SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การใช้ อนซู ลนในผู้ป่วยเบาหวาน
ิ ิ

Human insulin ถูกคิดค้นเพื่อนำมำใช้ควบคุมระดับน้ ำตำลในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 และในผูป่วย
้
้
เบำหวำนชนิดที่ 2 บำงรำย ต่อมำมีกำรผลิตอนุพนธ์ของอินซูลิน ( insulin analogue) โดยเปลี่ยนโครงสร้ำงของ
ั
อินซูลินเพื่อออกฤทธิ์ได้ดีข้ ึน ใกล้เคียงกับอินซูลินที่หลังออกมำจำกตับอ่อนและลดปั ญหำภำวะน้ ำตำลต่ำ อนุพนธ์
ั
่
ของอินซูลินประกอบด้วยอินซูลินชนิดที่ออกฤทธิ์เร็ ว (rapid acting) เหมำะที่จะใช้ลดน้ ำตำลหลังอำหำร (prandial
insulin) ได้แก่ Insulin Lispro (ค.ศ. 1996) และ Insulin Aspart (ค.ศ. 2000) อนุพนธ์ของอินซูลินที่ออกฤทธิ์ยำว
ั
คือออกฤทธิ์นำน 24 ชัวโมง ใช้เป็ น basal insulin ได้แก่ Insulin Glargine(ค.ศ. 2000) และ Insulin Detemir (ค.ศ.
่
2005) นอกจำกนี้ยงมีกำรเปลี่ยนแปลง delivery system ของอินซูลิน เช่น insulin pump และ inhale insulin ทั้งนี้
ั
เพื่อให้มีกำรใช้อินซูลินได้ง่ำยและสะดวกขึ้นนันเอง
่
ชนิดของอินซูลน
ิ
สำมำรถแบ่งอินซูลินตำมระยะเวลำในกำรออกฤทธิ์ ได้เป็ น 4 ประเภท คือ (ตำรำงที่1 และรู ปที่ 2)
1.
rapid-acting insulin เป็ นอนุพนธ์ของอินซูลิน (insulin analogue) ที่ได้จำกกำรเปลี่ยนแปลง
ั
amino acid บำงตัวบนสำยอินซูลินได้แก่ insulin lispro(สลับตำแหน่งระหว่ำง proline และ lysine ที่ตำแหน่ง 28
และ 29 ของ carboxy terminal บน B-chain) insulin aspart (นำ aspartic acid มำแทนที่ proline ที่ตำแหน่ง 28 บน
B-chain) และ insulin glulisine (ไม่มีใช้ในประเทศไทย)
ลักษณะเด่น
- เป็ นอินซูลินชนิดใสที่เริ่ มออกฤทธิ์เร็ วภำยใน 15-30 นำที แนะนำให้ฉีดก่อน
รับประทำน 15 นำที นอกจำกนี้ยงสำมำรถฉี ดหลังรับประทำนอำหำรได้ไม่เกิน 15 นำที ใช้เป็ น prandial insulin
ั
- สำมำรถให้อินซูลินชนิดนี้ทำง IV, SC., IM, CSII(continuous subcutaneous insulin
infusion or insulin pump therapy)
- มีหลักฐำนเฉพำะใน insulin lispro และ insulin aspart ว่ำสำมำรถใช้ในหญิง
ตั้งครรภ์และเด็กที่อำยุ > 2 ปี
- ลดภำวะ early postprandial hyperglycemia และ late postprandial hypoglycemia
แต่ลดระดับ HA1C ได้เทียบเท่ำกับ regular insulin
2.
Short-acting insulin ได้แก่ regular insulin
ลักษณะเด่นเป็ นอินซูลินชนิดใสที่เริ่ มออกฤทธิ์ภำยใน 30-60 นำที แนะนำให้ฉีดก่อนรับประทำนอำหำร
ประมำณครึ่ งชัวโมง อินซูลินชนิดนี้สำมำรถให้ทำงหลอดเลือดดำได้
่
3.
Intermediate-acting insulin เป็ นอินซูลินที่มีลกษณะขุ่นและไม่สำมำรถฉี ดเข้ำทำงหลอดเลือด
ั
ดำ สำมำรถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ
3.1 NPH (Neutral Protamine Hagedorn หรื อ Isophane insulin) ใช้ protamine เป็ นสำรที่ทำให้อินซูลิน
ออกฤทธิ์นำนขึ้น อินซูลินชนิดนี้ออกฤทธิ์ภำยใน 2-4 ชัวโมง
่
3.2 Lente insulin ใช้สงกะสี (Zinc) เป็ นสำรที่ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์นำนขึ้น ระยะเวลำของกำรออก
ั
ฤทธิ์ชำกว่ำ NPH insulin เล็กน้อย โดยเริ่ มออกฤทธิ์ภำยใน 3-4 ชัวโมง
้
่
ตำรำงที่ 1 ชนิดของอินซูลินแบ่งตำมระยะเวลำกำรออกฤทธิ์
Preparation
Trade name
Onset
Rapid-acting insulin
Lispro
Aspart
Short acting insulin
Regular
Intermediate acting insulin
NPH (isophane)
Lente (insulin zinc suspension)
Long acting insulin
Glargine
Detemir
Pre-mixed insulin
70%NPH / 30%Regular
75% protaminated Lispro / 25% Lispro
70% Protaminated aspart / 30% aspart

Timing of Action
Peak
Duration

Humalog
Novorapid

15-30 นำที 30-90 นำที

3-5 ชัวโมง
่

Humulin R
Actrapid HM

30-60 นำที 1-2 ชัวโมง
่

5-8 ชัวโมง
่

Humulin
Insulatard
Monotard

2-4 ชัวโมง 6-10 ชัวโมง 10-16 ชัวโมง
่
่
่

Lantus
Levemir

1-2 ชัวโมง Less peak
่
1-2 ชัวโมง Less peak
่

24 ชัวโมง
่
20-22 ชัวโมง
่

Humulin 70/30
Mixtard30
Humalog mix 25
Novomix 30

30-60 นำที Dual

10-16 ชัวโมง
่

15-30 นำที Dual
15-30 นำที Dual

10-16 ชัวโมง
่
10-16 ชัวโมง
่

3-4 ชัวโมง 6-12 ชัวโมง 12-18 ชัวโมง
่
่
่

รู ปที่ 2 แสดง time-action profiles หลังจำกฉี ดยำเข้ำใต้ผิวหนัง (subcutaneous injection) ของ insulin aspart,
insulin lispro, regular insulin, NPH insulin, insulin detemir และ insulin glargine
4.
Long-acting insulin ได้แก่ ultralente (ปั จจุบนไม่มีผลิตในประเทศไทยแล้ว) และอนุพนธ์ของ
ั
ั
อินซูลิน ซึ่งออกฤทธิ์ได้นำนถึง 24 ชัวโมงหรื อเกือบถึง 24 ชัวโมง ประกอบด้วย insulin glargine และ insulin
่
่
detemir
ลักษณะเด่นของอนุพนธ์อินซูลิน
ั
- มีกำรดัดแปลงโครงสร้ำงเพื่อให้สำมำรถออกฤทธิ์ได้นำน 24 ชัวโมง โดย insulin
่
glargine มีกำรเปลี่ยน asparagines ที่ตำแหน่ง 21 บน A chain เป็ น glycine และเพิ่ม arginine 2 โมเลกุลที่ carboxyl
terminal บน B chain ทำให้มีกำรเปลี่ยนแปลง isoelectric point จำก pH 5.4 เป็ น 6.7 (จึงทำให้มีอำกำรปวดแสบ
บริ เวณที่ฉีดยำ) ทำให้กำรแตกตัวของอินซูลินช้ำลงที่ physiologic pH (pH 7.0) ส่วน insulin detemir ดัดแปลง
โครงสร้ำงโดยกำจัดกรดอะมิโน threonine ที่ตำแหน่ง 30 ใน B chain ออกไป และเติม myristic fatty acid ซึ่งมี
carbon 14 ตัวที่ amino group ของกรดอะมิโน Lysine 29 ใน B chain ลงไป กำรเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้ insulin
detemir สำมำรถจับกับ albumin ที่ตำแหน่ง long-chain fatty acid binding site บน albumin ได้ ซึ่งจะปล่อยออกได้
ในภำยหลัง อินซูลินชนิดนี้มี pH เป็ น neutral
- ทั้งสองชนิดเป็ นอินซูลินใส ไม่มีสี ไม่สำมำรถผสมกับอินซูลินชนิดอื่นได้ ใช้เป็ น
basal insulin ฉี ดวันละหนึ่งถึงสองครั้ง ควำมแปรปรวนของระยะเวลำในกำรออกฤทธิ์นอยกว่ำ NPH
้
- เมื่อเปรี ยบเทียบกับ NPH ทำให้อุบติกำรณ์กำรเกิดภำวะน้ ำตำลในเลือดต่ำในช่วง
ั
กลำงคืน (symptomatic nocturnal hypoglycemia) และภำวะน้ ำตำลต่ำในเลือดโดยรวม (symptomatic overall
hypoglycemia) ลดลง โดยที่ไม่พบควำมแตกต่ำงของระดับ HbA1C และอุบติกำรณ์กำรเกิดภำวะน้ ำตำลต่ำในเลือด
ั
ระดับรุ นแรง (severe hypoglycemia)
- พิจำรณำเลือกใช้ในผูป่วยที่มีปัญหำภำวะน้ ำตำลในเลือดต่ำจำกกำรใช้
้
conventional basal insulin (NPH)
- ข้อเด่นของ insulin detemir คือ น้ ำหนักมักไม่เพิ่มขึ้นหรื อเพิ่มขึ้นน้อยเมื่อเทียบกับ
basal insulin ตัวอื่น
- ไม่แนะนำให้ใช้ในผูป่วยตั้งครรภ์ เนื่องจำกไม่มีขอมูลทำงคลินิกที่ชดเจน มีขอมูล
้
้
ั
้
ว่ำ insulin glargine สำมำรถจับกับ IGF1 receptor ได้มำกกว่ำ human insulin 6-8 เท่ำ
5.
premixed insulin คืออินซูลินที่ผสมมำก่อนแล้วจำกผูผลิตในสัดส่วนต่ำง ๆ กัน คือ regular
้
insulin กับ NPH insulin, lispro กับ neutral protamine lispro(NPL) และ aspart กับ neutral protamine aspart ใน
สัดส่วน 70:30 ลักษณะเด่นของ premixed analogue คือเกิดอุบติกำรณ์ของกำรเกิดภำวะน้ ำตำลในเลือดต่ำ
ั
โดยเฉพำะ nocturnal hypoglycemia ต่ำกว่ำ โดยที่ลด HbA1C ได้ไม่แตกต่ำงกัน เมื่อเปรี ยบเทียบกับกำรใช้
premixed human insulin
รู ปที่ 2 แสดงโครงสร้ำงของอนุพนธ์ของอินซูลิน (Insulin analogue)
ั
รู ปแบบของการบริหารอินซู ลนในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 (รู ปที่ 4)
ิ
วัตถุประสงค์กำรใช้อินซูลินหรื ออนุพนธ์ของอินซูลิน ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
ั
1. basal insulin เป็ นอินซูลินที่หลังจำกตับอ่อนตลอดเวลำ ซึ่งจะมีผลในกำรรักษำระดับกลูโคสในเลือดให้
่
คงที่ โดยจะคอยยับยั้งกำรปลดปล่อยกลูโคสออกจำกตับไม่ให้มำกเกินไปและยับยั้งกระบวนกำรสลำยไขมัน โดย
คงสมดุลกับกำรใช้กลูโคสจำกเซลล์ต่ำง ๆ เช่น ซึ่งอินซูลินที่ใช้เพือวัตถุประสงค์น้ ี คือ
่
1.1 intermediate-acting insulin: NPH หรื อ lente ในตอนเช้ำและก่อนนอน
1.2 continuous subcutaneous insulin infusion (CSII) โดยอำศัยเครื่ องมือที่ทำหน้ำที่ฉีดอินซูลินเข้ำให้ผิวหนัง
ตลอดเวลำ
1.3 long-acting insulin analogue: insulin glargine และ detemir โดยให้วนละ 1-2 ครั้ง
ั
2. prandial insulin เป็ นอินซูลินที่หลังเมื่อมีกำรกระตุนจำกกำรดูดซึมกลูโคสจำกทำงเดินอำหำรทำหน้ำที่
้
่
นำกลูโคสไปใช้ในเซลล์ที่ตอบสนองต่ออินซูลิน ในขณะเดียวกันก็ยบยั้งกำรปลดปล่อยกลูโคสจำกตับด้วย วิธีที่ดี
ั
ที่สุดในกำรให้ prandial insulin คือกำรให้ regular insulin, insulin lispro หรื อ insulin aspart ก่อนอำหำรทุกมื้อ
3. correction-dose insulin ควบคุมระดับน้ ำตำลที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจำกภำวะอื่น เช่นได้รับยำ steroid ไม่
สบำย ได้รับสำรอำหำรทำงเส้นเลือด
วิธีการบริหารอินซูลนวิธีต่าง ๆ ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
ิ
1. Once daily insulin regimen (สำหรับผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 2 ที่ยงได้รับยำรักษำเบำหวำนชนิด
้
ั
รับประทำน) กำรให้อินซูลินวิธีน้ ี คือให้ intermediate-acting insulin (NPH) หรื อ long acting insulin (insulin
glargine หรื อ detemir) ตอนก่อนนอน สำหรับผูป่วยที่รับประทำนอำหำรมื้อเย็นที่มีปริ มำณคำร์โบไฮเดรตมำก
้
แนะนำให้เปลี่ยนเป็ นฉี ด pre-mixed insulin 70/30 ก่อนอำหำรเย็น
2. Flexible multiple-insulin regimen หรื อ multiple dose insulin injection (MDI)
กำรให้อินซูลินโดยวิธีน้ ีสำมำรถทำได้โดยฉี ด regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรทุกมื้อ และ
ฉี ด intermediate-acting insulin ตอนเช้ำและก่อนนอน
3. Split-and-mixed insulin regimen
กำรฉี ดอินซูลินโดยวิธีน้ ี เป็ นกำรฉี ดอินซูลินวันละ 2 ครั้ง (conventional insulin treatment) โดยฉี ด
intermediate-acting insulin ร่ วมกับ regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรเช้ำและเย็น
4. Split-and-mixed insulin program with bedtime intermediate insulin)
เป็ นกำรฉี ดอินซูลินชนิด intermediate-acting insulin ร่ วมกับ regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรเช้ำ
ฉี ด regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรเย็น และฉี ด intermediate-acting insulin ก่อนนอน กำรฉี ด
วิธีน้ ีช่วยให้ควบคุมระดับน้ ำตำลก่อนอำหำรเช้ำได้ดีข้ ึน โดยลดโอกำสเกิดน้ ำตำลต่ำช่วงกลำงคืน
5. Continuous subcutaneous insulin infusion (CSII) หรื อ Insulin pump therapy
เป็ นวิธีกำรบริ หำรอินซูลินโดยอำศัยเครื่ องมือที่นำอินซูลินเข้ำสู่ร่ำงกำยตลอดเวลำ และมีกำรเพิ่มขนำดยำให้
ั
สัมพันธ์กบมื้ออำหำร ซึ่งเป็ นกำรเลียนแบบธรรมชำติที่มีท้ ง basal และ prandial insulin ในปั จจุบน อินซูลินที่ใช้
ั
ั
ส่วนใหญ่คือ rapid acting insulin analogue
6. Intravenous insulin infusion
เป็ นกำรบริ หำรอินซูลินโดยกำรให้ทำงหลอดเลือดดำ อินซูลินที่ใช้เป็ นอินซูลินชนิดออกฤทธิ์ส้ น หรื อ insulin
ั
analogue เท่ำนั้น โดยมีขอบ่งชี้คือ
้
1. คนไข้ระหว่ำงและหลังผ่ำตัด ตลอดจน organ transplantation
2. คนไข้ที่มี Acute diabetic complication DKA, hyperosmolar hyperglycemic state
3. ผูป่วยภำวะวิกฤต ได้แก่ septic shock, acute myocardial infarction, stroke
้
4. ผูป่วยที่ระดับควำมดันต่ำ กำรให้ยำทำงใต้ผิวหนังอำจจะไม่ได้ประสิ ทธิภำพเต็มที่
้
่
5. ผูป่วยตั้งครรภ์อยูในระหว่ำงจะคลอด
้
6. ภำวะที่ตองกำรลดระดับน้ ำตำลลงเร็ ว ๆ เช่นติดเชื้อ ชัก
้
ข้อเสี ยของกำรให้วธีน้ ีคืออำจเกิดภำวะ hypoglycemia, hypokalemia ดังนั้นจึงแนะนำให้ตรวจวัดระดับ
ิ
potassium และ monitor น้ ำตำลเป็ นระยะ ๆ
7. Inhaled insulin
่
เป็ นอินซูลินชนิดใหม่ ซึ่งปัจจุบนได้เลิกผลิตแล้ว เคยมีใช้แล้วในสหรัฐอเมริ กำ ซึ่งอยูในรู ปแบบ dry powder
ั
ใช้ชื่อทำงกำรค้ำว่ำ Exubera ของบริ ษท Pfizer เป็ น pranial insulin ซึ่งออกฤทธิ์เร็ วใกล้เคียงกับ insulin analogue
ั
หรื อเร็ วกว่ำเล็กน้อย และระยะเวลำกำรออกฤทธิ์จะนำนกว่ำ insulin analogue แต่ส้ นกว่ำ regular insulinคือออก
ั
ฤทธิ์ประมำณ 10 นำทีหลังจำกพ่นยำ และ peak ประมำณ 50 นำที ออกฤทธิ์ได้นำน 30-90 นำที inhaled insulin
เหมำะกับผูป่วยที่กลัวเข็ม (needle phobia) และมี extensive lipodystrophy
้
FDA approved ให้ Exubera ใช้ได้ท้ งผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 โดยในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1
ั ้
้
ใช้ inhaled insulin เป็ น short acting prandial insulin ร่ วมกับ subcutaneous basal insulin ในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่
้
2 สำมำรถใช้ inhaled insulin เป็ นยำเดี่ยว ใช้ร่วมกับยำเม็ดลดระดับน้ ำตำล หรื อใช้ร่วมกับ intermediate หรื อ long
acting insulin Inhaled insulin ไม่ถูก approved ให้ใช้ในคนท้อง เด็ก หรื อวัยรุ่ น
Exubera ห้ำมใช้ในผูป่วยที่สูบบุหรี่ หรื อผูป่วยที่หยุดสูบบุหรี่ มำไม่นำนกว่ำ 6 เดือน เนื่องจำกในผูป่วย
้
้
้
กลุ่มดังกล่ำวทำให้อตรำและปริ มำณกำรดูดซึมยำมำกกว่ำปรกติ ในผูป่วยที่เป็ น passive smoker, asthma,
ั
้
bronchitis, emphysema ก็ไม่ควรใช้ inhaled insulin เช่นกัน เนื่องจำกผูป่วยกลุ่มดังกล่ำวจะมีกำรดูดซึมยำที่ไม่
้
แน่นอน (unpredictable)
มีขอแนะนำให้ติดตำมผูป่วยที่ใช้ inhaled insulin โดยตรวจสอบสมรรถภำพของปอด (lung function test)
้
้
หลังจำกเริ่ มใช้ inhaled insulin ภำยใน 6 เดือน และทุกปี ถัดจำกนั้น
New drugs to treat diabetes
Amylin analog
Pramlintide
Amylin เป็ นฮอร์โมนที่หลังออกมำจำกเบต้ำเซลล์พร้อมกับอินซูลิน มีหน้ำที่คือยับยั้งกำรหลังกลูคำกอน
่
ทำให้ gastric emptying time ช้ำลง มีผลต่อพฤติกรรมกำรรับประทำนและมีผลกับกำรควบคุมน้ ำหนักตัว
pramlintide เป็ น analogue ของ amylin มีขอมูลว่ำช่วยลดระดับน้ ำตำลหลังมื้ออำหำร ลดควำม
้
แปรปรวนของระดับน้ ำตำล ลด HbA1C ลดน้ ำหนักตัว และทำให้ลดขนำดอินซูลินที่ฉีดได้
ใช้โดยฉี ด subcutaneous เป็ นกำรรักษำเสริ มในกรณี ที่ยงมีน้ ำตำลหลังมื้ออำหำรสูงแม้ได้รับกำรรักษำ
ั
แบบ conventional แล้ว หำกใช้ร่วมกับอินซูลิน อำจต้องลดขนำด prandial insulin ที่ฉีดประมำณ 50% สำมำรถใช้
ร่ วมกับ basal และ prandial insulin ในผูป่วยเบำหวำนทั้งชนิดที่ 1 (ขนำด 15-60 µg ก่อนอำหำรทุกมื้อ) และชนิดที่
้
2 (ขนำด 60-120 µg ก่อนอำหำรทุกมื้อ) ควรมีกำร monitor ระดับน้ ำตำลบ่อยขึ้น และไม่นำให้ใช้ในผูป่วย
้
เบำหวำนที่มี hypoglycemia unawareness หรื อ gastroparesis
Incretin Mimetics
Exenatide
Incretin คือฮอร์โมนที่หลังมำจำกลำไส้เมื่อมีกำรรับประทำนอำหำร มีฤทธิ์ช่วยลดระดับน้ ำตำลในเลือด
่
หลังมื้ออำหำรได้ ประกอบด้วย glucose-dependent insulinotropic polypeptide (GIP) และ glucagons-like
peptide1 (GLP-1) นอกจำกลดน้ ำตำลหลังมื้ออำหำรแล้ว (เป็ น glucose dependent คือหลังออกมำเมื่อระดับน้ ำตำล
่
ในเลือดสูง เมื่อระดับน้ ำตำลลดลงน้อยกว่ำประมำณ 70 mg/dL จะหยุดหลัง จึงทำให้เกิดภำวะน้ ำตำลต่ำน้อยมำก)
่
ยังยับยั้งกำรหลังกลูคำกอน ทำให้ gastric emptying time ช้ำลง น้ ำหนักตัวลดลง ทำให้อิ่ม มีหลักฐำนเฉพำะใน
่
สัตว์ทดลองว่ำช่วยเพิ่ม proliferation ของ ß-cell ได้
Exenatide เป็ น incretin mimetics ออกฤทธิ์เหมือน GLP-1 FDA approve ให้ใช้ exenatide ในผูป่วย
้
เบำหวำนชนิดที่สองเท่ำนั้น ซึ่งสำมำรถใช้ร่วมดับ secretagogue (sulfonylurea), metformin, sulfonylurea และ
metformin, thiazolidinedione และ thiazolidinedione และ metformin
ใช้โดยฉี ด subcutaneous ขนำด 5-10 µg วันละสองครั้ง ห้ำมใช้ในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 และห้ำมใช้
แทนอินซูลินในผูป่วยที่เป็ น insulin dependent ไม่แนะนำให้ใช้ในผูป่วยที่เป็ น end-stage renal disease หรื อมี
้
้
2
creatinine clearance < 30 mL/min/1.73m มีรำยงำนกำรเกิด pancreatitis ในผูป่วยที่ใช้ exenatide ซึ่ งยังไม่ทรำบ
้
สำเหตุชดเจน
ั
Suggesting readings
1. Hirsch IB. Insulin analogues. N Engl J Med 2005 352:2;174-83.
2. Hirsch IB, Bergenstal RM, Parkin CG, Wight E, Buse J B. A real-world approach to insulin therapy in
primary care practice. Clinical Diabetes 2005; 2:23:78-86.
3. Skyler, JS. Insulin Treatment, In therapy for and related disorders, fourth edition. American Diabetes
Assoiation, 2004. pp 207-223
4. K, Jeitler K, Berghold A, Ebrahim SH, Gratzer TW, Plank J, et al. A Long-acting insulin analogues
versus NPH insulin (human isophane insulin) for type 2 diabetes (Review). The Cochrane
Collaboration
5. Lisa K. Insulin-pharmacoogy, type of regimens and adjustments. Endotext Chapter 13
6. Siebenhofer A, Plank J, Berghold A, Jeitler K, Horvath K, et al. Short acting insulin analogues versus
regular human insulin in patients with diabetes mellitus (Review). The Cochrane Collaboration
7. AACE Diabetes Mellitus Guideline, Endocr Pract. 2007;13(suppl 1) 16-34

More Related Content

What's hot

ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 

What's hot (20)

Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 

Viewers also liked

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (6)

Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman FilterIn–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
In–Cylinder Air Estimation on Diesel Dual Fuel Engine Using Kalman Filter
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Potassium Imbalance
Potassium ImbalancePotassium Imbalance
Potassium Imbalance
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Insulin

  • 1. การใช้ อนซู ลนในผู้ป่วยเบาหวาน ิ ิ Human insulin ถูกคิดค้นเพื่อนำมำใช้ควบคุมระดับน้ ำตำลในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 และในผูป่วย ้ ้ เบำหวำนชนิดที่ 2 บำงรำย ต่อมำมีกำรผลิตอนุพนธ์ของอินซูลิน ( insulin analogue) โดยเปลี่ยนโครงสร้ำงของ ั อินซูลินเพื่อออกฤทธิ์ได้ดีข้ ึน ใกล้เคียงกับอินซูลินที่หลังออกมำจำกตับอ่อนและลดปั ญหำภำวะน้ ำตำลต่ำ อนุพนธ์ ั ่ ของอินซูลินประกอบด้วยอินซูลินชนิดที่ออกฤทธิ์เร็ ว (rapid acting) เหมำะที่จะใช้ลดน้ ำตำลหลังอำหำร (prandial insulin) ได้แก่ Insulin Lispro (ค.ศ. 1996) และ Insulin Aspart (ค.ศ. 2000) อนุพนธ์ของอินซูลินที่ออกฤทธิ์ยำว ั คือออกฤทธิ์นำน 24 ชัวโมง ใช้เป็ น basal insulin ได้แก่ Insulin Glargine(ค.ศ. 2000) และ Insulin Detemir (ค.ศ. ่ 2005) นอกจำกนี้ยงมีกำรเปลี่ยนแปลง delivery system ของอินซูลิน เช่น insulin pump และ inhale insulin ทั้งนี้ ั เพื่อให้มีกำรใช้อินซูลินได้ง่ำยและสะดวกขึ้นนันเอง ่ ชนิดของอินซูลน ิ สำมำรถแบ่งอินซูลินตำมระยะเวลำในกำรออกฤทธิ์ ได้เป็ น 4 ประเภท คือ (ตำรำงที่1 และรู ปที่ 2) 1. rapid-acting insulin เป็ นอนุพนธ์ของอินซูลิน (insulin analogue) ที่ได้จำกกำรเปลี่ยนแปลง ั amino acid บำงตัวบนสำยอินซูลินได้แก่ insulin lispro(สลับตำแหน่งระหว่ำง proline และ lysine ที่ตำแหน่ง 28 และ 29 ของ carboxy terminal บน B-chain) insulin aspart (นำ aspartic acid มำแทนที่ proline ที่ตำแหน่ง 28 บน B-chain) และ insulin glulisine (ไม่มีใช้ในประเทศไทย) ลักษณะเด่น - เป็ นอินซูลินชนิดใสที่เริ่ มออกฤทธิ์เร็ วภำยใน 15-30 นำที แนะนำให้ฉีดก่อน รับประทำน 15 นำที นอกจำกนี้ยงสำมำรถฉี ดหลังรับประทำนอำหำรได้ไม่เกิน 15 นำที ใช้เป็ น prandial insulin ั - สำมำรถให้อินซูลินชนิดนี้ทำง IV, SC., IM, CSII(continuous subcutaneous insulin infusion or insulin pump therapy) - มีหลักฐำนเฉพำะใน insulin lispro และ insulin aspart ว่ำสำมำรถใช้ในหญิง ตั้งครรภ์และเด็กที่อำยุ > 2 ปี - ลดภำวะ early postprandial hyperglycemia และ late postprandial hypoglycemia แต่ลดระดับ HA1C ได้เทียบเท่ำกับ regular insulin 2. Short-acting insulin ได้แก่ regular insulin ลักษณะเด่นเป็ นอินซูลินชนิดใสที่เริ่ มออกฤทธิ์ภำยใน 30-60 นำที แนะนำให้ฉีดก่อนรับประทำนอำหำร ประมำณครึ่ งชัวโมง อินซูลินชนิดนี้สำมำรถให้ทำงหลอดเลือดดำได้ ่ 3. Intermediate-acting insulin เป็ นอินซูลินที่มีลกษณะขุ่นและไม่สำมำรถฉี ดเข้ำทำงหลอดเลือด ั ดำ สำมำรถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ 3.1 NPH (Neutral Protamine Hagedorn หรื อ Isophane insulin) ใช้ protamine เป็ นสำรที่ทำให้อินซูลิน ออกฤทธิ์นำนขึ้น อินซูลินชนิดนี้ออกฤทธิ์ภำยใน 2-4 ชัวโมง ่ 3.2 Lente insulin ใช้สงกะสี (Zinc) เป็ นสำรที่ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์นำนขึ้น ระยะเวลำของกำรออก ั ฤทธิ์ชำกว่ำ NPH insulin เล็กน้อย โดยเริ่ มออกฤทธิ์ภำยใน 3-4 ชัวโมง ้ ่
  • 2. ตำรำงที่ 1 ชนิดของอินซูลินแบ่งตำมระยะเวลำกำรออกฤทธิ์ Preparation Trade name Onset Rapid-acting insulin Lispro Aspart Short acting insulin Regular Intermediate acting insulin NPH (isophane) Lente (insulin zinc suspension) Long acting insulin Glargine Detemir Pre-mixed insulin 70%NPH / 30%Regular 75% protaminated Lispro / 25% Lispro 70% Protaminated aspart / 30% aspart Timing of Action Peak Duration Humalog Novorapid 15-30 นำที 30-90 นำที 3-5 ชัวโมง ่ Humulin R Actrapid HM 30-60 นำที 1-2 ชัวโมง ่ 5-8 ชัวโมง ่ Humulin Insulatard Monotard 2-4 ชัวโมง 6-10 ชัวโมง 10-16 ชัวโมง ่ ่ ่ Lantus Levemir 1-2 ชัวโมง Less peak ่ 1-2 ชัวโมง Less peak ่ 24 ชัวโมง ่ 20-22 ชัวโมง ่ Humulin 70/30 Mixtard30 Humalog mix 25 Novomix 30 30-60 นำที Dual 10-16 ชัวโมง ่ 15-30 นำที Dual 15-30 นำที Dual 10-16 ชัวโมง ่ 10-16 ชัวโมง ่ 3-4 ชัวโมง 6-12 ชัวโมง 12-18 ชัวโมง ่ ่ ่ รู ปที่ 2 แสดง time-action profiles หลังจำกฉี ดยำเข้ำใต้ผิวหนัง (subcutaneous injection) ของ insulin aspart, insulin lispro, regular insulin, NPH insulin, insulin detemir และ insulin glargine
  • 3. 4. Long-acting insulin ได้แก่ ultralente (ปั จจุบนไม่มีผลิตในประเทศไทยแล้ว) และอนุพนธ์ของ ั ั อินซูลิน ซึ่งออกฤทธิ์ได้นำนถึง 24 ชัวโมงหรื อเกือบถึง 24 ชัวโมง ประกอบด้วย insulin glargine และ insulin ่ ่ detemir ลักษณะเด่นของอนุพนธ์อินซูลิน ั - มีกำรดัดแปลงโครงสร้ำงเพื่อให้สำมำรถออกฤทธิ์ได้นำน 24 ชัวโมง โดย insulin ่ glargine มีกำรเปลี่ยน asparagines ที่ตำแหน่ง 21 บน A chain เป็ น glycine และเพิ่ม arginine 2 โมเลกุลที่ carboxyl terminal บน B chain ทำให้มีกำรเปลี่ยนแปลง isoelectric point จำก pH 5.4 เป็ น 6.7 (จึงทำให้มีอำกำรปวดแสบ บริ เวณที่ฉีดยำ) ทำให้กำรแตกตัวของอินซูลินช้ำลงที่ physiologic pH (pH 7.0) ส่วน insulin detemir ดัดแปลง โครงสร้ำงโดยกำจัดกรดอะมิโน threonine ที่ตำแหน่ง 30 ใน B chain ออกไป และเติม myristic fatty acid ซึ่งมี carbon 14 ตัวที่ amino group ของกรดอะมิโน Lysine 29 ใน B chain ลงไป กำรเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้ insulin detemir สำมำรถจับกับ albumin ที่ตำแหน่ง long-chain fatty acid binding site บน albumin ได้ ซึ่งจะปล่อยออกได้ ในภำยหลัง อินซูลินชนิดนี้มี pH เป็ น neutral - ทั้งสองชนิดเป็ นอินซูลินใส ไม่มีสี ไม่สำมำรถผสมกับอินซูลินชนิดอื่นได้ ใช้เป็ น basal insulin ฉี ดวันละหนึ่งถึงสองครั้ง ควำมแปรปรวนของระยะเวลำในกำรออกฤทธิ์นอยกว่ำ NPH ้ - เมื่อเปรี ยบเทียบกับ NPH ทำให้อุบติกำรณ์กำรเกิดภำวะน้ ำตำลในเลือดต่ำในช่วง ั กลำงคืน (symptomatic nocturnal hypoglycemia) และภำวะน้ ำตำลต่ำในเลือดโดยรวม (symptomatic overall hypoglycemia) ลดลง โดยที่ไม่พบควำมแตกต่ำงของระดับ HbA1C และอุบติกำรณ์กำรเกิดภำวะน้ ำตำลต่ำในเลือด ั ระดับรุ นแรง (severe hypoglycemia) - พิจำรณำเลือกใช้ในผูป่วยที่มีปัญหำภำวะน้ ำตำลในเลือดต่ำจำกกำรใช้ ้ conventional basal insulin (NPH) - ข้อเด่นของ insulin detemir คือ น้ ำหนักมักไม่เพิ่มขึ้นหรื อเพิ่มขึ้นน้อยเมื่อเทียบกับ basal insulin ตัวอื่น - ไม่แนะนำให้ใช้ในผูป่วยตั้งครรภ์ เนื่องจำกไม่มีขอมูลทำงคลินิกที่ชดเจน มีขอมูล ้ ้ ั ้ ว่ำ insulin glargine สำมำรถจับกับ IGF1 receptor ได้มำกกว่ำ human insulin 6-8 เท่ำ 5. premixed insulin คืออินซูลินที่ผสมมำก่อนแล้วจำกผูผลิตในสัดส่วนต่ำง ๆ กัน คือ regular ้ insulin กับ NPH insulin, lispro กับ neutral protamine lispro(NPL) และ aspart กับ neutral protamine aspart ใน สัดส่วน 70:30 ลักษณะเด่นของ premixed analogue คือเกิดอุบติกำรณ์ของกำรเกิดภำวะน้ ำตำลในเลือดต่ำ ั โดยเฉพำะ nocturnal hypoglycemia ต่ำกว่ำ โดยที่ลด HbA1C ได้ไม่แตกต่ำงกัน เมื่อเปรี ยบเทียบกับกำรใช้ premixed human insulin
  • 4. รู ปที่ 2 แสดงโครงสร้ำงของอนุพนธ์ของอินซูลิน (Insulin analogue) ั รู ปแบบของการบริหารอินซู ลนในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 (รู ปที่ 4) ิ วัตถุประสงค์กำรใช้อินซูลินหรื ออนุพนธ์ของอินซูลิน ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ั 1. basal insulin เป็ นอินซูลินที่หลังจำกตับอ่อนตลอดเวลำ ซึ่งจะมีผลในกำรรักษำระดับกลูโคสในเลือดให้ ่ คงที่ โดยจะคอยยับยั้งกำรปลดปล่อยกลูโคสออกจำกตับไม่ให้มำกเกินไปและยับยั้งกระบวนกำรสลำยไขมัน โดย คงสมดุลกับกำรใช้กลูโคสจำกเซลล์ต่ำง ๆ เช่น ซึ่งอินซูลินที่ใช้เพือวัตถุประสงค์น้ ี คือ ่ 1.1 intermediate-acting insulin: NPH หรื อ lente ในตอนเช้ำและก่อนนอน 1.2 continuous subcutaneous insulin infusion (CSII) โดยอำศัยเครื่ องมือที่ทำหน้ำที่ฉีดอินซูลินเข้ำให้ผิวหนัง ตลอดเวลำ 1.3 long-acting insulin analogue: insulin glargine และ detemir โดยให้วนละ 1-2 ครั้ง ั 2. prandial insulin เป็ นอินซูลินที่หลังเมื่อมีกำรกระตุนจำกกำรดูดซึมกลูโคสจำกทำงเดินอำหำรทำหน้ำที่ ้ ่ นำกลูโคสไปใช้ในเซลล์ที่ตอบสนองต่ออินซูลิน ในขณะเดียวกันก็ยบยั้งกำรปลดปล่อยกลูโคสจำกตับด้วย วิธีที่ดี ั ที่สุดในกำรให้ prandial insulin คือกำรให้ regular insulin, insulin lispro หรื อ insulin aspart ก่อนอำหำรทุกมื้อ 3. correction-dose insulin ควบคุมระดับน้ ำตำลที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจำกภำวะอื่น เช่นได้รับยำ steroid ไม่ สบำย ได้รับสำรอำหำรทำงเส้นเลือด วิธีการบริหารอินซูลนวิธีต่าง ๆ ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ิ 1. Once daily insulin regimen (สำหรับผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 2 ที่ยงได้รับยำรักษำเบำหวำนชนิด ้ ั รับประทำน) กำรให้อินซูลินวิธีน้ ี คือให้ intermediate-acting insulin (NPH) หรื อ long acting insulin (insulin glargine หรื อ detemir) ตอนก่อนนอน สำหรับผูป่วยที่รับประทำนอำหำรมื้อเย็นที่มีปริ มำณคำร์โบไฮเดรตมำก ้ แนะนำให้เปลี่ยนเป็ นฉี ด pre-mixed insulin 70/30 ก่อนอำหำรเย็น
  • 5. 2. Flexible multiple-insulin regimen หรื อ multiple dose insulin injection (MDI) กำรให้อินซูลินโดยวิธีน้ ีสำมำรถทำได้โดยฉี ด regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรทุกมื้อ และ ฉี ด intermediate-acting insulin ตอนเช้ำและก่อนนอน 3. Split-and-mixed insulin regimen กำรฉี ดอินซูลินโดยวิธีน้ ี เป็ นกำรฉี ดอินซูลินวันละ 2 ครั้ง (conventional insulin treatment) โดยฉี ด intermediate-acting insulin ร่ วมกับ regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรเช้ำและเย็น 4. Split-and-mixed insulin program with bedtime intermediate insulin) เป็ นกำรฉี ดอินซูลินชนิด intermediate-acting insulin ร่ วมกับ regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรเช้ำ ฉี ด regular insulin หรื อ insulin analogue ก่อนอำหำรเย็น และฉี ด intermediate-acting insulin ก่อนนอน กำรฉี ด วิธีน้ ีช่วยให้ควบคุมระดับน้ ำตำลก่อนอำหำรเช้ำได้ดีข้ ึน โดยลดโอกำสเกิดน้ ำตำลต่ำช่วงกลำงคืน 5. Continuous subcutaneous insulin infusion (CSII) หรื อ Insulin pump therapy เป็ นวิธีกำรบริ หำรอินซูลินโดยอำศัยเครื่ องมือที่นำอินซูลินเข้ำสู่ร่ำงกำยตลอดเวลำ และมีกำรเพิ่มขนำดยำให้ ั สัมพันธ์กบมื้ออำหำร ซึ่งเป็ นกำรเลียนแบบธรรมชำติที่มีท้ ง basal และ prandial insulin ในปั จจุบน อินซูลินที่ใช้ ั ั ส่วนใหญ่คือ rapid acting insulin analogue 6. Intravenous insulin infusion เป็ นกำรบริ หำรอินซูลินโดยกำรให้ทำงหลอดเลือดดำ อินซูลินที่ใช้เป็ นอินซูลินชนิดออกฤทธิ์ส้ น หรื อ insulin ั analogue เท่ำนั้น โดยมีขอบ่งชี้คือ ้ 1. คนไข้ระหว่ำงและหลังผ่ำตัด ตลอดจน organ transplantation 2. คนไข้ที่มี Acute diabetic complication DKA, hyperosmolar hyperglycemic state 3. ผูป่วยภำวะวิกฤต ได้แก่ septic shock, acute myocardial infarction, stroke ้ 4. ผูป่วยที่ระดับควำมดันต่ำ กำรให้ยำทำงใต้ผิวหนังอำจจะไม่ได้ประสิ ทธิภำพเต็มที่ ้ ่ 5. ผูป่วยตั้งครรภ์อยูในระหว่ำงจะคลอด ้ 6. ภำวะที่ตองกำรลดระดับน้ ำตำลลงเร็ ว ๆ เช่นติดเชื้อ ชัก ้ ข้อเสี ยของกำรให้วธีน้ ีคืออำจเกิดภำวะ hypoglycemia, hypokalemia ดังนั้นจึงแนะนำให้ตรวจวัดระดับ ิ potassium และ monitor น้ ำตำลเป็ นระยะ ๆ 7. Inhaled insulin ่ เป็ นอินซูลินชนิดใหม่ ซึ่งปัจจุบนได้เลิกผลิตแล้ว เคยมีใช้แล้วในสหรัฐอเมริ กำ ซึ่งอยูในรู ปแบบ dry powder ั ใช้ชื่อทำงกำรค้ำว่ำ Exubera ของบริ ษท Pfizer เป็ น pranial insulin ซึ่งออกฤทธิ์เร็ วใกล้เคียงกับ insulin analogue ั หรื อเร็ วกว่ำเล็กน้อย และระยะเวลำกำรออกฤทธิ์จะนำนกว่ำ insulin analogue แต่ส้ นกว่ำ regular insulinคือออก ั ฤทธิ์ประมำณ 10 นำทีหลังจำกพ่นยำ และ peak ประมำณ 50 นำที ออกฤทธิ์ได้นำน 30-90 นำที inhaled insulin เหมำะกับผูป่วยที่กลัวเข็ม (needle phobia) และมี extensive lipodystrophy ้ FDA approved ให้ Exubera ใช้ได้ท้ งผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 โดยในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 ั ้ ้ ใช้ inhaled insulin เป็ น short acting prandial insulin ร่ วมกับ subcutaneous basal insulin ในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ ้ 2 สำมำรถใช้ inhaled insulin เป็ นยำเดี่ยว ใช้ร่วมกับยำเม็ดลดระดับน้ ำตำล หรื อใช้ร่วมกับ intermediate หรื อ long acting insulin Inhaled insulin ไม่ถูก approved ให้ใช้ในคนท้อง เด็ก หรื อวัยรุ่ น
  • 6. Exubera ห้ำมใช้ในผูป่วยที่สูบบุหรี่ หรื อผูป่วยที่หยุดสูบบุหรี่ มำไม่นำนกว่ำ 6 เดือน เนื่องจำกในผูป่วย ้ ้ ้ กลุ่มดังกล่ำวทำให้อตรำและปริ มำณกำรดูดซึมยำมำกกว่ำปรกติ ในผูป่วยที่เป็ น passive smoker, asthma, ั ้ bronchitis, emphysema ก็ไม่ควรใช้ inhaled insulin เช่นกัน เนื่องจำกผูป่วยกลุ่มดังกล่ำวจะมีกำรดูดซึมยำที่ไม่ ้ แน่นอน (unpredictable) มีขอแนะนำให้ติดตำมผูป่วยที่ใช้ inhaled insulin โดยตรวจสอบสมรรถภำพของปอด (lung function test) ้ ้ หลังจำกเริ่ มใช้ inhaled insulin ภำยใน 6 เดือน และทุกปี ถัดจำกนั้น New drugs to treat diabetes Amylin analog Pramlintide Amylin เป็ นฮอร์โมนที่หลังออกมำจำกเบต้ำเซลล์พร้อมกับอินซูลิน มีหน้ำที่คือยับยั้งกำรหลังกลูคำกอน ่ ทำให้ gastric emptying time ช้ำลง มีผลต่อพฤติกรรมกำรรับประทำนและมีผลกับกำรควบคุมน้ ำหนักตัว pramlintide เป็ น analogue ของ amylin มีขอมูลว่ำช่วยลดระดับน้ ำตำลหลังมื้ออำหำร ลดควำม ้ แปรปรวนของระดับน้ ำตำล ลด HbA1C ลดน้ ำหนักตัว และทำให้ลดขนำดอินซูลินที่ฉีดได้ ใช้โดยฉี ด subcutaneous เป็ นกำรรักษำเสริ มในกรณี ที่ยงมีน้ ำตำลหลังมื้ออำหำรสูงแม้ได้รับกำรรักษำ ั แบบ conventional แล้ว หำกใช้ร่วมกับอินซูลิน อำจต้องลดขนำด prandial insulin ที่ฉีดประมำณ 50% สำมำรถใช้ ร่ วมกับ basal และ prandial insulin ในผูป่วยเบำหวำนทั้งชนิดที่ 1 (ขนำด 15-60 µg ก่อนอำหำรทุกมื้อ) และชนิดที่ ้ 2 (ขนำด 60-120 µg ก่อนอำหำรทุกมื้อ) ควรมีกำร monitor ระดับน้ ำตำลบ่อยขึ้น และไม่นำให้ใช้ในผูป่วย ้ เบำหวำนที่มี hypoglycemia unawareness หรื อ gastroparesis Incretin Mimetics Exenatide Incretin คือฮอร์โมนที่หลังมำจำกลำไส้เมื่อมีกำรรับประทำนอำหำร มีฤทธิ์ช่วยลดระดับน้ ำตำลในเลือด ่ หลังมื้ออำหำรได้ ประกอบด้วย glucose-dependent insulinotropic polypeptide (GIP) และ glucagons-like peptide1 (GLP-1) นอกจำกลดน้ ำตำลหลังมื้ออำหำรแล้ว (เป็ น glucose dependent คือหลังออกมำเมื่อระดับน้ ำตำล ่ ในเลือดสูง เมื่อระดับน้ ำตำลลดลงน้อยกว่ำประมำณ 70 mg/dL จะหยุดหลัง จึงทำให้เกิดภำวะน้ ำตำลต่ำน้อยมำก) ่ ยังยับยั้งกำรหลังกลูคำกอน ทำให้ gastric emptying time ช้ำลง น้ ำหนักตัวลดลง ทำให้อิ่ม มีหลักฐำนเฉพำะใน ่ สัตว์ทดลองว่ำช่วยเพิ่ม proliferation ของ ß-cell ได้ Exenatide เป็ น incretin mimetics ออกฤทธิ์เหมือน GLP-1 FDA approve ให้ใช้ exenatide ในผูป่วย ้ เบำหวำนชนิดที่สองเท่ำนั้น ซึ่งสำมำรถใช้ร่วมดับ secretagogue (sulfonylurea), metformin, sulfonylurea และ metformin, thiazolidinedione และ thiazolidinedione และ metformin ใช้โดยฉี ด subcutaneous ขนำด 5-10 µg วันละสองครั้ง ห้ำมใช้ในผูป่วยเบำหวำนชนิดที่ 1 และห้ำมใช้ แทนอินซูลินในผูป่วยที่เป็ น insulin dependent ไม่แนะนำให้ใช้ในผูป่วยที่เป็ น end-stage renal disease หรื อมี ้ ้ 2 creatinine clearance < 30 mL/min/1.73m มีรำยงำนกำรเกิด pancreatitis ในผูป่วยที่ใช้ exenatide ซึ่ งยังไม่ทรำบ ้ สำเหตุชดเจน ั Suggesting readings
  • 7. 1. Hirsch IB. Insulin analogues. N Engl J Med 2005 352:2;174-83. 2. Hirsch IB, Bergenstal RM, Parkin CG, Wight E, Buse J B. A real-world approach to insulin therapy in primary care practice. Clinical Diabetes 2005; 2:23:78-86. 3. Skyler, JS. Insulin Treatment, In therapy for and related disorders, fourth edition. American Diabetes Assoiation, 2004. pp 207-223 4. K, Jeitler K, Berghold A, Ebrahim SH, Gratzer TW, Plank J, et al. A Long-acting insulin analogues versus NPH insulin (human isophane insulin) for type 2 diabetes (Review). The Cochrane Collaboration 5. Lisa K. Insulin-pharmacoogy, type of regimens and adjustments. Endotext Chapter 13 6. Siebenhofer A, Plank J, Berghold A, Jeitler K, Horvath K, et al. Short acting insulin analogues versus regular human insulin in patients with diabetes mellitus (Review). The Cochrane Collaboration 7. AACE Diabetes Mellitus Guideline, Endocr Pract. 2007;13(suppl 1) 16-34