SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
 




    แนวทางการดูแลผูปวยโรคสะเก็ดเงิน
                   
             (psoriasis)




                   93
 




    Clinical Practice Guideline for Psoriasis
                                                                                 นายแพทยนภดล นพคุณ
                                                                             แพทยหญิงณัฎฐา รัชตะนาวิน
                                                                            นายแพทยปวน สุทธิพินจธรรม
                                                                                                 ิ
                                                                           แพทยหญิงพรทิพย ภูวบัณฑิตสิน
                                                                                 แพทยหญิงรัศนี อัครพันธุ
                                                                               แพทยหญิงชนิษฎา ตูจินดา
                                                                            แพทยหญิงเปรมจิต ไวยาวัจมัย
                                                                                  แพทยหญิงสุธินี รัตนิน
                                                                            นายแพทยพลเกียรติ สุชนวณิช
                                                                                         ู

ความนํา
          โรคสะเก็ดเงิน (psoriasis) เปนโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง โดยมีลักษณะสําคัญคือ ผื่น
ผิวหนังมีอาการแดง ขุยหนา อาจมีอาการคัน โรคสะเก็ดเงินมีความสัมพันธกับระบบตางๆ ในรางกาย
หลายระบบ เชนมีความสัมพันธกับโรคขออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis), inflammatory bowel
disease, พันธุกรรมและสิ่งแวดลอมก็เปนปจจัยสงเสริมใหเกิดโรคและกระตุนใหมอาการได  ี
นิยาม
โรคสะเก็ดเงิน เปนโรคเรื้อรัง เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันโดยมี ทําใหมีการอักเสบ รวมกับมี
การแบงตัวของเซลผิวหนังเร็วผิดปกติ
ระบาดวิทยา
โรคสะเก็ดเงินพบไดประมาณรอยละ 1-2 ของประชากรทั้งหมด พบไดทุกเชื้อชาติ อัตราการเกิดโรค
เทากันทั้งเพศชายและเพศหญิง จากการศึกษาในผูปวยโรคสะเก็ดเงินจํานวน 2,400 ราย พบความถี่ใน
การเกิดโรคมี 2 ชวงคือชวงอายุนอย (22.5 ป)และอายุมาก (55 ป)(1, 2) ผูปวยโรคสะเก็ดเงินที่แสดงอาการ
ของโรคตั้งแตอายุนอยจะพบมีความรุนแรงของโรคมากกวากลุมผูปวยอายุมากและพบมีโอกาสที่คนใน
ครอบครัวจะเปนโรคสะเก็ดเงินดวย
สาเหตุ
ยัง ไม ท ราบสาเหตุ ที่ แ น ชั ด จากหลั ก ฐานในป จจุ บั น ทราบว าน า จะเกิ ด จากหลายป จ จั ยร ว มกั น ได แ ก
พันธุกรรม ระบบภูมิคุมกันและปจจัยกระตุนภายนอก




                                                        94
 


ประเภทของโรคสะเก็ดเงิน
Plaque psoriasis
        เป นลั ก ษณะผื่ นผิว หนั งที่ พ บบอยที่ สุด ประมาณรอ ยละ 80-90 ของผูปว ยทั้งหมด รอยโรคมี
ลักษณะเปนผื่นแดงหนา ขอบเขตชัด สะเก็ดหนา ขุยมาก ขนาดตั้งแต 1 เซ็นติเมตรขึ้นไป พบบอยบริเวณ
หนังศีรษะ ลําตัว กนและแขนขาทั้งสองขาง โดยเฉพาะบริเวณ extensor เชน ขอศอก เขา เปนตน
ประมาณรอยละ 80 ของผูปวยมีความรุนแรงนอยถึงปานกลาง เพียงรอยละ 20 เทานั้นที่มีความรุนแรง
ปานกลางถึงมาก คือมีรอยโรคทั่วรางกายมากกวารอยละ 10 ของพื้นที่ผิวรางกายทั้งหมด หรือมีรอยโรค
ในตําแหนงที่สาคัญ เชน มือ เทา หนา และอวัยวะเพศ เปนตน
                ํ
Guttate psoriasis
        เปนสะเก็ดเงินที่มีรอยโรคเปนตุมแดง มีขุย (fine scale) ตุมมีขนาดเล็กไมเกิน 1 เซ็นติเมตร
บริเวณลําตัว ตนแขน ตนขา พบไดนอยกวารอยละ 10-20 ของผูปวยทั้งหมด ผูปวยมักมีอายุนอยกวา 30
ป และอาจมีประวัติการติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน โดยเฉพาะ group A beta-hemolytic streptococci
นํามากอนประมาณ 2-3 สัปดาห อาจเปนอาการครั้งแรกของผูปวย หรือเปนการกําเริบในผูปวย plaque
psoriasis ที่มอาการมานานก็ได
              ี
Pustular psoriasis
        รอยโรคมีลักษณะเปนตุมหนอง แบงไดเปน
    - Generalized pustular หรือ acute generalized variant (von Zumbusch variant) เปนโรคสะเก็ด
        เงินชนิดรุนแรงที่มีตุมหนอง กระจายทั่วผิวหนังที่มีการอักเสบแดง
    - Localized pustular variant มักพบบริเวณ ฝามือ ฝาเทา โดยอาจมี plaque psoriasis รวมดวยได
Erythrodermic psoriasis
        เปนผื่นรอยโรคที่มีลักษณะแดงเกือบทั่วพื้นที่ผิวทั้งหมดของรางกาย มีปริมาณขุยที่แตกตางกันไป
อาจพัฒนาจาก plaque psoriasis หรือเกิดไดทันที นอกจากนี้อาจพบ ไขสูง ออนเพลีย หนาวสั่น และการ
สูญเสียน้ําและโปรตีนในรางกาย (dehydration and hypoalbuminemia) รวมดวยได
Inverse psoriasis
       คือสะเก็ดเงินที่ผื่นรอยโรคในบริเวณซอกพับของรางกาย ไดแก รักแร บริเวณอวัยวะเพศ ขาหนีบ
และใตราวนม เปนตน เนื่องจากบริเวณเหลานี้มีความชุมชื้นอยูแลว จึงพบมีขุยหรือสะเก็ดไมมาก
Psoriatic nails
       ความผิดปกติของเล็บสามารถพบรวมดวยในโรคสะเก็ดเงินทุกประเภท พบที่นิ้วมือไดรอยละ 50
ในขณะที่น้ิวเทาพบไดรอยละ 35 ของผูปวยทั้งหมด ความผิดปกติไดแก pitting, onycholysis, subungual
hyperkeratosis และ oil-drop sign สําหรับกลุมขออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis) มักมีความ
ผิดปกติท่เล็บรวมดวยไดถึงรอยละ 90
         ี




                                                 95
 


Psoriatic arthritis
          ขออักเสบสะเก็ดเงิน คือการอักเสบของขอที่เกิดจากโรคสะเก็ดเงิน ซึ่งมีความสําคัญเนื่องจากการ
อักเสบของขอในโรคสะเก็ดเงินมักทําใหเกิดการพิการผิดรูปไดบอย อุบัติการแตกตางกันมากตามกลุม
ผูปวยที่ทาการศึกษาขอมูลพบไดรอยละ 1-40 ของผูปวยโรคสะเก็ดเงิน
           ํ
การวินิจฉัย อาศัยประวัติและการตรวจรางกายเปนหลัก
ลักษณะทางคลินิก
          ประวัติ
              1.เปนผื่นเรื้อรัง
              2.อาจจะมีหรือไมมีอาการคัน
              3.บางรายมีประวัติครอบครัว
              4.ผื่นอาจกําเริบไดภายหลังภาวะติดเชื้อ ความเครียด หรือหลังไดรับยาบางชนิด เชน lithium,
              antimalaria, beta-blocker, NSAIDS และ alcohol
          การตรวจรางกาย
              ผิวหนัง มีผื่นหนาสีแดง ขอบชัดเจนคลุมดวยขุยซึ่งพบไดหลายลักษณะ อาทิ ขุยหนาขาว
              คลายสีเงิน ซึ่งสามารถขูดออกไดงาย และเมื่อขูดขุยออกหมดจะมีจุดเลือดออกบนรอยผื่น
              (Auspitz’s sign) ขุยขาวละเอียด ขุยสีเหลืองผื่นสะเก็ดเงินอาจเกิดบนรอยแผลถลอกหรือรอย
              แผลผาตัด (Koebner phenomenon)
              เล็บ พบมีหลุม(pitting) เล็บรอน(onycholysis) ปลายเล็บหนามีขุยใตเล็บ (subungual
              hyperkeratosis) หรือ จุดสีน้ําตาลใตเล็บ(oil spot)
              ขอ มีการอักเสบของเอ็นและขอซึ่งอาจเปนไดทั้งขอใหญ ขอเล็ก เปนขอเดียว หรือ หลายขอ
              โดยสวนใหญการอักเสบที่ distal interphalangeal joint ถือเปนลักษณะจําเพาะของโรคขอ
              อักเสบสะเก็ดเงินและอาจจะมีขอพิการตามหลังการอักเสบเรื้อรัง

การประเมินความรุนแรงของโรค
      • The Psoriasis Area and Severity Index (PASI) เปนการประเมินความรุนแรงของผื่นจาก
          body surface area involvement, erythema, induration and scaling ของผื่นในสวนตางๆ
          ของรางกาย โดยทั่วไปควรประเมิน PASI กอนการรักษา ระหวางการรักษา และสิ้นสุดการ
          รักษา (รายละเอียดการคํานวณหาPASI score ดังภาคผนวก)
      • Body surface area (BSA) เปนการประเมินความรุนแรงของผื่นโดยดูพื้นที่ของผิวหนังที่
          เปนโรค วิธีการวัดโดยใชฝามือของผูปวยเปนเครื่องวัดกําหนดให 1 ฝามือของผูปวยเปนรอย
          ละ 1 ของพื้นที่ผิวหนังทั้งหมด
      • Dermatology Life Quality Index (DLQI) เปนการประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยโรค
          ผิวหนัง(2) (รายละเอียดดังภาคผนวก)
      แบงความรุนแรงของโรคสะเก็ดเงินดังนี้

                                                 96
 


            • Mild psoriasis หมายถึง สะเก็ดเงินความรุนแรงนอย โดยดูจากพื้นที่รอยโรค < 10%
              body surface area (BSA), PASI<10, DLQI <10
            • Moderate to severe psoriasis หมายถึง สะเก็ดเงินความรุนแรงปานกลางถึงมากโดยดู
              จากพื้นที่รอยโรค >10% BSA, PASI > 10, DLQI> 10
            • ผื่นสะเก็ดเงินที่ใบหนา มือและเทา รวมทั้งอวัยวะเพศ แมพื้นที่ของรอยโรคจะนอยกวา
              10% แตหากสงผลตอคุณภาพชีวิตของผูปวยจะจัดอยูในกลุม moderate to severe
              psoriasis

การตรวจทางหองปฏิบัติการ
      การตรวจทางพยาธิวิทยา พยาธิสภาพของผื่นสะเก็ดเงินจะมีลักษณะเฉพาะ แตไมจาเปนตองทํา        ํ
      การตรวจทุ ก ราย อาจทํ า เพื่ อ ช ว ยในการวิ นิ จ ฉั ย แยกโรค เพื่ อ ยื น ยั น การวิ นิ จ ฉั ย และช ว ย
      วินิจฉัยโรคในกรณีที่มีปญหา
      การตรวจตอไปนี้เลือกทําเฉพาะผูปวยที่มีอาการ หรือขอบงชี้
               1.ยอมสีกรัมและเพาะเชื้อแบคทีเรีย ถามีตุมหนอง
               2.ถามีอาการขออักเสบอาจสงตรวจทางรังสีและตรวจหา rheumatoid factor เพื่อแยกโรค
               rheumatoid arthritis
               3.ในรายที่มีอาการรุนแรง เฉียบพลันหรือมีปจจัยเสี่ยง ควรเจาะ anti HIV antibody

การตรวจหาโรคที่เกิดรวมกับโรคสะเก็ดเงิน (Medical comorbidities associated with psoriasis )
      Metabolic syndrome: กลุมโรคที่ประกอบดวย obesity, diabetes mellitus, dyslipidemia
      (hypertriglyceridemia and low high-density lipoprotein) และ hypertension พบวาผูปวยโรค
      สะเก็ดเงินมีอุบัติการการเกิด metabolic syndrome มากกวาผูปวยที่ไมเปนโรคสะเก็ดเงินและ
      นําไปสู cardiovascular disease ตอมา(3-8)ดังนั้นจึงควรตรวจรางกาย วัดความดัน ชั่งน้ําหนัก วัด
      สวนสูง เพื่อประเมิน BMI และเจาะเลือด ไดแก fasting blood sugar, lipid profiles เพื่อหาโรคใน
      กลุม metabolic syndrome ในผูปวยโรคสะเก็ดเงิน
      Autoimmune diseases: ขอมูลในตางประเทศ พบอุบัติการการเกิดโรค Crohn’s disease และ
      ulcerative colitis ในผูปวยโรคสะเก็ดเงิน 3.8-7.5 เทาเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรทั่วไป(9)
      นอกจากนี้มีการศึกษาพบการเกิดโรค multiple sclerosis สูงขึ้นในครอบครัวที่เปนโรคสะเก็ดเงิน
      สนับสนุนวามีความสัมพันธทางพันธุกรรมระหวางโรคดังกลาว(10)
      Lymphoma การศึกษาในประเทศอังกฤษ พบอุบัติการการเกิดโรค lymphoma ในผูปวยโรค
      สะเก็ดเงินสูงขึ้น 3 เทาเมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมที่มีอายุ และเพศใกลเคียงกัน(11)




                                                     97
 


การรักษาโรคสะเก็ดเงิน
เนื่องจากโรคสะเก็ดเงินเปนโรคเรื้อรังที่ยังไมทราบสาเหตุชัดเจน การรักษาจึงเปนการผสมผสานวิธีการที่
หลากหลาย (combination therapy) แพทยผูรักษาจําเปนตองทราบขอดีขอเสีย และประสิทธิภาพของแต
ละวิธี โดยเลือกใชในแตละกรณี และมีการหมุนเวียนวิธีการรักษา (rotational therapy) เพื่อหลีกเลี่ยงและ
ลดผลขางเคียงจากการใชยาแตละประเภท
1. การรักษาตามมาตรฐาน (Standard treatment)
     1.1. ยาทาภายนอก
     1.2. ยารับประทาน
     1.3. การใชแสงแดดเทียม (Phototherapy, Photochemotherapy)
     1.4. ยาฉีดกลุมชีวภาพ
2. การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment)
3. การประคับประคองทางจิตใจ (Psychotherapy)

การใหความรูเกี่ยวกับโรคแกผูปวยและญาติ (Education)
   - โรคสะเก็ดเงินเปนโรคเรื้อรัง ที่มีอาการเดนทางผิวหนังอักเสบ ไมสามารถรักษาหายขาดไดแต
        สามารถควบคุมโรคได ในบางกรณีอาจมีผื่นตลอดชีวิต และโรคอาจมีการกําเริบเปนชวงๆ ได
   - โรคสะเก็ดเงินเปนโรคไมติดตอ
   - ควรหลีกเลี่ยงปจจัยกระตุนใหโรคกําเริบเชน การดื่มเหลา การแกะเกา และรบกวนผิวหนังใน
        ลักษณะตางๆ ผิวไหมแดงจากแสงแดด และ ความเครียด (stress) เปนตน
   - การติดเชื้อทําใหโรคกําเริบขึ้นได
   - ยาบางชนิด เชน ยาตานมาลาเรีย ยาลดความดันโลหิตกลุม beta-blocker, ยา lithium สามารถ
        กระตุนใหโรคกําเริบได
   - มีวิธีการรักษาโรคหลายวิธี ซึ่งแตละวิธมีขอดี ผลขางเคียง ประสิทธิภาพ และขอควรระวังแตกตาง
                                           ี
        กัน
การรักษาดวยยาทา (Topical therapy)
ยาทาที่มีใชในประเทศไทยปจจุบัน ไดแก
   1. Corticosteroids
   2. Tar
   3. Dithranol (Anthralin)
   4. Calcipotriol
   5. Calcineurin inhibitor
   6. Salicylic acid




                                                98
 


ยาทากลุมสเตียรอยด (Topical steroids)
กลไกการออกฤทธิ์
     - ลดการอักเสบ และลดการแบงตัวของเซลผิวหนัง โดยจับกับ glucocorticoid receptors
วิธีใช
     - ยาทากลุมสเตียรอยด มีหลายระดับความแรงของการออกฤทธิ์ใหเลือกใช การเลือกใชยาชนิดใด
        นั้นควรพิจารณาจากตําแหนงของรอยโรค ยาที่มีฤทธิ์ออนจะไดผลการรักษานอยกวาชนิดที่มีฤทธิ์
        แรงกวา แตยาที่มีฤทธิ์แรงจะใชไดบางบริเวณของรางกาย และควรใชในชวงสั้นๆเทานั้น
     - ยาที่มีฤทธิ์ออนอาจทาวันละ 1-2 ครั้งทุกวัน
                    
     - ยาที่มีฤทธิ์แรงควรทาวันละ 2 ครั้งตอเนื่องกันไมเกิน 2 สัปดาห หลังจากนั้นอาจทาวันเวนวัน หรือ
        สัปดาหละ 1-2 ครั้ง เพื่อควบคุมโรค
ประสิทธิภาพ
        เมื่อรักษาแบบ monotherapy ยาทาระดับความแรงปานกลางจะไดประสิทธิภาพการรักษาดีที่สุด
สําหรับยาทาที่มีฤทธิ์แรงจะมีประสิทธิภาพดีในชวง 2 สัปดาหแรกของการรักษา(12, 13) (คุณภาพหลักฐาน
ระดับ 1 ระดับคําแนะนําระดับ A)
ผลขางเคียงและขอควรระวัง
     - ผิวหนังบางลง
     - เกิดรอยแตกของผิวหนัง (Striae) ซึ่งตองระวังเปนอยางยิ่งบริเวณรักแร ขาหนีบ และซอกเรน
        ตางๆ
     - ยาถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดเกิดการกดการทํางานของตอมหมวกไต หากใชเปนบริเวณกวาง
        ตอเนื่องนานกวา 2 สัปดาห
     - การใชยาติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหประสิทธิภาพของยาลดลง (Tachyphylaxis)(14)
     -
        การใชยา topical steroid class I ทาตอเนื่องกันไมควรทาติดตอกันนานเกิน 2—4 สัปดาห และไม
        ควรใชปริมาณเกิน 50 กรัมตอสัปดาห(15)

น้ํามันดิน (Tars) (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B)
กลไกการออกฤทธิ์
     - กดการสราง DNA ในชั้นหนังกําพรา
      - ลดอาการอักเสบ
วิธีใช
ใชน้ํามันดินอยางเดียว
      - Tar bath ใช coal tar solution ผสมน้ํา ใหผูปวยแชนาน 10 นาที
      - ทาดวย Tar cream หรือ ointment บนผื่น ซึ่งตองระวังการระคายเคืองบริเวณขอพับและ บริเวณ
          อวัยวะเพศ (genital area)
     - หนังศีรษะ สระดวย Tar shampoo

                                                 99
 


ใชน้ํามันดินรวมกับการรักษาอื่น
    - ใชรวมกับยาทาคอรติโคสเตียรอยด
    - แช tar bath 15-30 นาทีตามดวยการฉาย UVB หรืออาบแดด
      - การรักษาแบบ Goeckerman คือ ใชน้ํามันดินทาทั้งตัว ทิ้งไวประมาณ 8-12 ชั่วโมง แลวลางยา
          ออกตามดวยการฉาย UVB
ประสิทธิภาพ
          ใหผลการรักษาดีกวาเมื่อเปรียบเทียบกับ placebo(16)
ผลขางเคียงและขอควรระวัง
      - รูขุมขนอักเสบ (folliculitis)
    - ผิวหนังระคายเคือง (irritant contact dermatitis)
      - ผิวหนังอักเสบจากการแพ (allergic contact dermatitis)
      - เปรอะเปอนเสื้อผา และมีกลิ่นเหม็น
      - น้ํามันดิน อาจเปนสารกอมะเร็ง ควรใชดวยความระมัดระวังเมื่อใชรวมกับการรักษาผื่น ซึ่งมีผลตอ
          มะเร็ง เชน UVB, PUVA

Anthralin (Dithranol) (คุณภาพหลักฐานระดับ 3 ระดับคําแนะนําระดับ C)
กลไกการออกฤทธิ์
     - กดการแบงตัวของเซลลชั้นหนังกําพรา
วิธีใช
     - การรักษาแบบ Short contact คือทา anthralin ทิ้งไว 15-30 นาที ถาไมมีอาการระคายเคืองให
        เพิ่ม ความเขมขนขึ้นไดเรื่อยๆ แลวเช็ดออกดวยน้ํามันมะกอกถาใชในรูปแบบขี้ผึ้ง หากใชยาในรูป
        ครีมสามารถใชน้ําเปลาลางออกได
     - การรักษาแบบ Ingram คือใชน้ํามันดิน ทาบริเวณผื่นแลวตามดวยการฉายรังสี UVB และทา
        anthralin กอนนอน
ประสิทธิภาพ
        การรักษาแบบ short contact therapy สามารถทําใหรอยโรคดีขึ้นรอยละ 10-72(17)
ผลขางเคียงและขอควรระวัง
     - มีการระคายเคืองของผิวหนัง
     - เปรอะเปอนเสื้อผา
     - ทําใหรอยโรคและผิวหนังปกติมีสีคล้ําเขมขึ้น




                                                 100
 


กลุม Vitamin D3 analogues (calcipotriol,calcitriol, tacalcitol, maxacalcitol) (คุณภาพหลักฐาน
ระดับ 1 ระดับคําแนะนําระดับ A)
กลไกการออกฤทธิ์
     - จับกับ vitamin D receptors
     - ทําใหการ differentiation ของเซลลกลับสูภาวะปกติ
วิธีใช
ใช Calcipotriol อยางเดียว
     - สําหรับผื่น psoriasis ชนิด plaque ทาวันละ 2 ครั้ง
     - ควรหลีกเลี่ยงผื่นที่หนาและบริเวณขอพับ
ใชรวมกับการรักษาอื่น
     - ใชรวมกับยาทาคอรติโคสเตียรอยดจะชวยลดการระคายเคืองจาก calcipotriol          และเสริม
         ประสิทธิภาพของการรักษา แตหามทาในเวลาเดียวกัน
     - ใช รวมกับ UVB หรือ PUVA
ประสิทธิภาพ
         ผลการรักษาที่ 8 สัปดาห ของผูปวยสองในสามในระดับดีถึงดีมาก(18)
ผลขางเคียงและขอควรระวัง
     - ผิวหนังระคายเคือง
     - เกิดภาวะ hypercalcemia ได(19) ดังนั้นไมควรใชเกิน 100 กรัม/สัปดาห

Calcineurin inhibitors (tacrolimus, pimecrolimus) (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ
B)
กลไกการออกฤทธิ์
     - จับกับ FK506-binding protein มีผลทําใหลดการสราง cytokine ที่ทําใหเกิดการอักเสบ
วิธีใช
     - ทาบริเวณรอยโรค 2 ครั้งตอวัน ไดผลดีเฉพาะรอยโรคบริเวณใบหนาและซอกพับตางๆ ไดผลไมดี
        สําหรับโรคสะเก็ดเงินชนิดผื่นหนา (plaque type)
ประสิทธิภาพ
        ในการรักษา facial and flexural psoriasis ใหผลการรักษาในระดับดีสูงกวากลุมที่ใชยาหลอก(20,
       21)

ผลขางเคียงและขอควรระวัง
   - ระคายเคืองบริเวณที่ทายา
   - ควรใชอยางระมัดระวังในผูปวยอายุต่ํากวา 2 ป



                                                101
 


Salicylic acid (การใชรวมกับยาอื่นใหดูหลักฐานตามตารางสรุปหนา 22)
กลไกการออกฤทธิ์
     -ทําใหมีการหลุดลอกของเซลลผิวหนัง
วิธใช
   ี
     - Salicylic acid มักผสมรวมกับยาทาชนิดอื่นๆ ซึ่งจะทําใหผลการรักษาดีขึ้นเนื่องจากทําใหการซึม
ผานของยาทาชนิดอื่นผานเขาผิวหนังดีขึ้น ใชทาบริเวณรอยโรควันละ 1-2 ครั้ง
ผลขางเคียงและขอควรระวัง
     - หากทาปริมาณมากกวารอยละ 20 ของพื้นที่ผิวทั่วรางกายมีโอกาสดูดซึมเขาสูรางกายกอใหเกิด
          พิษได โดยเฉพาะในผูปวยโรคตับและโรคไต
     - การทา Salicylic acid กอนฉายแสงUVB จะลดประสิทธิภาพของการฉายแสงลง
     - ไมควรใชในเด็ก
การรักษาดวยยาที่ออกฤทธิ์ทั่วรางกาย (Systemic therapy)
ในปจจุบันมียาหลายชนิดที่ถูกนํามาใชรักษาสะเก็ดเงิน แบงเปนกลุมไดดังนี้
ยากลุมหลัก
     1. Methotrexate
     2. Retinoid
     3. Cyclosporine

ยากลุมรอง
   1. Sulfasalazine
   2. Hydroxyurea
   3. Mycophenolate mofetil
   4. 6-Thioguanine
   5. Fumaric acid esters
        สําหรับในแนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินนี้จะกลาวถึงเฉพาะรายละเอียดของยากลุมหลักดังนี้

Methotrexate (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B)
เนื่องจากยา Methotrexate มีการใชมานานและแพรหลายจึงแนะนําใหใชเปนยาลําดับแรกในการรักษา
ผูปวยที่เปนสะเก็ดเงินรุนแรง ปานกลาง และรุนแรงมาก
กลไกการออกฤทธิ์
      - ยับยั้งการทํางานของเอ็นไซม dihydrofolate reductase
      - ยับยั้งการแบงตัวของเซลลผิวหนังโดยยับยั้งการสราง DNA
      - ลดการอักเสบ


                                               102
 


ขอบงชี้
     - Psoriatic erythroderma
     - Pustular psoriasis
     - Severe palmoplantar psoriasis ที่ไมตอบสนองตอยาทา
     - Severe plaque type psoriasis > รอยละ 10 ของพื้นที่ผิวหนัง
     - Psoriatic arthritis
ขอหามใชและขอควรระวัง
     - หญิงตั้งครรภและใหนมบุตร (หามใชอยางเด็ดขาด)
     - ตองคุมกําเนิดชายและหญิงในระหวางการรักษาและหลังหยุดยาแลว 3 เดือน
     - หามใชในผูปวยโรคตับแข็ง, ติดเชื้อ HIV
     - ผูปวยที่มี renal insufficiency, เบาหวาน
     - ผูปวยวัณโรค
     - โรคตับอักเสบระยะแสดงอาการและระยะสงบ
     - ผูปวยมีความผิดปกติทางชีวเคมีของตับ
     - ผูปวยที่มีประวัติดื่มเหลาจัด
     - ผูปวยที่มีความบกพรองทางภูมิคมกันุ
     - ผูปวยซึ่งไมยินยอม และ ผูปวยซึ่งแพทยสงสัยวาไมเขาใจวิธีใชยา
วิธีใช
     - เริ่มรับประทานยาขนาดใชจาก 2.5-25 ม.ก. ตอสัปดาห ควรใหสัปดาหละครั้งเดียวหรือแบงใหเปน
          3 ครั้งหางกัน 12 ชั่วโมง ตอสัปดาห โดยเริ่มเริ่มใหรับประทาน 2.5-5 มก. 1 ครั้งตอสัปดาห เปน
          เวลา 2 สัปดาห เพื่อหลีกเลี่ยงผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้น หลังจากนั้นเพิ่มขนาดยาขึ้นสัปดาหละ
          2.5-5 มก. สูงสุดไมควรเกิน 15-25 มก.ตอสัปดาห
     - การฉีดเขากลามหรือเขาชั้นไขมันใตผิวหนัง ขนาด 7.5-25 มก. ตอสัปดาห ถาไมมีผลขางเคียง
          เกิดขึ้น ใหเพิ่มปริมาณยาไดตามความรุนแรงของโรค
     - การให folic acid รวมดวย จะชวยลดผลขางเคียงบางอยางของ methotrexate เชน อาการ
          คลื่นไส อาเจียน แผลในปากและลดอันตรายตอตับ เปนตน ขนาดยาแตกตางกันตั้งแต 1-5 มก.
          ตอวัน หรือ ตอสัปดาห
ประสิทธิภาพ
          ลดความรุนแรงของผื่น psoriasis ไดอยางนอยรอยละ 50 ในรอยละ 75 ของผูปวย(22)
การติดตามผลทางหองปฏิบัติการ
     - ตรวจ complete blood count, BUN, creatinine, liver function test กอนใหยาและสัปดาหที่สอง
          หลังรับประทานยา หลังจากนั้นควรตรวจเปนระยะประมาณ 4-6 ครั้งตอป หรือถี่กวานั้นถามีผล
          การตรวจที่ผิดปกติ
     - ถาผูปวยมีปจจัยเสี่ยงเจาะ Anti-HIV เพื่อดูภาวะ Immunosuppression กอนการใหยา
                       

                                                  103
 


   - การตรวจภาพรังสีปอด
   - ในผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยง หลังจากไดยามากกวา 1–1.5 กรัม ควรพิจารณาทํา liver biopsy หรือ
       หากผูปวยไมยินยอมใหทํา liver biopsy ควรพิจารณาเปลี่ยนการรักษา และควรทํา liver biopsy
       ซ้ําเมื่อไดรับยาเพิ่มขึ้นทุก 1 กรัม
   - ในผูปวยที่ไมมีปจจัยเสี่ยง พิจารณาทํา liver biopsy หลังไดรับยาสะสม 3.5-4 กรัม(23)
   - Amino-terminal peptide of procollagen III (PIIINP) สามารถใชเปนmarkerติดตามภาวะliver
       fibrosis ได (แตปจจุบนยังไมมีการตรวจนี้ในประเทศไทย)
                           ั
ผลขางเคียง
   - มีแผลในปาก คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน
   - กดไขกระดูกทําใหมีโอกาสเกิดการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น
   - ปวดศีรษะ ไข หนาวสั่น
   - คันตามผิวหนัง ลมพิษ ผมรวง เปนแผลบริเวณผื่นสะเก็ดเงิน
   - ทําใหตับแข็ง ซึ่งสัมพันธกับปริมาณยาสะสม และปจจัยเสี่ยงของผูปวย
   - ปสสาวะเปนเลือด กระเพาะปสสาวะอักเสบ พบความผิดปกติทางไต (nephropathy)
   - การสรางไขจากรังไขผิดปกติ
   - ประจําเดือนผิดปกติ
   - ไวตอแสงแดด (reactivation of sunburn response)
ขอควรระวัง
   - ระดับของ methotrexate ในเลือดจะเพิ่มขึ้นถาใหรวมกับ alcohol, salicylates, cotrimoxazole,
       trimethoprim, probenecid, phenytoin, retinoids, pyrimethamine และ furosemide
   - กรณีเกิดพิษจากการไดรับ methotrexate เกินขนาด (acute methotrexate toxicity) แกไขไดดวย
       การให leucoverin 20 มก. (10 มก./ตารางเมตร) รับประทานหรือฉีดเขาเสนทุก 6 ชม.
Pregnancy category X

Retinoids (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B)
เนื่องจากยา Retinoids มีการใชมานานและแพรหลายจึงแนะนําใหใชเปนยาลําดับแรกในการรักษาผูปวยที่
เปนสะเก็ดเงินชนิดตุมหนองหรือใชรวมกับการรักษาแบบอื่นในการรักษาผูปวยสะเก็ดเงินชนิดปานกลาง
และรุนแรง
กลไกการออกฤทธิ์
     - จับกับ retinoic acid receptor
     - ทําให differentiation ของเซลลผิวหนังกลับสูสภาวะปกติ
ขอบงชี้
     - Pustular psoriasis ตอบสนองตอการรักษาดีที่สุด
     - Extensive plaque type psoriasis ใหใชรวมกับการรักษาอื่น

                                              104
 


     - Erythrodermic psoriasis ใหเปนทางเลือกหนึ่งของการรักษา
ขอหามใชและขอควรระวัง
     - ผูหญิงที่ตั้งครรภและใหนมบุตร
     - ผูปวยหญิงในวัยเจริญพันธุ (แตอาจใชไดถา การรักษาอื่นๆไมไดผล และผูปวยยินดีที่จะคุมกําเนิด
         ขณะรับประทานยาและ หลังจากหยุดยาแลว3 ป)
     - ผูท่มีไขมันในเลือดสูง
              ี
     - ผูเปนโรคตับ เชน ตับแข็ง ไวรัสตับอักเสบ ผล liver function test ผิดปกติ
     - มีความผิดปกติของไต
     - ไม ใ ช ใ นผู ป ว ยที่ ไ ด ย าเหล า นี้ อ ยู เช น tetracycline (เพราะอาจทํ า ให เ กิ ด intracranial
         hypertension) phenytoin (competition of plasma-protein binding)
วิธใช
   ี
ใชชนิดเดียว
     - Acitretin ขนาด 0.5-1 มก/กก/วัน เมื่ออาการดีขึ้น ใหลดขนาดลงเหลือ 0.25-0.5 มก/กก /วัน และ
         ใหตอประมาณ 3 เดือนหลังจากนั้นควรพิจารณาที่จะหยุดยา
ใชรวมกับการรักษาอื่น
     - ใชรวมกับ UVB หรือ PUVA โดยใหใชยาในขนาด 0.25-0.5 มก/กก/วันกอนการฉายแสง 5–14
         วันจะทําใหประสิทธิภาพการรักษาดีขึ้นมาก
ประสิทธิภาพ
         เมื่อรักษาแบบ monotherapy พบวาใหผลการรักษาดี(22)
การติดตามผลทางหองปฏิบัติการ
     - ตองใหเซ็นใบยินยอม (ทั้งผูปวยหญิงและชาย)
     - ตรวจ complete blood count, liver function test, cholesterol,triglyceride, HDLกอนการรักษา
     - Pregnancy test
     - ระหวางการรักษา ควรเจาะ liver function testและ ไขมันในเลือดทุก 1-3 เดือน
     - ภาวะที่มี triglyceride สูงขึ้นสามารถแกไขไดโดยงดอาหารมันและอาหารจําพวกแปง มีผูปวยนอย
         รายที่จําเปนตองใชยาลดไขมันในเลือด หากระดับtriglyceride ในเลือดสูงถึง 800 mg/dl ควร
         พิจารณาหยุดยา
     - ในรายที่ตองใชยาเปนระยะเวลานานเปนป ควร X-ray ฉายภาพรังสีกระดูกสันหลังเพื่อดูวาไมมี
         ภาวะ hyperostosis และ calcified ligament หลังจากนั้นถาตองใชยาตอเนื่องอาจใหฉายรังสีซ้ํา
         ทุกป
     - ควรตรวจ bone density เพื่อประเมินความหนาแนนของกระดูกผูปวยในกรณีที่ตองใหยา
         ติดตอกันเปนเวลานานหลายป



                                                       105
 


ผลขางเคียง
   - Cheilitis (100%), เยื่อบุจมูกแหง, ตาแหง, ผมรวง (20-50%), ผิวแหง(100%), ฝามือฝาเทาลอก,
       ผิวถลอกช้ํา (bruising), ปลายนิ้วลอก,เล็บเปราะ(20%), กระหายน้ํา, เลือดกําเดาออก
       ผลขางเคียงเหลานี้ขึ้นกับปริมาณยา และอาการเหลานี้จะหายไป เมื่อลดขนาดหรือหยุดยา
   - ตับอักเสบ สัมพันธกับขนาดยา
   - ไขมันในเลือดสูงขึ้นในระหวางรับประทานยาโดยเฉพาะไตรกลีเซอไรด
   - อาการปวดกลามเนื้อ
   - ทําใหทารกพิการผิดรูปไดสูง (teratogenicity) เนื่องจากยาสะสมในชั้นไขมันได จึงตองควบคุม
       ไมใหตั้งครรภขณะรับประทานยาและตองคุมกําเนิดตอหลังหยุดยาอยางนอย 3 ป
   - ในระยะยาว อาจทําใหพบหินปูนไปจับที่เอ็นเกิดภาวะกระดูกงอก (spur)               และเกิด DISH
       syndrome (Diffuse Interstitial Skeletal Hyperostosis)
   - มีการเสื่อมของกระดูก(degenerative spondylosis) เกิดภาวะกระดูกพรุน(osteoporosis)
   - ในเด็กเกิดการปดของกระดูกกอนกําหนด (premature epiphyseal plate closure)
Pregnancy category X

Cyclosporine A (CyA) (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B)
กลไกการออกฤทธิ์
     - จับกับ cyclophilin มีผลยับยั้ง calcineurin ทําใหลดการสราง cytokine ที่เกี่ยวของกับการอักเสบ
     - ยับยั้งภูมิตานทานของรางกาย (immunosuppressive properties)
ขอบงชี้
     - Psoriatic erythroderma
     - ใชในผูปวยที่ไมตอบสนองการรักษาดวย methotrexate และ acitretin
ขอหามใชและขอควรระวัง
     - หญิงตั้งครรภ,ใหนมบุตร
     - ผูปวยที่มีความผิดปกติของไต
     - ผูปวยที่เปนความดันโลหิตสูง
             
     - ผูปวยที่เปนมะเร็ง
     - ผูปวยที่เคยไดยาหรือสารอื่นที่เพิ่มอัตราเสี่ยงตอการเปนมะเร็งผิวหนัง เชน สารหนู
     - ผูปวยที่มีภาวะภูมคุมกันบกพรอง
                            ิ
วิธีใช
     - ระยะแรก: ควรเริ่มดวยขนาด 3-5 มก/กก/วัน ใหครั้งเดียวหรือแบงเปน 2 ครั้ง ถาไมดีขึ้นภายใน
          1-3 เดือน สามารถเพิ่มขนาดยาได แตไมควรเกิน 5 มก/กก/วัน



                                                106
 


    - Maintenance: ถาผื่นดีขึ้นสามารถลดยาลงไดถึง 0.5-1 มก/กก แตสวนมากอยูที่ขนาด 2.5-3 มก/
      กก/วัน ระยะเวลารักษาไมควรเกิน 2 ป ถาใช Cy A 5 มก/กก/วัน เปนเวลานาน 6 สัปดาห แลวยัง
      ไมดขึ้นใหพิจารณาการใชยาตัวอื่นรวมดวย
          ี

ประสิทธิภาพ
       ใหผลการรักษาในระดับดีมากถึงรอยละ 90 ของผูปวย(24, 25)
ผลขางเคียง
   - มีผลตอไต (nephrotoxicity) ทําให BUN, creatinine เพิ่มขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้นพบไดถึงรอยละ
       30 ขึ้นอยูกับขนาดของยาและระยะเวลาในการใชยา
   - เพิ่มการเกิดมะเร็งโดยเฉพาะที่ผิวหนัง (squamous cell carcinoma) ในผูปวยผิวขาว skin type I-
       II
   - การใชยาเปนเวลานานทําใหมีโอกาสติดเชื้อ Human papilloma virus มากขึ้น
   - ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ เชน คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน
   - ขนยาวผิดปกติ (hypertrichosis)
   - เหงือกบวม (gingival hyperplasia)
   - ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
การติดตามผลทางหองปฏิบัติการ
   - Complete blood count
   - Uric acid
   - Liver function test
   - Blood electrolyte และ magnesium
   - Urinalysis
   - ดูระดับ BUN, creatinine และวัดความดันโลหิตกอนการรักษา และทุก 2-3 สัปดาหระหวางรักษา
       ในชวง 3 เดือนแรก หลังจากนั้นใหตรวจวัด ทุก 4-6 สัปดาห ถาระดับ creatinine สูงกวารอยละ
       30 ของ baseline ใหลดระดับของ cyclosporin A ลง 0.5 –1 มก/กก/วัน ใน 1 เดือน ถาระดับของ
       creatinine ยังคงสูงกวา baseline 10% ควรหยุดใช cyclosporin A
   - ถาระดับความดันสูงกวาปกติ ใหใชยาที่มีฤทธิ์ calcium channel blocking แตถาไมสามารถ
       ควบคุมความดันได ควรหยุดใช Cy A(26)
ขอควรระวังเมื่อใชรวมกับยาอื่น
   - ยาที่มพิษตอไต เชน aminoglycoside, amphotericin B, ciprofloxacin, trimethoprim,
              ี
   - Non-steroidal anti-inflammatory drugs, lovastanin และ colchicine
   - ยาที่สงผลให Cy A ในเลือดเพิ่มขึ้น เชน ketoconazole,erythromycin, oral contraceptives,
       diltiazem, nifedipine, verapamil, doxycycline, methylprednisolone


                                               107
 


   - ยาที่ทําใหระดับ Cy A ในเลือดลดลง เชน phenobarbitone, phenytoin, carbamazepine,
      rifampicin
Pregnancy category C

การรักษาดวยรังสีอัลตราไวโอเลต (Phototherapy and photochemotherapy) (คุณภาพหลักฐาน
ระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B)
        กลไกการรักษาดวยแสงอัลตราไวโอเลต (UV) ทําใหเกิดการลดจํานวนลงของ T cell โดยเฉพาะที่
ชั้นหนังกําพรา โดยกระบวนการ apoptosis of T cell และเกิดการเปลี่ยนแปลงของ cytokine ที่กระตุน T
helper cell ทําให Th1 ลดลง และ Th2 เพิ่มขึ้น ที่ผื่นสะเก็ดเงิน
Ultraviolet B light (290-320 nm)เเละ Narrowband UVB (NB-UVB; 311-313nm)
        เปนวิธีท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ปจจุบันพบวาการฉาย NB-UVB           ไดผลดีกวา BB-UVB
phototherapy (290-320nm)
Psoralen and ultraviolet A light (PUVA)
        เปนการใชสาร Psoralen รวมกับการฉาย UVA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา ไดผลดีกับผื่น
สะเก็ดเงินที่หนาและมีขนาดใหญ
Excimer laser (308 nm) และ Targeted UVB Therapy
        เปนเลเซอรท่ีใชรักษาสะเก็ดเงินเฉพาะสวน หรือบริเวณที่แสงจากตูฉายเขาไมถึง สามารถเพิ่ม
พลังงานไดสูง และอาจใชในผูปวย stable recalcitrant plaques โดยเฉพาะที่ขอศอก ขอเขา

การรักษาโรคสะเก็ดเงินดวยยาชีวภาพ (Biologic drugs)
ยาชีวภาพ ที่มีใชในประเทศไทย มี 2 กลุม ไดแก
   1) ยาตานการทํางานของ Tumor Necrosis Factor α (Anti-TNF-α)
       - Etanercept (Enbrel™)
       - Infliximab (Remicade™)
       - Adalimumab (Humira™) ปจจุบัน (2552) ยังไมมีจําหนายในประเทศไทย
   2) มีผลโดยตรงตอ T cells (Targeting pathogenic T cells)
       - Efalizumab (Raptiva™) ปจจุบัน (2552) หามจําหนายในทวีปยุโรป และสหรัฐอเมริกา
       - Alefacept (Amevive™) ปจจุบัน (2552) ยังไมมีจําหนายในประเทศไทย

การใชยากลุม Anti-Tumor Necrosis Factor α (Anti-TNF-α) (คุณภาพหลักฐานระดับ 1, คําแนะนํา
               
        (34, 35)
ระดับ A)




                                              108
 


Etanercept (Enbrel™)
          recombinant human TNF-α receptor (p75) protein
กลไกการออกฤทธิ์
          จับกับ Fc portion ของ IgG1 ทําใหสามารถจับไดกับทั้ง soluble และ membrane-bound TNF-α
ขอบงชี้
- Refractory moderate to severe psoriasis
- Refractory moderate to severe psoriatic arthritis
วิธีใช
- ผูใหญ : 50 มก. ฉีดใตชั้นผิวหนัง สัปดาหละ 1-2 ครั้ง ติดตอกันเปนเวลา 3 เดือน หลังจากนั้น 50 มก.
     ฉีดใตช้นผิวหนัง สัปดาหละ 1 ครั้ง
             ั
- เด็ก : 0.8 มก.ตอน้ําหนักตัว 1 กก.(ไมเกิน 50 มก.) ตอครั้ง
ผลขางเคียง
- การอักเสบบริเวณที่ฉีดยา ความรุนแรงนอยถึงปานกลาง พบไดถึงรอยละ 37 โดยเฉพาะในการฉีดยา
     เดือนแรก นาน 3-5 วัน ไมจําเปนตองหยุดยาเพื่อรักษาผลขางเคียงนี้
ขอควรคํานึง
- ประสิทธิภาพการรักษาสัมพันธกับปริมาณยาที่ใช (Dose related response)
-         ไมพบการกลับเปนซ้ําในทันที (rebound) หลังหยุดใชยา แตพบแนวโนมประสิทธิภาพลดลงตาม
ระยะเวลาที่ใชยา อาจเนื่องจากการมีภูมิตอตาน (antibody) เกิดขึ้นได
- ไมควรใชในผูที่แพ latex เนื่องจากเข็มที่ใชฉีดยามี latex เปนสวนผสม
กลุมยา Pregnancy category B

Infliximab (Remicade™)
          Chimeric monoclonal antibody สรางจาก murine (variable region) และ human DNA (IgG1-
α constant region)
กลไกการออกฤทธิ์
          จับกับทั้ง soluble และ transmembrane TNF-α molecules
ขอบงชี้
- Severe psoriasis
- Generalized pustular psoriasis
- Moderate to severe psoriatic arthritis
วิธใช
   ี
- 3-5 มก. ตอน้ําหนักตัว (กก.) ตอครั้ง ฉีดเขาเสนเลือดชาๆ ใน 2 ชั่วโมงที่สัปดาหท่ี 0, 2, 6 หลังจาก
     นั้น ทุก 6-8 สัปดาห
ระยะเวลาในการใช

                                                 109
 


- ไมมีกําหนดระยะเวลาที่แนนอน
ผลขางเคียง
- การระคายเคืองจากการฉีดยาเขาเสนเลือด สัมพันธกับการเกิด human antichimeric antibodies ซึ่ง
     สามารถจัดการโดยการลดความเร็วการฉีดยา หรือหยุดใหยา
- Serum sickness
ขอควรคํานึง
- ใหการตอบสนองตอการรักษาเร็ว พบแนวโนมประสิทธิภาพลดลงตามระยะเวลาที่ใช
-
     การใชรวมกับ methotrexate ปริมาณต่ํา อาจชวยลดการสรางภูมิตอตาน (antibody) ตอยานี้ได(36)
กลุมยา Pregnancy category B
ขอหามของการใชยากลุม Anti-TNF-α
Absolute contraindications
     - ผูปวยที่มีการติดเชื้อรุนแรง หรือ กําลังมีการติดเชื้ออยู
     - ผูปวย congestive heart failure class III หรือ IV (New York Heart Association Classification)
        หรือผูปวย congestive heart failure class I or II ที่มี ejection fraction <50%
     - ใชวัคซีนชนิดมีชีวิต (live vaccine)

Relative contraindications
   - ผูปวยที่เปนโรค หรือ มีญาติใกลชิด (first-degree relatives) เปนโรคในกลุม demyelinating
       disease เชน multiple sclerosis
   - ใชวัคซีนชนิดที่ทาใหเชื้อออนกําลังลง (inactive) หรือ recombinant vaccine
                      ํ
ขอควรคํานึง
   - สามารถทําใหโรควัณโรคกําเริบได
   - สามารถทําใหโรคไวรัสตับอักเสบบีกําเริบได
การตรวจทางหองปฏิบัติการกอนเริ่มการรักษาดวยยากลุม Anti-TNF-α
   - PPD (Purified Protein Derivative) การแปลผล tuberculin test ดังภาคผนวก
   - CBC
   - Liver function test
   - Hepatitis profile, HIV
   - CXR
การตรวจติดตามทางหองปฏิบัติการในผูปวยที่ไดยากลุม Anti-TNF-α
   - CBC ทุก 3-6 เดือน
   - Liver function test ทุก 3-6 เดือน
   - PPD ทุกป, CXR ทุกป


                                                110
 


ผลขางเคียงที่สําคัญของยากลุม Anti-TNF-α (ที่มีรายงาน)
   - การกําเริบของโรควัณโรค โรคติดเชื้อฉวยโอกาส และโรคมะเร็งบางชนิดได
   - กระตุนใหเกิดลูปส (drug induced lupus) ที่ไมมีภาวะทางไต หรือ ภาวะทางระบบประสาทรวม
       ดวย ซึ่งสามารถหายไดเมื่อหยุดการใชยา (reversible)
   - เซลลเม็ดเลือดต่ํากวาปกติ (cytopenia)
   - กระตุนใหเกิดโรค multiple sclerosis
   - ทําใหเกิด (new onset) หรือ ทําใหมีอาการกําเริบ (exacerbation) ของภาวะหัวใจลมเหลว
       (Congestive Heart Failure)
ความปลอดภัยในการใชยากลุม Anti-TNF-α
   การติดเชื้อ
           - มีการกําเริบของวัณโรค และเพิ่มอุบัติการณการเกิดวัณโรคนอกปอด (extrapulmonary
                TB) และวัณโรคชนิดแพรกระจายได (disseminated TB) โดยพบการกําเริบของวัณโรค
                จาก etanercept นอยกวา infliximab หรือ adalimumab
           - เพิ่มโอกาสการติดเชื้อ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อฉวยโอกาส เชน histoplamosis, listeriosis,
                coccidioidomycosis, cryptococcosis, aspergillosis, candidiasis และ pneumocystis
                การตรวจติดตามและการประเมินจึงเปนเรื่องที่จําเปน เมื่อมีการติดเชื้อที่ตองไดรับยา
                ปฏิชีวนะ ควรหยุดการใชยากลุมนี้
           - มีการกําเริบของโรคไวรัสตับอักเสบบี และซี (Hepatitis B and C)

    โรคทางระบบประสาท
            - พบการกระตุนใหเกิดโรค หรือทําใหมีอาการมากขึ้น ในกลุมโรค demyelinating disease
    โรคหัวใจ
            - การมีผลตอผูปวยภาวะหัวใจลมเหลว (congestive heart failure, CHF) ยังเปนที่ถกเถียง
                 กันอยู อยางไรก็ดี หามใชยากลุม Anti-TNF-α ในผูปวยที่มีภาวะหัวใจลมเหลวชนิด
                 รุนแรง (CHF class III or IV) เนื่องจากกระตุนใหเกิด (new onset) หรือทําใหมีอาการ
                 มากขึ้นได (exacerbation)
    การกระตุนใหเกิดภาวะลูปส (drug induced lupus-like syndrome)
            - การใชยาในกลุม Anti-TNF-α ทําใหเกิด circulating antinuclear antibodies มากขึ้น
                 อยางไรก็ตาม ภาวะนี้สามารถกลับมาปกติได (reversible) เมื่อหยุดการใชยา ไม
                 จําเปนตองตรวจ antinuclear antibodies กอนหรือระหวางการรักษาถาไมมีอาการที่
                 สงสัยโรคตับ
            - มีผลทําให transaminase enzyme เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจากยา infliximab
    มะเร็งตอมน้ําเหลือง


                                               111
 


             - มีท้ังการศึกษาที่พบอุบัติการณมะเร็งตอมน้ําเหลืองเพิ่มขึ้น และไมพบความแตกตางจาก
                กลุมควบคุ ม ในการใช ยากลุ ม Anti-TNF-α อยางไรก็ตาม ควรพิจารณาเปนพิเศษใน
                ผูปวยที่มีประวัติมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งตอมน้ําเหลือง
    มะเร็งผิวหนังชนิด melanoma และชนิด non-melanoma
             - พบการรายงานการเพิ่มอุบัติการณมะเร็งผิวหนังในผูปวยที่ใชยา Anti-TNF-α สําหรับ
                มะเร็งชนิดอื่น (solid cancers) มีทั้งการพบอุบัติการณเพิ่มขึ้น และไมแตกตางจากกลุม
                ควบคุม
    โรคเลือด
             - มีรายงานการเกิด aplastic anemia, isolated leucopenia และ thrombocytopenia จาก
                การใชยา Anti-TNF-α
    การตอบสนองทางรางกายอื่นๆ
             - มีรายงานการเกิด leukocytoclastic vasculitis ในการรักษา rheumatoid arthritis




                                                112
 


ตารางสรุป The strength of recommendation for the treatment of psoriasis using topical, traditional
systemic and biologic therapies(15, 38, 39)

ยา/การรักษา                                  Level of evidence Strength of recommendation
Topical Therapies
Class I topical corticosteroid               I                    A
Class II topical corticosteroid              II                   B
Class III/IV topical corticosteroid          I                    A
Class V/VI/VII topical corticosteroid        I                    A
Coal tar                                     II                   B
Vitamin D analoques                          I                    A
Anthralin (Dithranol)                        III                  C
Topical tacrolimus and pimecrolimus          II                   B
Topical corticosteroid + salicylic acid      II                   B
topical corticosteroid + vitamin D analoque I                     A
Topical tacrolimus + salicylic acid          II                   B
Traditional systemic therapies
Methotrexate                                 II                   B
Acitretin                                    II                   B
Cyclosporine                                 II                   B
Azathioprine                                 III                  C
Hydroxyurea                                  III                  C
Leflunomide                                  II                   B
Sulfasalazine                                II                   B
Biologic therapies
Infliximab                                   I                    A
Etanercept                                   I                    A
Adalimumab                                   I                    A
Alefacept                                    I                    A
I. Good-quality patient-oriented evidence
II. Limited-quality patient-orientd evidence
III. Other evidence including consensus guidelines, opinion, or case studies
A. Recommendation based on consistent and good-quality patient-oriented evidence
B. Recommendation based on inconsistent or limited-quality patient-oriented evidence
C. Recommendation based on consensus, opinion, or case studies


                                                  113
 


                                                                          ขั้นตอนการดูแลผูปวยสะเก็ดเงิน


                                                                                                  Psoriasis

                                                                No arthritis                                                      Arthritis

                                 Limited disease                                       Extended disease                      Follow the guideline of Thai
                              (<10% BSA, PASI < 10)                                 (> 10% BSA, PASI >10)                     Rheumatism Association

                                                                   UVB/PUVA + Topical Rx            Systemic drugs + Topical Rx
                          Topical/Targeted phototherapy


                                  Lack of efficacy                                      Lack of efficacy


                                                                          Combination UVB/PUVA and systemic drugs


                                                                                        Lack of efficacy



                                                                                        Biologic drugs*
* ยานี้เปนยาราคาแพง และมีผลขางเคียงไดมาก ควรใชโดยผูเชี่ยวชาญ ตาม
                                                                                         +/-UVB/PUVA
หลักเกณฑการเบิกจายยาของกรมบัญชีกลาง                                                 +/-Systemic drugs

                                                                                       114
 


                                                     แนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินที่พบบอย 
                                                                      
      ชนิดของสะเก็ดเงิน                 Topical                                Systemic                                 Phototherapy
                            Tar   Steroid Vit D3 Dithranol      MTX          Retinoid     Cyclosporine           PUVA         UVB/Narrowband UVB
Guttate                     1       1         1         2         1             -              -                  2                    1
Plaque
     • Limited              1       1         1         1         2             -              -                  -                    2
     (< 10%BSA, PASI <10)
     • Extended             1       1         1         1         1             2              2                  1                    1
     (> 10%BSA, PASI >10)
Scalp psoriasis             1       1         2         2         -             -              -                  -                    -
Nail Psoriasis               -      1         2         -         -             -              -                  -                    -
Psoriatic arthritis                                               See guideline of Thai Rheumatism Association
           

                                                  1, 2, 3 หมายถึงควรเลือกเปนลําดับที่ 1, 2, 3



                                                                       115
 


                                                         แนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินกรณีพิเศษ
     ชนิดของสะเก็ดเงิน                         Topical                                  Systemic                                      Phototherapy
                                 Tar    steroid Vit D3 Dithranol MTX Retinoid Cyclosporine               Biologics           PUVA             UVB/Narrowband UVB
Recalcitrant plaque psoriasis                                                                           พิจารณาใหตาม
                                                                                                        ความเห็นของ
                                                                                                        ผูเชี่ยวชาญ

Pustular psoriasis
    • Limited                     -        1         -         -        1         1            3              -                2                         3
    (< 10%BSA, PASI <10)                                                                                                  (local PUVA)                   -
    • Extended                    -        3         -         -        1         1            2              4                3                         -
    (> 10%BSA, PASI >10)
Psoriasis erythroderma            -        3         -         -        1         3            1              4                2                         3
Psoriasis in pregnancy            2        1         1        1          -        -            -              -                 -                        1
Psoriasis in HIV or               1        1         1        1          -        1            -              -                 -                        2
Immunocompromised host                                                                                                                        พิจารณาใหตามความเห็นของ
                                                                                                                                                     ผูเชี่ยวชาญ

        หมายเหตุ การรักษาตามตารางนี้ใชกรณีการรักษาชนิด monotherapy, ในผูปวยบางราย การรักษาดวย combination therapy จะไดผลการรักษาดีกวา




                                                                                 116
 


ตารางสรุปการรักษาดวยรังสีดวยการฉายแสง (Phototherapy and photochemotherapy)(27)
                   Narrowband UVB         Broadband UVB          Psoralen&UVA      Excimer laser
                     (NB-UVB 310-          (BB-UVB 290-          (PUVA)(28-31)      (308nm)(32)
                          313nm)                320nm)
Dosing           ประเมิน MED กอน ประเมินMED กอน ประเมินMPD กอน ประเมิน MED กอน
(ขนาดแสง)        รักษา เริ่มตนรักษา รักษา เริ่มตนรักษา รักษา เริ่มตนรักษา รักษา ใชขนาดแสง
                 50% MED ความถี่ 75% MED ความถี่ ตาม MPD ถาไม ไดถึง 6MED (2-
                 3-5 ครั้งตอสัปดาห 3-5 ครั้งตอสัปดาห สามารถประเมินได 6MED) ความถี่ 2
                 เพิ่มขนาดแสงอยาง เพิ่มขนาดแสงอยาง เริ่ม 0.5-2 J/cm2         ครั้งตอสัปดาห
                 นอย 10%ของ MED นอย 10%ของ MED ความถี่ 2 ครั้งตอ
                                                             สัปดาห เพิ่มขนาด
                                                             40%ตอสัปดาห
                                                             จนกวาแดง หลังจาก
                                                             นั้นไมควรเพิ่ม
                                                             มากกวา 20%
                                                             ขนาดสูงสุด 12 J/
                                                             cm2
Efficacy         ผื่นดีขึ้น >รอยละ 70 ผื่นดีขึ้น >รอยละ 47 สามารถทําใหผื่น  ผื่นดีข้น >รอยละ 75
                                                                                       ึ
(ประสิทธิภาพ)    ในการศึกษาหลังการ ในการศึกษาหลังการ สงบ (remission)           (PASI 75)
                 รักษาดวยแสงบนผื่น รักษาดวยแสงบนผื่น 70-90% ของผูปวย หลังจากผูปวยรักษา
                 ครึ่งหนึ่งของรางกาย ครึ่งหนึ่งของรางกาย ความสะดวกในการ เฉลี่ย 6.2 ครั้ง
                 ผูปวย9ใน 11 ราย     มีเพียงผูปวย1 ใน 11 ฉายนอยกวา NB-   (คุณภาพของ
                 ผื่นหายหมด            รายผื่นหายหมด         UVB แต           หลักฐานB2)
                 ประสิทธิภาพดีกวา (คุณภาพของ                ประสิทธิภาพอาจ
                 BB-UVB (คุณภาพ หลักฐานB1)                   ดีกวา (คุณภาพของ
                 ของหลักฐานB1)                               หลักฐานB1)
Safety           Photodamage, PMLE, skin aging, skin         Photodamage, skin Erythema, blisters,
(ความปลอดภัย) cancer                                         aging, increased  hyperpigmentation,
                                                             risk on           erosions. Long
                                                             nonmelanoma skin term side effects
                                                             cancers ±         not yet clear but
                                                             Melanoma, ±ocular likely similar to NB-
                                                             damage            UVB




                                                  117
 


Contraindicatons   Absolute : severe photosensitivity       Absolute :             Absolute :
(ขอหามใช)       Relative : photosensitizing drugs,       - Severe               - Photosensitivity
                   melanoma and nonmelanoma skin cancer Photosensitivity           Relative :
                                                            - Lactation            - photosensitizing
                                                            - Melanoma               drugs
                                                            Relative :             - melanoma and
                                                            - age < 10 yrs           nonmelanoma
                                                            - pregnancy              skin cancer
                                                            - photosensitizing
                                                              drugs
                                                            - nonmelanoma
                                                              skin cancer
                                                            - severe organ
                                                              dysfunction
หมายเหตุ           กรณีใชรวมกับ coal tar (Goeckerman      แนะนําฉายแสงไม        เปนการรักษาเฉพาะ
                   regimen) anthralin (Ingram regimen) หรือ เกิน 200ครั้ง หรือ     ผื่นที่เปนโรค โดย
                   ยารับประทาน เพิ่มประสิทธิภาพการรักษา     ขนาดแสงสะสม            ผิวหนังปกติไม
                   มากขึ้น                                  ≤2000 J/ cm2           จําเปนตองรับแสง
                                                            การรักษารวมกับ
                                                            oral retinoids ชวย
                                                            ลดปริมาณแสง UVA
                                                            และลดอุบัติการณ
                                                            การเกิดมะเร็ง
                                                            ผิวหนังชนิด
                                                            squamous cell CA
                                                            ไดรอยละ 30(33)

Minimal erythema dose (MED)     หมายถึงปริมาณแสงนอยที่สุดที่ทําใหผิวหนังที่ทําทดสอบมีการแดง
                              โดยอานผลที่ 24 ชั่วโมงหลังทําทดสอบ




                                                   118
 


                                               ภาคผนวกที่ 1

                                 Psoriasis Area and Severity Index (PASI)

Tick ONE box for each region for A,B,C,D
                                        Head(h) Upper limb(u)        Trunk(t)         Lower limb(l)
A. Extent of        None (0)
Involvement (%)     <10 (1)
Tick one box for    10-30 (2)
each body           30-50 (3)
region.             50-70 (4)
                    70-90 (5)
                    90-106 (6)
B. Erythema (E)     None (0)
score               Slight (1)
Tick one box for    Moderate (2)
each body           Severe (3)
region.             Very severe (4)
C. Induration (I)   None (0)
score               Slight (1)
Tick one box for    Moderate (2)
each body           Severe (3)
region.             Very severe (4)
D. Desquamation     None (0)
(D) score           Slight (1)
Tick one box for    Moderate (2)
each body           Severe (3)
region.             Very severe (4)
PASI SCORE          = 0.1 (Eh + lh + Dh)Extent(h) + 0.2 (Eu + lu + Du)Extent(u) + 0.3 (Et + lt +
                    Dt)Extent(t)+ 0.4 (El + ll + Dl)Extent(l)




                                                    119
 


                                                ภาคผนวกที่ 2
                                       แบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิตของผูปวยโรคผิวหนัง
    DLQI Score: _____________

    เพศ     ชาย             หญิง อายุ ______ ป         อาชีพ____________________

    Case No. _______วันที่ ___ / ______ / ______

จุดประสงคของแบบสอบถามนี้ เพื่อประเมินวา ผื่นผิวหนังทําใหเกิดปญหากับคุณมากนอยเพียงใดในชวงหนึ่งสัปดาหที่ผานมา?

กรุณาตอบคําถามโดยทําเครื่องหมาย aลงในชองทางขวามือ (ขอความกรุณาตอบคําถามทุกขอ)

1. ชวงสัปดาหท่ผานมา คุณมีอาการคัน, เจ็บ, ปวด, หรือปวดเสียว ที่ผิวหนังมาก
                ี                                                                           (3) มาก
นอยเพียงใด
                                                                                       (2) ปานกลาง
                                                                                        (1) เล็กนอย
                                                                                        (0) ไมมีเลย

2. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังทําใหคุณรูสึกอับอาย, ขาดความมั่นใจ มากนอย
                ี                                                                           (3) มาก
เพียงใด
                                                                                       (2) ปานกลาง
                                                                                        (1) เล็กนอย
                                                                                        (0) ไมมีเลย

3. ในชวงสัปดาหที่ผานมา ผื่นผิวหนังทําใหคุณมีปญหาในการออกจากบานไป                      (3) มาก
จับจายซื้อสินคา, ดูแลบาน หรือดูแลสวน มากนอยเพียงใด
                                                                                       (2) ปานกลาง
                                                                                        (1) เล็กนอย
                                                                                        (0) ไมมีเลย          ไมมีความเกี่ยวของ
4. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังของคุณ มีผลกระทบตอการเลือกเสื้อผาที่จะสวม
                ี                                                                           (3) มาก
ใส มากนอยเพียงใด
                                                                                       (2) ปานกลาง
                                                                                        (1) เล็กนอย
                                                                                        (0) ไมมีเลย          ไมมีความเกี่ยวของ

5. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังของคุณ มีผลกระทบตอการเขาสังคม หรือตอ
                ี                                                                           (3) มาก
กิจกรรมในยามวาง มากนอยเพียงใด
                                                                                       (2) ปานกลาง
                                                                                        (1) เล็กนอย
                                                                                        (0) ไมมีเลย          ไมมีความเกี่ยวของ

6. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังมีผลกระทบตอการเลนกีฬา การออกกําลังกาย
                ี                                                                           (3) มาก
ของคุณ มากนอยเพียงใด
                                                                                       (2) ปานกลาง            ไมมีความเกี่ยวของ



                                                                    120
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010
CPG for Psoriasis 2010

More Related Content

What's hot

Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านZiwapohn Peecharoensap
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Utai Sukviwatsirikul
 
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆsome163
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานnhs0
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)Sureerut Physiotherapist
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
 
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
คู่มือเข่าเสื่อม(Ptจ.อุทัยธานี)
 
Guideline for management of gout
Guideline for management of goutGuideline for management of gout
Guideline for management of gout
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 

Viewers also liked (15)

Enzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee PaoEnzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee Pao
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Clinical Practice Guideline Acne 2010
Clinical Practice Guideline Acne  2010Clinical Practice Guideline Acne  2010
Clinical Practice Guideline Acne 2010
 
[Mlp2013 2] gout
[Mlp2013 2] gout[Mlp2013 2] gout
[Mlp2013 2] gout
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Psoriasis-The best Presentation
Psoriasis-The best PresentationPsoriasis-The best Presentation
Psoriasis-The best Presentation
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 

Similar to CPG for Psoriasis 2010

11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)pitsanu duangkartok
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014Utai Sukviwatsirikul
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to CPG for Psoriasis 2010 (20)

Cpg psoriasis 2010
Cpg psoriasis 2010Cpg psoriasis 2010
Cpg psoriasis 2010
 
Cpg psoriasis 2010
Cpg psoriasis 2010Cpg psoriasis 2010
Cpg psoriasis 2010
 
N sdis 78_60_7
N sdis 78_60_7N sdis 78_60_7
N sdis 78_60_7
 
N sdis 143_60_7
N sdis 143_60_7N sdis 143_60_7
N sdis 143_60_7
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
โรคที่เกิดจากเชื้อปรสิต (Parasites that cause disease in humans)
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
N sdis 126_60_1
N sdis 126_60_1N sdis 126_60_1
N sdis 126_60_1
 
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
 
N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
Lifestyle and hands
Lifestyle and handsLifestyle and hands
Lifestyle and hands
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

CPG for Psoriasis 2010

  • 1.   แนวทางการดูแลผูปวยโรคสะเก็ดเงิน  (psoriasis) 93
  • 2.   Clinical Practice Guideline for Psoriasis นายแพทยนภดล นพคุณ แพทยหญิงณัฎฐา รัชตะนาวิน นายแพทยปวน สุทธิพินจธรรม  ิ แพทยหญิงพรทิพย ภูวบัณฑิตสิน แพทยหญิงรัศนี อัครพันธุ แพทยหญิงชนิษฎา ตูจินดา แพทยหญิงเปรมจิต ไวยาวัจมัย แพทยหญิงสุธินี รัตนิน นายแพทยพลเกียรติ สุชนวณิช ู ความนํา โรคสะเก็ดเงิน (psoriasis) เปนโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนัง โดยมีลักษณะสําคัญคือ ผื่น ผิวหนังมีอาการแดง ขุยหนา อาจมีอาการคัน โรคสะเก็ดเงินมีความสัมพันธกับระบบตางๆ ในรางกาย หลายระบบ เชนมีความสัมพันธกับโรคขออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis), inflammatory bowel disease, พันธุกรรมและสิ่งแวดลอมก็เปนปจจัยสงเสริมใหเกิดโรคและกระตุนใหมอาการได ี นิยาม โรคสะเก็ดเงิน เปนโรคเรื้อรัง เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันโดยมี ทําใหมีการอักเสบ รวมกับมี การแบงตัวของเซลผิวหนังเร็วผิดปกติ ระบาดวิทยา โรคสะเก็ดเงินพบไดประมาณรอยละ 1-2 ของประชากรทั้งหมด พบไดทุกเชื้อชาติ อัตราการเกิดโรค เทากันทั้งเพศชายและเพศหญิง จากการศึกษาในผูปวยโรคสะเก็ดเงินจํานวน 2,400 ราย พบความถี่ใน การเกิดโรคมี 2 ชวงคือชวงอายุนอย (22.5 ป)และอายุมาก (55 ป)(1, 2) ผูปวยโรคสะเก็ดเงินที่แสดงอาการ ของโรคตั้งแตอายุนอยจะพบมีความรุนแรงของโรคมากกวากลุมผูปวยอายุมากและพบมีโอกาสที่คนใน ครอบครัวจะเปนโรคสะเก็ดเงินดวย สาเหตุ ยัง ไม ท ราบสาเหตุ ที่ แ น ชั ด จากหลั ก ฐานในป จจุ บั น ทราบว าน า จะเกิ ด จากหลายป จ จั ยร ว มกั น ได แ ก พันธุกรรม ระบบภูมิคุมกันและปจจัยกระตุนภายนอก 94
  • 3.   ประเภทของโรคสะเก็ดเงิน Plaque psoriasis เป นลั ก ษณะผื่ นผิว หนั งที่ พ บบอยที่ สุด ประมาณรอ ยละ 80-90 ของผูปว ยทั้งหมด รอยโรคมี ลักษณะเปนผื่นแดงหนา ขอบเขตชัด สะเก็ดหนา ขุยมาก ขนาดตั้งแต 1 เซ็นติเมตรขึ้นไป พบบอยบริเวณ หนังศีรษะ ลําตัว กนและแขนขาทั้งสองขาง โดยเฉพาะบริเวณ extensor เชน ขอศอก เขา เปนตน ประมาณรอยละ 80 ของผูปวยมีความรุนแรงนอยถึงปานกลาง เพียงรอยละ 20 เทานั้นที่มีความรุนแรง ปานกลางถึงมาก คือมีรอยโรคทั่วรางกายมากกวารอยละ 10 ของพื้นที่ผิวรางกายทั้งหมด หรือมีรอยโรค ในตําแหนงที่สาคัญ เชน มือ เทา หนา และอวัยวะเพศ เปนตน ํ Guttate psoriasis เปนสะเก็ดเงินที่มีรอยโรคเปนตุมแดง มีขุย (fine scale) ตุมมีขนาดเล็กไมเกิน 1 เซ็นติเมตร บริเวณลําตัว ตนแขน ตนขา พบไดนอยกวารอยละ 10-20 ของผูปวยทั้งหมด ผูปวยมักมีอายุนอยกวา 30 ป และอาจมีประวัติการติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบน โดยเฉพาะ group A beta-hemolytic streptococci นํามากอนประมาณ 2-3 สัปดาห อาจเปนอาการครั้งแรกของผูปวย หรือเปนการกําเริบในผูปวย plaque psoriasis ที่มอาการมานานก็ได ี Pustular psoriasis รอยโรคมีลักษณะเปนตุมหนอง แบงไดเปน - Generalized pustular หรือ acute generalized variant (von Zumbusch variant) เปนโรคสะเก็ด เงินชนิดรุนแรงที่มีตุมหนอง กระจายทั่วผิวหนังที่มีการอักเสบแดง - Localized pustular variant มักพบบริเวณ ฝามือ ฝาเทา โดยอาจมี plaque psoriasis รวมดวยได Erythrodermic psoriasis เปนผื่นรอยโรคที่มีลักษณะแดงเกือบทั่วพื้นที่ผิวทั้งหมดของรางกาย มีปริมาณขุยที่แตกตางกันไป อาจพัฒนาจาก plaque psoriasis หรือเกิดไดทันที นอกจากนี้อาจพบ ไขสูง ออนเพลีย หนาวสั่น และการ สูญเสียน้ําและโปรตีนในรางกาย (dehydration and hypoalbuminemia) รวมดวยได Inverse psoriasis คือสะเก็ดเงินที่ผื่นรอยโรคในบริเวณซอกพับของรางกาย ไดแก รักแร บริเวณอวัยวะเพศ ขาหนีบ และใตราวนม เปนตน เนื่องจากบริเวณเหลานี้มีความชุมชื้นอยูแลว จึงพบมีขุยหรือสะเก็ดไมมาก Psoriatic nails ความผิดปกติของเล็บสามารถพบรวมดวยในโรคสะเก็ดเงินทุกประเภท พบที่นิ้วมือไดรอยละ 50 ในขณะที่น้ิวเทาพบไดรอยละ 35 ของผูปวยทั้งหมด ความผิดปกติไดแก pitting, onycholysis, subungual hyperkeratosis และ oil-drop sign สําหรับกลุมขออักเสบสะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis) มักมีความ ผิดปกติท่เล็บรวมดวยไดถึงรอยละ 90 ี 95
  • 4.   Psoriatic arthritis ขออักเสบสะเก็ดเงิน คือการอักเสบของขอที่เกิดจากโรคสะเก็ดเงิน ซึ่งมีความสําคัญเนื่องจากการ อักเสบของขอในโรคสะเก็ดเงินมักทําใหเกิดการพิการผิดรูปไดบอย อุบัติการแตกตางกันมากตามกลุม ผูปวยที่ทาการศึกษาขอมูลพบไดรอยละ 1-40 ของผูปวยโรคสะเก็ดเงิน ํ การวินิจฉัย อาศัยประวัติและการตรวจรางกายเปนหลัก ลักษณะทางคลินิก ประวัติ 1.เปนผื่นเรื้อรัง 2.อาจจะมีหรือไมมีอาการคัน 3.บางรายมีประวัติครอบครัว 4.ผื่นอาจกําเริบไดภายหลังภาวะติดเชื้อ ความเครียด หรือหลังไดรับยาบางชนิด เชน lithium, antimalaria, beta-blocker, NSAIDS และ alcohol การตรวจรางกาย ผิวหนัง มีผื่นหนาสีแดง ขอบชัดเจนคลุมดวยขุยซึ่งพบไดหลายลักษณะ อาทิ ขุยหนาขาว คลายสีเงิน ซึ่งสามารถขูดออกไดงาย และเมื่อขูดขุยออกหมดจะมีจุดเลือดออกบนรอยผื่น (Auspitz’s sign) ขุยขาวละเอียด ขุยสีเหลืองผื่นสะเก็ดเงินอาจเกิดบนรอยแผลถลอกหรือรอย แผลผาตัด (Koebner phenomenon) เล็บ พบมีหลุม(pitting) เล็บรอน(onycholysis) ปลายเล็บหนามีขุยใตเล็บ (subungual hyperkeratosis) หรือ จุดสีน้ําตาลใตเล็บ(oil spot) ขอ มีการอักเสบของเอ็นและขอซึ่งอาจเปนไดทั้งขอใหญ ขอเล็ก เปนขอเดียว หรือ หลายขอ โดยสวนใหญการอักเสบที่ distal interphalangeal joint ถือเปนลักษณะจําเพาะของโรคขอ อักเสบสะเก็ดเงินและอาจจะมีขอพิการตามหลังการอักเสบเรื้อรัง การประเมินความรุนแรงของโรค • The Psoriasis Area and Severity Index (PASI) เปนการประเมินความรุนแรงของผื่นจาก body surface area involvement, erythema, induration and scaling ของผื่นในสวนตางๆ ของรางกาย โดยทั่วไปควรประเมิน PASI กอนการรักษา ระหวางการรักษา และสิ้นสุดการ รักษา (รายละเอียดการคํานวณหาPASI score ดังภาคผนวก) • Body surface area (BSA) เปนการประเมินความรุนแรงของผื่นโดยดูพื้นที่ของผิวหนังที่ เปนโรค วิธีการวัดโดยใชฝามือของผูปวยเปนเครื่องวัดกําหนดให 1 ฝามือของผูปวยเปนรอย ละ 1 ของพื้นที่ผิวหนังทั้งหมด • Dermatology Life Quality Index (DLQI) เปนการประเมินคุณภาพชีวิตของผูปวยโรค ผิวหนัง(2) (รายละเอียดดังภาคผนวก) แบงความรุนแรงของโรคสะเก็ดเงินดังนี้ 96
  • 5.   • Mild psoriasis หมายถึง สะเก็ดเงินความรุนแรงนอย โดยดูจากพื้นที่รอยโรค < 10% body surface area (BSA), PASI<10, DLQI <10 • Moderate to severe psoriasis หมายถึง สะเก็ดเงินความรุนแรงปานกลางถึงมากโดยดู จากพื้นที่รอยโรค >10% BSA, PASI > 10, DLQI> 10 • ผื่นสะเก็ดเงินที่ใบหนา มือและเทา รวมทั้งอวัยวะเพศ แมพื้นที่ของรอยโรคจะนอยกวา 10% แตหากสงผลตอคุณภาพชีวิตของผูปวยจะจัดอยูในกลุม moderate to severe psoriasis การตรวจทางหองปฏิบัติการ การตรวจทางพยาธิวิทยา พยาธิสภาพของผื่นสะเก็ดเงินจะมีลักษณะเฉพาะ แตไมจาเปนตองทํา ํ การตรวจทุ ก ราย อาจทํ า เพื่ อ ช ว ยในการวิ นิ จ ฉั ย แยกโรค เพื่ อ ยื น ยั น การวิ นิ จ ฉั ย และช ว ย วินิจฉัยโรคในกรณีที่มีปญหา การตรวจตอไปนี้เลือกทําเฉพาะผูปวยที่มีอาการ หรือขอบงชี้ 1.ยอมสีกรัมและเพาะเชื้อแบคทีเรีย ถามีตุมหนอง 2.ถามีอาการขออักเสบอาจสงตรวจทางรังสีและตรวจหา rheumatoid factor เพื่อแยกโรค rheumatoid arthritis 3.ในรายที่มีอาการรุนแรง เฉียบพลันหรือมีปจจัยเสี่ยง ควรเจาะ anti HIV antibody การตรวจหาโรคที่เกิดรวมกับโรคสะเก็ดเงิน (Medical comorbidities associated with psoriasis ) Metabolic syndrome: กลุมโรคที่ประกอบดวย obesity, diabetes mellitus, dyslipidemia (hypertriglyceridemia and low high-density lipoprotein) และ hypertension พบวาผูปวยโรค สะเก็ดเงินมีอุบัติการการเกิด metabolic syndrome มากกวาผูปวยที่ไมเปนโรคสะเก็ดเงินและ นําไปสู cardiovascular disease ตอมา(3-8)ดังนั้นจึงควรตรวจรางกาย วัดความดัน ชั่งน้ําหนัก วัด สวนสูง เพื่อประเมิน BMI และเจาะเลือด ไดแก fasting blood sugar, lipid profiles เพื่อหาโรคใน กลุม metabolic syndrome ในผูปวยโรคสะเก็ดเงิน Autoimmune diseases: ขอมูลในตางประเทศ พบอุบัติการการเกิดโรค Crohn’s disease และ ulcerative colitis ในผูปวยโรคสะเก็ดเงิน 3.8-7.5 เทาเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรทั่วไป(9) นอกจากนี้มีการศึกษาพบการเกิดโรค multiple sclerosis สูงขึ้นในครอบครัวที่เปนโรคสะเก็ดเงิน สนับสนุนวามีความสัมพันธทางพันธุกรรมระหวางโรคดังกลาว(10) Lymphoma การศึกษาในประเทศอังกฤษ พบอุบัติการการเกิดโรค lymphoma ในผูปวยโรค สะเก็ดเงินสูงขึ้น 3 เทาเมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมที่มีอายุ และเพศใกลเคียงกัน(11) 97
  • 6.   การรักษาโรคสะเก็ดเงิน เนื่องจากโรคสะเก็ดเงินเปนโรคเรื้อรังที่ยังไมทราบสาเหตุชัดเจน การรักษาจึงเปนการผสมผสานวิธีการที่ หลากหลาย (combination therapy) แพทยผูรักษาจําเปนตองทราบขอดีขอเสีย และประสิทธิภาพของแต ละวิธี โดยเลือกใชในแตละกรณี และมีการหมุนเวียนวิธีการรักษา (rotational therapy) เพื่อหลีกเลี่ยงและ ลดผลขางเคียงจากการใชยาแตละประเภท 1. การรักษาตามมาตรฐาน (Standard treatment) 1.1. ยาทาภายนอก 1.2. ยารับประทาน 1.3. การใชแสงแดดเทียม (Phototherapy, Photochemotherapy) 1.4. ยาฉีดกลุมชีวภาพ 2. การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment) 3. การประคับประคองทางจิตใจ (Psychotherapy) การใหความรูเกี่ยวกับโรคแกผูปวยและญาติ (Education) - โรคสะเก็ดเงินเปนโรคเรื้อรัง ที่มีอาการเดนทางผิวหนังอักเสบ ไมสามารถรักษาหายขาดไดแต สามารถควบคุมโรคได ในบางกรณีอาจมีผื่นตลอดชีวิต และโรคอาจมีการกําเริบเปนชวงๆ ได - โรคสะเก็ดเงินเปนโรคไมติดตอ - ควรหลีกเลี่ยงปจจัยกระตุนใหโรคกําเริบเชน การดื่มเหลา การแกะเกา และรบกวนผิวหนังใน ลักษณะตางๆ ผิวไหมแดงจากแสงแดด และ ความเครียด (stress) เปนตน - การติดเชื้อทําใหโรคกําเริบขึ้นได - ยาบางชนิด เชน ยาตานมาลาเรีย ยาลดความดันโลหิตกลุม beta-blocker, ยา lithium สามารถ กระตุนใหโรคกําเริบได - มีวิธีการรักษาโรคหลายวิธี ซึ่งแตละวิธมีขอดี ผลขางเคียง ประสิทธิภาพ และขอควรระวังแตกตาง ี กัน การรักษาดวยยาทา (Topical therapy) ยาทาที่มีใชในประเทศไทยปจจุบัน ไดแก 1. Corticosteroids 2. Tar 3. Dithranol (Anthralin) 4. Calcipotriol 5. Calcineurin inhibitor 6. Salicylic acid 98
  • 7.   ยาทากลุมสเตียรอยด (Topical steroids) กลไกการออกฤทธิ์ - ลดการอักเสบ และลดการแบงตัวของเซลผิวหนัง โดยจับกับ glucocorticoid receptors วิธีใช - ยาทากลุมสเตียรอยด มีหลายระดับความแรงของการออกฤทธิ์ใหเลือกใช การเลือกใชยาชนิดใด นั้นควรพิจารณาจากตําแหนงของรอยโรค ยาที่มีฤทธิ์ออนจะไดผลการรักษานอยกวาชนิดที่มีฤทธิ์ แรงกวา แตยาที่มีฤทธิ์แรงจะใชไดบางบริเวณของรางกาย และควรใชในชวงสั้นๆเทานั้น - ยาที่มีฤทธิ์ออนอาจทาวันละ 1-2 ครั้งทุกวัน  - ยาที่มีฤทธิ์แรงควรทาวันละ 2 ครั้งตอเนื่องกันไมเกิน 2 สัปดาห หลังจากนั้นอาจทาวันเวนวัน หรือ สัปดาหละ 1-2 ครั้ง เพื่อควบคุมโรค ประสิทธิภาพ เมื่อรักษาแบบ monotherapy ยาทาระดับความแรงปานกลางจะไดประสิทธิภาพการรักษาดีที่สุด สําหรับยาทาที่มีฤทธิ์แรงจะมีประสิทธิภาพดีในชวง 2 สัปดาหแรกของการรักษา(12, 13) (คุณภาพหลักฐาน ระดับ 1 ระดับคําแนะนําระดับ A) ผลขางเคียงและขอควรระวัง - ผิวหนังบางลง - เกิดรอยแตกของผิวหนัง (Striae) ซึ่งตองระวังเปนอยางยิ่งบริเวณรักแร ขาหนีบ และซอกเรน ตางๆ - ยาถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดเกิดการกดการทํางานของตอมหมวกไต หากใชเปนบริเวณกวาง ตอเนื่องนานกวา 2 สัปดาห - การใชยาติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหประสิทธิภาพของยาลดลง (Tachyphylaxis)(14) - การใชยา topical steroid class I ทาตอเนื่องกันไมควรทาติดตอกันนานเกิน 2—4 สัปดาห และไม ควรใชปริมาณเกิน 50 กรัมตอสัปดาห(15) น้ํามันดิน (Tars) (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B) กลไกการออกฤทธิ์ - กดการสราง DNA ในชั้นหนังกําพรา - ลดอาการอักเสบ วิธีใช ใชน้ํามันดินอยางเดียว - Tar bath ใช coal tar solution ผสมน้ํา ใหผูปวยแชนาน 10 นาที - ทาดวย Tar cream หรือ ointment บนผื่น ซึ่งตองระวังการระคายเคืองบริเวณขอพับและ บริเวณ อวัยวะเพศ (genital area) - หนังศีรษะ สระดวย Tar shampoo 99
  • 8.   ใชน้ํามันดินรวมกับการรักษาอื่น - ใชรวมกับยาทาคอรติโคสเตียรอยด - แช tar bath 15-30 นาทีตามดวยการฉาย UVB หรืออาบแดด - การรักษาแบบ Goeckerman คือ ใชน้ํามันดินทาทั้งตัว ทิ้งไวประมาณ 8-12 ชั่วโมง แลวลางยา ออกตามดวยการฉาย UVB ประสิทธิภาพ ใหผลการรักษาดีกวาเมื่อเปรียบเทียบกับ placebo(16) ผลขางเคียงและขอควรระวัง - รูขุมขนอักเสบ (folliculitis) - ผิวหนังระคายเคือง (irritant contact dermatitis) - ผิวหนังอักเสบจากการแพ (allergic contact dermatitis) - เปรอะเปอนเสื้อผา และมีกลิ่นเหม็น - น้ํามันดิน อาจเปนสารกอมะเร็ง ควรใชดวยความระมัดระวังเมื่อใชรวมกับการรักษาผื่น ซึ่งมีผลตอ มะเร็ง เชน UVB, PUVA Anthralin (Dithranol) (คุณภาพหลักฐานระดับ 3 ระดับคําแนะนําระดับ C) กลไกการออกฤทธิ์ - กดการแบงตัวของเซลลชั้นหนังกําพรา วิธีใช - การรักษาแบบ Short contact คือทา anthralin ทิ้งไว 15-30 นาที ถาไมมีอาการระคายเคืองให เพิ่ม ความเขมขนขึ้นไดเรื่อยๆ แลวเช็ดออกดวยน้ํามันมะกอกถาใชในรูปแบบขี้ผึ้ง หากใชยาในรูป ครีมสามารถใชน้ําเปลาลางออกได - การรักษาแบบ Ingram คือใชน้ํามันดิน ทาบริเวณผื่นแลวตามดวยการฉายรังสี UVB และทา anthralin กอนนอน ประสิทธิภาพ การรักษาแบบ short contact therapy สามารถทําใหรอยโรคดีขึ้นรอยละ 10-72(17) ผลขางเคียงและขอควรระวัง - มีการระคายเคืองของผิวหนัง - เปรอะเปอนเสื้อผา - ทําใหรอยโรคและผิวหนังปกติมีสีคล้ําเขมขึ้น 100
  • 9.   กลุม Vitamin D3 analogues (calcipotriol,calcitriol, tacalcitol, maxacalcitol) (คุณภาพหลักฐาน ระดับ 1 ระดับคําแนะนําระดับ A) กลไกการออกฤทธิ์ - จับกับ vitamin D receptors - ทําใหการ differentiation ของเซลลกลับสูภาวะปกติ วิธีใช ใช Calcipotriol อยางเดียว - สําหรับผื่น psoriasis ชนิด plaque ทาวันละ 2 ครั้ง - ควรหลีกเลี่ยงผื่นที่หนาและบริเวณขอพับ ใชรวมกับการรักษาอื่น - ใชรวมกับยาทาคอรติโคสเตียรอยดจะชวยลดการระคายเคืองจาก calcipotriol และเสริม ประสิทธิภาพของการรักษา แตหามทาในเวลาเดียวกัน - ใช รวมกับ UVB หรือ PUVA ประสิทธิภาพ ผลการรักษาที่ 8 สัปดาห ของผูปวยสองในสามในระดับดีถึงดีมาก(18) ผลขางเคียงและขอควรระวัง - ผิวหนังระคายเคือง - เกิดภาวะ hypercalcemia ได(19) ดังนั้นไมควรใชเกิน 100 กรัม/สัปดาห Calcineurin inhibitors (tacrolimus, pimecrolimus) (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B) กลไกการออกฤทธิ์ - จับกับ FK506-binding protein มีผลทําใหลดการสราง cytokine ที่ทําใหเกิดการอักเสบ วิธีใช - ทาบริเวณรอยโรค 2 ครั้งตอวัน ไดผลดีเฉพาะรอยโรคบริเวณใบหนาและซอกพับตางๆ ไดผลไมดี สําหรับโรคสะเก็ดเงินชนิดผื่นหนา (plaque type) ประสิทธิภาพ ในการรักษา facial and flexural psoriasis ใหผลการรักษาในระดับดีสูงกวากลุมที่ใชยาหลอก(20, 21) ผลขางเคียงและขอควรระวัง - ระคายเคืองบริเวณที่ทายา - ควรใชอยางระมัดระวังในผูปวยอายุต่ํากวา 2 ป 101
  • 10.   Salicylic acid (การใชรวมกับยาอื่นใหดูหลักฐานตามตารางสรุปหนา 22) กลไกการออกฤทธิ์ -ทําใหมีการหลุดลอกของเซลลผิวหนัง วิธใช ี - Salicylic acid มักผสมรวมกับยาทาชนิดอื่นๆ ซึ่งจะทําใหผลการรักษาดีขึ้นเนื่องจากทําใหการซึม ผานของยาทาชนิดอื่นผานเขาผิวหนังดีขึ้น ใชทาบริเวณรอยโรควันละ 1-2 ครั้ง ผลขางเคียงและขอควรระวัง - หากทาปริมาณมากกวารอยละ 20 ของพื้นที่ผิวทั่วรางกายมีโอกาสดูดซึมเขาสูรางกายกอใหเกิด พิษได โดยเฉพาะในผูปวยโรคตับและโรคไต - การทา Salicylic acid กอนฉายแสงUVB จะลดประสิทธิภาพของการฉายแสงลง - ไมควรใชในเด็ก การรักษาดวยยาที่ออกฤทธิ์ทั่วรางกาย (Systemic therapy) ในปจจุบันมียาหลายชนิดที่ถูกนํามาใชรักษาสะเก็ดเงิน แบงเปนกลุมไดดังนี้ ยากลุมหลัก 1. Methotrexate 2. Retinoid 3. Cyclosporine ยากลุมรอง 1. Sulfasalazine 2. Hydroxyurea 3. Mycophenolate mofetil 4. 6-Thioguanine 5. Fumaric acid esters สําหรับในแนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินนี้จะกลาวถึงเฉพาะรายละเอียดของยากลุมหลักดังนี้ Methotrexate (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B) เนื่องจากยา Methotrexate มีการใชมานานและแพรหลายจึงแนะนําใหใชเปนยาลําดับแรกในการรักษา ผูปวยที่เปนสะเก็ดเงินรุนแรง ปานกลาง และรุนแรงมาก กลไกการออกฤทธิ์ - ยับยั้งการทํางานของเอ็นไซม dihydrofolate reductase - ยับยั้งการแบงตัวของเซลลผิวหนังโดยยับยั้งการสราง DNA - ลดการอักเสบ 102
  • 11.   ขอบงชี้ - Psoriatic erythroderma - Pustular psoriasis - Severe palmoplantar psoriasis ที่ไมตอบสนองตอยาทา - Severe plaque type psoriasis > รอยละ 10 ของพื้นที่ผิวหนัง - Psoriatic arthritis ขอหามใชและขอควรระวัง - หญิงตั้งครรภและใหนมบุตร (หามใชอยางเด็ดขาด) - ตองคุมกําเนิดชายและหญิงในระหวางการรักษาและหลังหยุดยาแลว 3 เดือน - หามใชในผูปวยโรคตับแข็ง, ติดเชื้อ HIV - ผูปวยที่มี renal insufficiency, เบาหวาน - ผูปวยวัณโรค - โรคตับอักเสบระยะแสดงอาการและระยะสงบ - ผูปวยมีความผิดปกติทางชีวเคมีของตับ - ผูปวยที่มีประวัติดื่มเหลาจัด - ผูปวยที่มีความบกพรองทางภูมิคมกันุ - ผูปวยซึ่งไมยินยอม และ ผูปวยซึ่งแพทยสงสัยวาไมเขาใจวิธีใชยา วิธีใช - เริ่มรับประทานยาขนาดใชจาก 2.5-25 ม.ก. ตอสัปดาห ควรใหสัปดาหละครั้งเดียวหรือแบงใหเปน 3 ครั้งหางกัน 12 ชั่วโมง ตอสัปดาห โดยเริ่มเริ่มใหรับประทาน 2.5-5 มก. 1 ครั้งตอสัปดาห เปน เวลา 2 สัปดาห เพื่อหลีกเลี่ยงผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้น หลังจากนั้นเพิ่มขนาดยาขึ้นสัปดาหละ 2.5-5 มก. สูงสุดไมควรเกิน 15-25 มก.ตอสัปดาห - การฉีดเขากลามหรือเขาชั้นไขมันใตผิวหนัง ขนาด 7.5-25 มก. ตอสัปดาห ถาไมมีผลขางเคียง เกิดขึ้น ใหเพิ่มปริมาณยาไดตามความรุนแรงของโรค - การให folic acid รวมดวย จะชวยลดผลขางเคียงบางอยางของ methotrexate เชน อาการ คลื่นไส อาเจียน แผลในปากและลดอันตรายตอตับ เปนตน ขนาดยาแตกตางกันตั้งแต 1-5 มก. ตอวัน หรือ ตอสัปดาห ประสิทธิภาพ ลดความรุนแรงของผื่น psoriasis ไดอยางนอยรอยละ 50 ในรอยละ 75 ของผูปวย(22) การติดตามผลทางหองปฏิบัติการ - ตรวจ complete blood count, BUN, creatinine, liver function test กอนใหยาและสัปดาหที่สอง หลังรับประทานยา หลังจากนั้นควรตรวจเปนระยะประมาณ 4-6 ครั้งตอป หรือถี่กวานั้นถามีผล การตรวจที่ผิดปกติ - ถาผูปวยมีปจจัยเสี่ยงเจาะ Anti-HIV เพื่อดูภาวะ Immunosuppression กอนการใหยา  103
  • 12.   - การตรวจภาพรังสีปอด - ในผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยง หลังจากไดยามากกวา 1–1.5 กรัม ควรพิจารณาทํา liver biopsy หรือ หากผูปวยไมยินยอมใหทํา liver biopsy ควรพิจารณาเปลี่ยนการรักษา และควรทํา liver biopsy ซ้ําเมื่อไดรับยาเพิ่มขึ้นทุก 1 กรัม - ในผูปวยที่ไมมีปจจัยเสี่ยง พิจารณาทํา liver biopsy หลังไดรับยาสะสม 3.5-4 กรัม(23) - Amino-terminal peptide of procollagen III (PIIINP) สามารถใชเปนmarkerติดตามภาวะliver fibrosis ได (แตปจจุบนยังไมมีการตรวจนี้ในประเทศไทย)  ั ผลขางเคียง - มีแผลในปาก คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน - กดไขกระดูกทําใหมีโอกาสเกิดการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น - ปวดศีรษะ ไข หนาวสั่น - คันตามผิวหนัง ลมพิษ ผมรวง เปนแผลบริเวณผื่นสะเก็ดเงิน - ทําใหตับแข็ง ซึ่งสัมพันธกับปริมาณยาสะสม และปจจัยเสี่ยงของผูปวย - ปสสาวะเปนเลือด กระเพาะปสสาวะอักเสบ พบความผิดปกติทางไต (nephropathy) - การสรางไขจากรังไขผิดปกติ - ประจําเดือนผิดปกติ - ไวตอแสงแดด (reactivation of sunburn response) ขอควรระวัง - ระดับของ methotrexate ในเลือดจะเพิ่มขึ้นถาใหรวมกับ alcohol, salicylates, cotrimoxazole, trimethoprim, probenecid, phenytoin, retinoids, pyrimethamine และ furosemide - กรณีเกิดพิษจากการไดรับ methotrexate เกินขนาด (acute methotrexate toxicity) แกไขไดดวย การให leucoverin 20 มก. (10 มก./ตารางเมตร) รับประทานหรือฉีดเขาเสนทุก 6 ชม. Pregnancy category X Retinoids (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B) เนื่องจากยา Retinoids มีการใชมานานและแพรหลายจึงแนะนําใหใชเปนยาลําดับแรกในการรักษาผูปวยที่ เปนสะเก็ดเงินชนิดตุมหนองหรือใชรวมกับการรักษาแบบอื่นในการรักษาผูปวยสะเก็ดเงินชนิดปานกลาง และรุนแรง กลไกการออกฤทธิ์ - จับกับ retinoic acid receptor - ทําให differentiation ของเซลลผิวหนังกลับสูสภาวะปกติ ขอบงชี้ - Pustular psoriasis ตอบสนองตอการรักษาดีที่สุด - Extensive plaque type psoriasis ใหใชรวมกับการรักษาอื่น 104
  • 13.   - Erythrodermic psoriasis ใหเปนทางเลือกหนึ่งของการรักษา ขอหามใชและขอควรระวัง - ผูหญิงที่ตั้งครรภและใหนมบุตร - ผูปวยหญิงในวัยเจริญพันธุ (แตอาจใชไดถา การรักษาอื่นๆไมไดผล และผูปวยยินดีที่จะคุมกําเนิด ขณะรับประทานยาและ หลังจากหยุดยาแลว3 ป) - ผูท่มีไขมันในเลือดสูง ี - ผูเปนโรคตับ เชน ตับแข็ง ไวรัสตับอักเสบ ผล liver function test ผิดปกติ - มีความผิดปกติของไต - ไม ใ ช ใ นผู ป ว ยที่ ไ ด ย าเหล า นี้ อ ยู เช น tetracycline (เพราะอาจทํ า ให เ กิ ด intracranial hypertension) phenytoin (competition of plasma-protein binding) วิธใช ี ใชชนิดเดียว - Acitretin ขนาด 0.5-1 มก/กก/วัน เมื่ออาการดีขึ้น ใหลดขนาดลงเหลือ 0.25-0.5 มก/กก /วัน และ ใหตอประมาณ 3 เดือนหลังจากนั้นควรพิจารณาที่จะหยุดยา ใชรวมกับการรักษาอื่น - ใชรวมกับ UVB หรือ PUVA โดยใหใชยาในขนาด 0.25-0.5 มก/กก/วันกอนการฉายแสง 5–14 วันจะทําใหประสิทธิภาพการรักษาดีขึ้นมาก ประสิทธิภาพ เมื่อรักษาแบบ monotherapy พบวาใหผลการรักษาดี(22) การติดตามผลทางหองปฏิบัติการ - ตองใหเซ็นใบยินยอม (ทั้งผูปวยหญิงและชาย) - ตรวจ complete blood count, liver function test, cholesterol,triglyceride, HDLกอนการรักษา - Pregnancy test - ระหวางการรักษา ควรเจาะ liver function testและ ไขมันในเลือดทุก 1-3 เดือน - ภาวะที่มี triglyceride สูงขึ้นสามารถแกไขไดโดยงดอาหารมันและอาหารจําพวกแปง มีผูปวยนอย รายที่จําเปนตองใชยาลดไขมันในเลือด หากระดับtriglyceride ในเลือดสูงถึง 800 mg/dl ควร พิจารณาหยุดยา - ในรายที่ตองใชยาเปนระยะเวลานานเปนป ควร X-ray ฉายภาพรังสีกระดูกสันหลังเพื่อดูวาไมมี ภาวะ hyperostosis และ calcified ligament หลังจากนั้นถาตองใชยาตอเนื่องอาจใหฉายรังสีซ้ํา ทุกป - ควรตรวจ bone density เพื่อประเมินความหนาแนนของกระดูกผูปวยในกรณีที่ตองใหยา ติดตอกันเปนเวลานานหลายป 105
  • 14.   ผลขางเคียง - Cheilitis (100%), เยื่อบุจมูกแหง, ตาแหง, ผมรวง (20-50%), ผิวแหง(100%), ฝามือฝาเทาลอก, ผิวถลอกช้ํา (bruising), ปลายนิ้วลอก,เล็บเปราะ(20%), กระหายน้ํา, เลือดกําเดาออก ผลขางเคียงเหลานี้ขึ้นกับปริมาณยา และอาการเหลานี้จะหายไป เมื่อลดขนาดหรือหยุดยา - ตับอักเสบ สัมพันธกับขนาดยา - ไขมันในเลือดสูงขึ้นในระหวางรับประทานยาโดยเฉพาะไตรกลีเซอไรด - อาการปวดกลามเนื้อ - ทําใหทารกพิการผิดรูปไดสูง (teratogenicity) เนื่องจากยาสะสมในชั้นไขมันได จึงตองควบคุม ไมใหตั้งครรภขณะรับประทานยาและตองคุมกําเนิดตอหลังหยุดยาอยางนอย 3 ป - ในระยะยาว อาจทําใหพบหินปูนไปจับที่เอ็นเกิดภาวะกระดูกงอก (spur) และเกิด DISH syndrome (Diffuse Interstitial Skeletal Hyperostosis) - มีการเสื่อมของกระดูก(degenerative spondylosis) เกิดภาวะกระดูกพรุน(osteoporosis) - ในเด็กเกิดการปดของกระดูกกอนกําหนด (premature epiphyseal plate closure) Pregnancy category X Cyclosporine A (CyA) (คุณภาพหลักฐานระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B) กลไกการออกฤทธิ์ - จับกับ cyclophilin มีผลยับยั้ง calcineurin ทําใหลดการสราง cytokine ที่เกี่ยวของกับการอักเสบ - ยับยั้งภูมิตานทานของรางกาย (immunosuppressive properties) ขอบงชี้ - Psoriatic erythroderma - ใชในผูปวยที่ไมตอบสนองการรักษาดวย methotrexate และ acitretin ขอหามใชและขอควรระวัง - หญิงตั้งครรภ,ใหนมบุตร - ผูปวยที่มีความผิดปกติของไต - ผูปวยที่เปนความดันโลหิตสูง  - ผูปวยที่เปนมะเร็ง - ผูปวยที่เคยไดยาหรือสารอื่นที่เพิ่มอัตราเสี่ยงตอการเปนมะเร็งผิวหนัง เชน สารหนู - ผูปวยที่มีภาวะภูมคุมกันบกพรอง ิ วิธีใช - ระยะแรก: ควรเริ่มดวยขนาด 3-5 มก/กก/วัน ใหครั้งเดียวหรือแบงเปน 2 ครั้ง ถาไมดีขึ้นภายใน 1-3 เดือน สามารถเพิ่มขนาดยาได แตไมควรเกิน 5 มก/กก/วัน 106
  • 15.   - Maintenance: ถาผื่นดีขึ้นสามารถลดยาลงไดถึง 0.5-1 มก/กก แตสวนมากอยูที่ขนาด 2.5-3 มก/ กก/วัน ระยะเวลารักษาไมควรเกิน 2 ป ถาใช Cy A 5 มก/กก/วัน เปนเวลานาน 6 สัปดาห แลวยัง ไมดขึ้นใหพิจารณาการใชยาตัวอื่นรวมดวย ี ประสิทธิภาพ ใหผลการรักษาในระดับดีมากถึงรอยละ 90 ของผูปวย(24, 25) ผลขางเคียง - มีผลตอไต (nephrotoxicity) ทําให BUN, creatinine เพิ่มขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้นพบไดถึงรอยละ 30 ขึ้นอยูกับขนาดของยาและระยะเวลาในการใชยา - เพิ่มการเกิดมะเร็งโดยเฉพาะที่ผิวหนัง (squamous cell carcinoma) ในผูปวยผิวขาว skin type I- II - การใชยาเปนเวลานานทําใหมีโอกาสติดเชื้อ Human papilloma virus มากขึ้น - ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ เชน คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน - ขนยาวผิดปกติ (hypertrichosis) - เหงือกบวม (gingival hyperplasia) - ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ การติดตามผลทางหองปฏิบัติการ - Complete blood count - Uric acid - Liver function test - Blood electrolyte และ magnesium - Urinalysis - ดูระดับ BUN, creatinine และวัดความดันโลหิตกอนการรักษา และทุก 2-3 สัปดาหระหวางรักษา ในชวง 3 เดือนแรก หลังจากนั้นใหตรวจวัด ทุก 4-6 สัปดาห ถาระดับ creatinine สูงกวารอยละ 30 ของ baseline ใหลดระดับของ cyclosporin A ลง 0.5 –1 มก/กก/วัน ใน 1 เดือน ถาระดับของ creatinine ยังคงสูงกวา baseline 10% ควรหยุดใช cyclosporin A - ถาระดับความดันสูงกวาปกติ ใหใชยาที่มีฤทธิ์ calcium channel blocking แตถาไมสามารถ ควบคุมความดันได ควรหยุดใช Cy A(26) ขอควรระวังเมื่อใชรวมกับยาอื่น - ยาที่มพิษตอไต เชน aminoglycoside, amphotericin B, ciprofloxacin, trimethoprim, ี - Non-steroidal anti-inflammatory drugs, lovastanin และ colchicine - ยาที่สงผลให Cy A ในเลือดเพิ่มขึ้น เชน ketoconazole,erythromycin, oral contraceptives, diltiazem, nifedipine, verapamil, doxycycline, methylprednisolone 107
  • 16.   - ยาที่ทําใหระดับ Cy A ในเลือดลดลง เชน phenobarbitone, phenytoin, carbamazepine, rifampicin Pregnancy category C การรักษาดวยรังสีอัลตราไวโอเลต (Phototherapy and photochemotherapy) (คุณภาพหลักฐาน ระดับ 2 ระดับคําแนะนําระดับ B) กลไกการรักษาดวยแสงอัลตราไวโอเลต (UV) ทําใหเกิดการลดจํานวนลงของ T cell โดยเฉพาะที่ ชั้นหนังกําพรา โดยกระบวนการ apoptosis of T cell และเกิดการเปลี่ยนแปลงของ cytokine ที่กระตุน T helper cell ทําให Th1 ลดลง และ Th2 เพิ่มขึ้น ที่ผื่นสะเก็ดเงิน Ultraviolet B light (290-320 nm)เเละ Narrowband UVB (NB-UVB; 311-313nm) เปนวิธีท่ีปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ปจจุบันพบวาการฉาย NB-UVB ไดผลดีกวา BB-UVB phototherapy (290-320nm) Psoralen and ultraviolet A light (PUVA) เปนการใชสาร Psoralen รวมกับการฉาย UVA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา ไดผลดีกับผื่น สะเก็ดเงินที่หนาและมีขนาดใหญ Excimer laser (308 nm) และ Targeted UVB Therapy เปนเลเซอรท่ีใชรักษาสะเก็ดเงินเฉพาะสวน หรือบริเวณที่แสงจากตูฉายเขาไมถึง สามารถเพิ่ม พลังงานไดสูง และอาจใชในผูปวย stable recalcitrant plaques โดยเฉพาะที่ขอศอก ขอเขา การรักษาโรคสะเก็ดเงินดวยยาชีวภาพ (Biologic drugs) ยาชีวภาพ ที่มีใชในประเทศไทย มี 2 กลุม ไดแก 1) ยาตานการทํางานของ Tumor Necrosis Factor α (Anti-TNF-α) - Etanercept (Enbrel™) - Infliximab (Remicade™) - Adalimumab (Humira™) ปจจุบัน (2552) ยังไมมีจําหนายในประเทศไทย 2) มีผลโดยตรงตอ T cells (Targeting pathogenic T cells) - Efalizumab (Raptiva™) ปจจุบัน (2552) หามจําหนายในทวีปยุโรป และสหรัฐอเมริกา - Alefacept (Amevive™) ปจจุบัน (2552) ยังไมมีจําหนายในประเทศไทย การใชยากลุม Anti-Tumor Necrosis Factor α (Anti-TNF-α) (คุณภาพหลักฐานระดับ 1, คําแนะนํา  (34, 35) ระดับ A) 108
  • 17.   Etanercept (Enbrel™) recombinant human TNF-α receptor (p75) protein กลไกการออกฤทธิ์ จับกับ Fc portion ของ IgG1 ทําใหสามารถจับไดกับทั้ง soluble และ membrane-bound TNF-α ขอบงชี้ - Refractory moderate to severe psoriasis - Refractory moderate to severe psoriatic arthritis วิธีใช - ผูใหญ : 50 มก. ฉีดใตชั้นผิวหนัง สัปดาหละ 1-2 ครั้ง ติดตอกันเปนเวลา 3 เดือน หลังจากนั้น 50 มก. ฉีดใตช้นผิวหนัง สัปดาหละ 1 ครั้ง ั - เด็ก : 0.8 มก.ตอน้ําหนักตัว 1 กก.(ไมเกิน 50 มก.) ตอครั้ง ผลขางเคียง - การอักเสบบริเวณที่ฉีดยา ความรุนแรงนอยถึงปานกลาง พบไดถึงรอยละ 37 โดยเฉพาะในการฉีดยา เดือนแรก นาน 3-5 วัน ไมจําเปนตองหยุดยาเพื่อรักษาผลขางเคียงนี้ ขอควรคํานึง - ประสิทธิภาพการรักษาสัมพันธกับปริมาณยาที่ใช (Dose related response) - ไมพบการกลับเปนซ้ําในทันที (rebound) หลังหยุดใชยา แตพบแนวโนมประสิทธิภาพลดลงตาม ระยะเวลาที่ใชยา อาจเนื่องจากการมีภูมิตอตาน (antibody) เกิดขึ้นได - ไมควรใชในผูที่แพ latex เนื่องจากเข็มที่ใชฉีดยามี latex เปนสวนผสม กลุมยา Pregnancy category B Infliximab (Remicade™) Chimeric monoclonal antibody สรางจาก murine (variable region) และ human DNA (IgG1- α constant region) กลไกการออกฤทธิ์ จับกับทั้ง soluble และ transmembrane TNF-α molecules ขอบงชี้ - Severe psoriasis - Generalized pustular psoriasis - Moderate to severe psoriatic arthritis วิธใช ี - 3-5 มก. ตอน้ําหนักตัว (กก.) ตอครั้ง ฉีดเขาเสนเลือดชาๆ ใน 2 ชั่วโมงที่สัปดาหท่ี 0, 2, 6 หลังจาก นั้น ทุก 6-8 สัปดาห ระยะเวลาในการใช 109
  • 18.   - ไมมีกําหนดระยะเวลาที่แนนอน ผลขางเคียง - การระคายเคืองจากการฉีดยาเขาเสนเลือด สัมพันธกับการเกิด human antichimeric antibodies ซึ่ง สามารถจัดการโดยการลดความเร็วการฉีดยา หรือหยุดใหยา - Serum sickness ขอควรคํานึง - ใหการตอบสนองตอการรักษาเร็ว พบแนวโนมประสิทธิภาพลดลงตามระยะเวลาที่ใช - การใชรวมกับ methotrexate ปริมาณต่ํา อาจชวยลดการสรางภูมิตอตาน (antibody) ตอยานี้ได(36) กลุมยา Pregnancy category B ขอหามของการใชยากลุม Anti-TNF-α Absolute contraindications - ผูปวยที่มีการติดเชื้อรุนแรง หรือ กําลังมีการติดเชื้ออยู - ผูปวย congestive heart failure class III หรือ IV (New York Heart Association Classification) หรือผูปวย congestive heart failure class I or II ที่มี ejection fraction <50% - ใชวัคซีนชนิดมีชีวิต (live vaccine) Relative contraindications - ผูปวยที่เปนโรค หรือ มีญาติใกลชิด (first-degree relatives) เปนโรคในกลุม demyelinating disease เชน multiple sclerosis - ใชวัคซีนชนิดที่ทาใหเชื้อออนกําลังลง (inactive) หรือ recombinant vaccine ํ ขอควรคํานึง - สามารถทําใหโรควัณโรคกําเริบได - สามารถทําใหโรคไวรัสตับอักเสบบีกําเริบได การตรวจทางหองปฏิบัติการกอนเริ่มการรักษาดวยยากลุม Anti-TNF-α - PPD (Purified Protein Derivative) การแปลผล tuberculin test ดังภาคผนวก - CBC - Liver function test - Hepatitis profile, HIV - CXR การตรวจติดตามทางหองปฏิบัติการในผูปวยที่ไดยากลุม Anti-TNF-α - CBC ทุก 3-6 เดือน - Liver function test ทุก 3-6 เดือน - PPD ทุกป, CXR ทุกป 110
  • 19.   ผลขางเคียงที่สําคัญของยากลุม Anti-TNF-α (ที่มีรายงาน) - การกําเริบของโรควัณโรค โรคติดเชื้อฉวยโอกาส และโรคมะเร็งบางชนิดได - กระตุนใหเกิดลูปส (drug induced lupus) ที่ไมมีภาวะทางไต หรือ ภาวะทางระบบประสาทรวม ดวย ซึ่งสามารถหายไดเมื่อหยุดการใชยา (reversible) - เซลลเม็ดเลือดต่ํากวาปกติ (cytopenia) - กระตุนใหเกิดโรค multiple sclerosis - ทําใหเกิด (new onset) หรือ ทําใหมีอาการกําเริบ (exacerbation) ของภาวะหัวใจลมเหลว (Congestive Heart Failure) ความปลอดภัยในการใชยากลุม Anti-TNF-α การติดเชื้อ - มีการกําเริบของวัณโรค และเพิ่มอุบัติการณการเกิดวัณโรคนอกปอด (extrapulmonary TB) และวัณโรคชนิดแพรกระจายได (disseminated TB) โดยพบการกําเริบของวัณโรค จาก etanercept นอยกวา infliximab หรือ adalimumab - เพิ่มโอกาสการติดเชื้อ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อฉวยโอกาส เชน histoplamosis, listeriosis, coccidioidomycosis, cryptococcosis, aspergillosis, candidiasis และ pneumocystis การตรวจติดตามและการประเมินจึงเปนเรื่องที่จําเปน เมื่อมีการติดเชื้อที่ตองไดรับยา ปฏิชีวนะ ควรหยุดการใชยากลุมนี้ - มีการกําเริบของโรคไวรัสตับอักเสบบี และซี (Hepatitis B and C) โรคทางระบบประสาท - พบการกระตุนใหเกิดโรค หรือทําใหมีอาการมากขึ้น ในกลุมโรค demyelinating disease โรคหัวใจ - การมีผลตอผูปวยภาวะหัวใจลมเหลว (congestive heart failure, CHF) ยังเปนที่ถกเถียง กันอยู อยางไรก็ดี หามใชยากลุม Anti-TNF-α ในผูปวยที่มีภาวะหัวใจลมเหลวชนิด รุนแรง (CHF class III or IV) เนื่องจากกระตุนใหเกิด (new onset) หรือทําใหมีอาการ มากขึ้นได (exacerbation) การกระตุนใหเกิดภาวะลูปส (drug induced lupus-like syndrome) - การใชยาในกลุม Anti-TNF-α ทําใหเกิด circulating antinuclear antibodies มากขึ้น อยางไรก็ตาม ภาวะนี้สามารถกลับมาปกติได (reversible) เมื่อหยุดการใชยา ไม จําเปนตองตรวจ antinuclear antibodies กอนหรือระหวางการรักษาถาไมมีอาการที่ สงสัยโรคตับ - มีผลทําให transaminase enzyme เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจากยา infliximab มะเร็งตอมน้ําเหลือง 111
  • 20.   - มีท้ังการศึกษาที่พบอุบัติการณมะเร็งตอมน้ําเหลืองเพิ่มขึ้น และไมพบความแตกตางจาก กลุมควบคุ ม ในการใช ยากลุ ม Anti-TNF-α อยางไรก็ตาม ควรพิจารณาเปนพิเศษใน ผูปวยที่มีประวัติมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งตอมน้ําเหลือง มะเร็งผิวหนังชนิด melanoma และชนิด non-melanoma - พบการรายงานการเพิ่มอุบัติการณมะเร็งผิวหนังในผูปวยที่ใชยา Anti-TNF-α สําหรับ มะเร็งชนิดอื่น (solid cancers) มีทั้งการพบอุบัติการณเพิ่มขึ้น และไมแตกตางจากกลุม ควบคุม โรคเลือด - มีรายงานการเกิด aplastic anemia, isolated leucopenia และ thrombocytopenia จาก การใชยา Anti-TNF-α การตอบสนองทางรางกายอื่นๆ - มีรายงานการเกิด leukocytoclastic vasculitis ในการรักษา rheumatoid arthritis 112
  • 21.   ตารางสรุป The strength of recommendation for the treatment of psoriasis using topical, traditional systemic and biologic therapies(15, 38, 39) ยา/การรักษา Level of evidence Strength of recommendation Topical Therapies Class I topical corticosteroid I A Class II topical corticosteroid II B Class III/IV topical corticosteroid I A Class V/VI/VII topical corticosteroid I A Coal tar II B Vitamin D analoques I A Anthralin (Dithranol) III C Topical tacrolimus and pimecrolimus II B Topical corticosteroid + salicylic acid II B topical corticosteroid + vitamin D analoque I A Topical tacrolimus + salicylic acid II B Traditional systemic therapies Methotrexate II B Acitretin II B Cyclosporine II B Azathioprine III C Hydroxyurea III C Leflunomide II B Sulfasalazine II B Biologic therapies Infliximab I A Etanercept I A Adalimumab I A Alefacept I A I. Good-quality patient-oriented evidence II. Limited-quality patient-orientd evidence III. Other evidence including consensus guidelines, opinion, or case studies A. Recommendation based on consistent and good-quality patient-oriented evidence B. Recommendation based on inconsistent or limited-quality patient-oriented evidence C. Recommendation based on consensus, opinion, or case studies 113
  • 22.   ขั้นตอนการดูแลผูปวยสะเก็ดเงิน Psoriasis No arthritis Arthritis Limited disease Extended disease Follow the guideline of Thai (<10% BSA, PASI < 10) (> 10% BSA, PASI >10) Rheumatism Association UVB/PUVA + Topical Rx Systemic drugs + Topical Rx Topical/Targeted phototherapy Lack of efficacy Lack of efficacy Combination UVB/PUVA and systemic drugs Lack of efficacy Biologic drugs* * ยานี้เปนยาราคาแพง และมีผลขางเคียงไดมาก ควรใชโดยผูเชี่ยวชาญ ตาม +/-UVB/PUVA หลักเกณฑการเบิกจายยาของกรมบัญชีกลาง +/-Systemic drugs 114
  • 23.   แนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินที่พบบอย    ชนิดของสะเก็ดเงิน Topical Systemic Phototherapy Tar Steroid Vit D3 Dithranol MTX Retinoid Cyclosporine PUVA UVB/Narrowband UVB Guttate 1 1 1 2 1 - - 2 1 Plaque • Limited 1 1 1 1 2 - - - 2 (< 10%BSA, PASI <10) • Extended 1 1 1 1 1 2 2 1 1 (> 10%BSA, PASI >10) Scalp psoriasis 1 1 2 2 - - - - - Nail Psoriasis - 1 2 - - - - - - Psoriatic arthritis See guideline of Thai Rheumatism Association   1, 2, 3 หมายถึงควรเลือกเปนลําดับที่ 1, 2, 3 115
  • 24.   แนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินกรณีพิเศษ ชนิดของสะเก็ดเงิน Topical Systemic Phototherapy Tar steroid Vit D3 Dithranol MTX Retinoid Cyclosporine Biologics PUVA UVB/Narrowband UVB Recalcitrant plaque psoriasis พิจารณาใหตาม ความเห็นของ ผูเชี่ยวชาญ Pustular psoriasis • Limited - 1 - - 1 1 3 - 2 3 (< 10%BSA, PASI <10) (local PUVA) - • Extended - 3 - - 1 1 2 4 3 - (> 10%BSA, PASI >10) Psoriasis erythroderma - 3 - - 1 3 1 4 2 3 Psoriasis in pregnancy 2 1 1 1 - - - - - 1 Psoriasis in HIV or 1 1 1 1 - 1 - - - 2 Immunocompromised host พิจารณาใหตามความเห็นของ ผูเชี่ยวชาญ หมายเหตุ การรักษาตามตารางนี้ใชกรณีการรักษาชนิด monotherapy, ในผูปวยบางราย การรักษาดวย combination therapy จะไดผลการรักษาดีกวา 116
  • 25.   ตารางสรุปการรักษาดวยรังสีดวยการฉายแสง (Phototherapy and photochemotherapy)(27) Narrowband UVB Broadband UVB Psoralen&UVA Excimer laser (NB-UVB 310- (BB-UVB 290- (PUVA)(28-31) (308nm)(32) 313nm) 320nm) Dosing ประเมิน MED กอน ประเมินMED กอน ประเมินMPD กอน ประเมิน MED กอน (ขนาดแสง) รักษา เริ่มตนรักษา รักษา เริ่มตนรักษา รักษา เริ่มตนรักษา รักษา ใชขนาดแสง 50% MED ความถี่ 75% MED ความถี่ ตาม MPD ถาไม ไดถึง 6MED (2- 3-5 ครั้งตอสัปดาห 3-5 ครั้งตอสัปดาห สามารถประเมินได 6MED) ความถี่ 2 เพิ่มขนาดแสงอยาง เพิ่มขนาดแสงอยาง เริ่ม 0.5-2 J/cm2 ครั้งตอสัปดาห นอย 10%ของ MED นอย 10%ของ MED ความถี่ 2 ครั้งตอ สัปดาห เพิ่มขนาด 40%ตอสัปดาห จนกวาแดง หลังจาก นั้นไมควรเพิ่ม มากกวา 20% ขนาดสูงสุด 12 J/ cm2 Efficacy ผื่นดีขึ้น >รอยละ 70 ผื่นดีขึ้น >รอยละ 47 สามารถทําใหผื่น ผื่นดีข้น >รอยละ 75 ึ (ประสิทธิภาพ) ในการศึกษาหลังการ ในการศึกษาหลังการ สงบ (remission) (PASI 75) รักษาดวยแสงบนผื่น รักษาดวยแสงบนผื่น 70-90% ของผูปวย หลังจากผูปวยรักษา ครึ่งหนึ่งของรางกาย ครึ่งหนึ่งของรางกาย ความสะดวกในการ เฉลี่ย 6.2 ครั้ง ผูปวย9ใน 11 ราย มีเพียงผูปวย1 ใน 11 ฉายนอยกวา NB- (คุณภาพของ ผื่นหายหมด รายผื่นหายหมด UVB แต หลักฐานB2) ประสิทธิภาพดีกวา (คุณภาพของ ประสิทธิภาพอาจ BB-UVB (คุณภาพ หลักฐานB1) ดีกวา (คุณภาพของ ของหลักฐานB1) หลักฐานB1) Safety Photodamage, PMLE, skin aging, skin Photodamage, skin Erythema, blisters, (ความปลอดภัย) cancer aging, increased hyperpigmentation, risk on erosions. Long nonmelanoma skin term side effects cancers ± not yet clear but Melanoma, ±ocular likely similar to NB- damage UVB 117
  • 26.   Contraindicatons Absolute : severe photosensitivity Absolute : Absolute : (ขอหามใช) Relative : photosensitizing drugs, - Severe - Photosensitivity melanoma and nonmelanoma skin cancer Photosensitivity Relative : - Lactation - photosensitizing - Melanoma drugs Relative : - melanoma and - age < 10 yrs nonmelanoma - pregnancy skin cancer - photosensitizing drugs - nonmelanoma skin cancer - severe organ dysfunction หมายเหตุ กรณีใชรวมกับ coal tar (Goeckerman แนะนําฉายแสงไม เปนการรักษาเฉพาะ regimen) anthralin (Ingram regimen) หรือ เกิน 200ครั้ง หรือ ผื่นที่เปนโรค โดย ยารับประทาน เพิ่มประสิทธิภาพการรักษา ขนาดแสงสะสม ผิวหนังปกติไม มากขึ้น ≤2000 J/ cm2 จําเปนตองรับแสง การรักษารวมกับ oral retinoids ชวย ลดปริมาณแสง UVA และลดอุบัติการณ การเกิดมะเร็ง ผิวหนังชนิด squamous cell CA ไดรอยละ 30(33) Minimal erythema dose (MED) หมายถึงปริมาณแสงนอยที่สุดที่ทําใหผิวหนังที่ทําทดสอบมีการแดง โดยอานผลที่ 24 ชั่วโมงหลังทําทดสอบ 118
  • 27.   ภาคผนวกที่ 1 Psoriasis Area and Severity Index (PASI) Tick ONE box for each region for A,B,C,D Head(h) Upper limb(u) Trunk(t) Lower limb(l) A. Extent of None (0) Involvement (%) <10 (1) Tick one box for 10-30 (2) each body 30-50 (3) region. 50-70 (4) 70-90 (5) 90-106 (6) B. Erythema (E) None (0) score Slight (1) Tick one box for Moderate (2) each body Severe (3) region. Very severe (4) C. Induration (I) None (0) score Slight (1) Tick one box for Moderate (2) each body Severe (3) region. Very severe (4) D. Desquamation None (0) (D) score Slight (1) Tick one box for Moderate (2) each body Severe (3) region. Very severe (4) PASI SCORE = 0.1 (Eh + lh + Dh)Extent(h) + 0.2 (Eu + lu + Du)Extent(u) + 0.3 (Et + lt + Dt)Extent(t)+ 0.4 (El + ll + Dl)Extent(l) 119
  • 28.   ภาคผนวกที่ 2 แบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิตของผูปวยโรคผิวหนัง DLQI Score: _____________ เพศ ชาย หญิง อายุ ______ ป อาชีพ____________________ Case No. _______วันที่ ___ / ______ / ______ จุดประสงคของแบบสอบถามนี้ เพื่อประเมินวา ผื่นผิวหนังทําใหเกิดปญหากับคุณมากนอยเพียงใดในชวงหนึ่งสัปดาหที่ผานมา? กรุณาตอบคําถามโดยทําเครื่องหมาย aลงในชองทางขวามือ (ขอความกรุณาตอบคําถามทุกขอ) 1. ชวงสัปดาหท่ผานมา คุณมีอาการคัน, เจ็บ, ปวด, หรือปวดเสียว ที่ผิวหนังมาก ี (3) มาก นอยเพียงใด (2) ปานกลาง (1) เล็กนอย (0) ไมมีเลย 2. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังทําใหคุณรูสึกอับอาย, ขาดความมั่นใจ มากนอย ี (3) มาก เพียงใด (2) ปานกลาง (1) เล็กนอย (0) ไมมีเลย 3. ในชวงสัปดาหที่ผานมา ผื่นผิวหนังทําใหคุณมีปญหาในการออกจากบานไป (3) มาก จับจายซื้อสินคา, ดูแลบาน หรือดูแลสวน มากนอยเพียงใด (2) ปานกลาง (1) เล็กนอย (0) ไมมีเลย ไมมีความเกี่ยวของ 4. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังของคุณ มีผลกระทบตอการเลือกเสื้อผาที่จะสวม ี (3) มาก ใส มากนอยเพียงใด (2) ปานกลาง (1) เล็กนอย (0) ไมมีเลย ไมมีความเกี่ยวของ 5. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังของคุณ มีผลกระทบตอการเขาสังคม หรือตอ ี (3) มาก กิจกรรมในยามวาง มากนอยเพียงใด (2) ปานกลาง (1) เล็กนอย (0) ไมมีเลย ไมมีความเกี่ยวของ 6. ชวงสัปดาหท่ผานมา ผื่นผิวหนังมีผลกระทบตอการเลนกีฬา การออกกําลังกาย ี (3) มาก ของคุณ มากนอยเพียงใด (2) ปานกลาง ไมมีความเกี่ยวของ 120