาจากมีหรือแนวโน้มที่จะมีการบาดเจ็บของ เนื้อเยื่อ หรือแม้เป็นเพียงความรู้สึกที่ราวกับว่ามีการบาดเจ็บ ในเวชปฏิบัติ “อาการปวด” เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยโดยทำหน้าที่เป็นสัญญาณเตือนภัยที่มี ความไวสูง เพื่อบอกให้ทราบว่ามีความผิดปกติหรืออันตรายเกิดขึ้น ความสำคัญข้อนี้ทำให้อาการปวด ถูกจัดเป็นสัญญาณชีพที่ห้า (The Fifth Vital Sign) เพราะ “อาการปวด” มีความเกี่ยวข้องกับแพทย์และ บุคลากรทางการแพทย์ทุกสาขา เพียงแต่อาจแตกต่างกันในบทบาทหน้าที่ การรวบรวมองค์ความรู้ในการ รักษาความปวดได้รับความสนใจมากในขณะนี้ ดังจะเห็นได้จากการเพิ่มขึ้นของชมรมและสมาคมการ ศึกษาเรื่องความปวดอย่างต่อเนื่องทั้งระดับท้องถิ่น และระดับสากล หลายประเทศมีหลักสูตรเฉพาะสาขา ด้านการรักษาอาการปวด (pain medicine) นำมาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ๆ มากมาย แต่ที่ยังเป็นปัญหาหลัก ขณะนี้คือ “อาการปวดเรื้อรัง” เนื่องจากความยากของการวินิจฉัย และผลการรักษาที่ยังจำกัดใน ประสิทธิผล ดังข้อความที่ใช้ในการรณรงค์เพื่อต่อสู้กับอาการปวดว่า “มีน้อยคนที่ตายจากความปวด หลายคนตายพร้อมกับอาการปวด แต่ที่พบได้มากกว่าคือ ที่ต้องอยู่กับความปวด” ในการรักษาอาการปวดเรื้อรัง (อาการปวดที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องหรือเกิดซ้ำอย่างสม่ำเสมอเป็น เวลานานกว่า 3 เดือน) ข้อสำคัญที่สุด คือต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติแต่เดิมที่มักเข้าใจว่าปวดเรื้อรังเป็น เพียงแค่อาการหรือปัญหาทางจิตแต่จัดเป็นโรคโดยตัวของมันเอง (A Disease in Itself) ดังกรณีของ myofascial pain syndrome และ fibromyalgia อันจะนำมาซึ่งทัศนคติใหม่ของการรักษาที่สอดคล้องกับ ความเป็นจริงของแต่ละสังคมโดยเน้นความเหมาะสมและกลมกลืนกับวิถีชิวิตจริง และอาจจำเป็นต้องมี การดัดแปลงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (evidence-based) ตามความเหมาะสมโดยผู้ให้และผู้ได้รับการ รักษาใช้แนวคิดในการรักษาเป็นไปในแนวทางเดียวกัน