SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
ยารักษาอาการทางจิตเวช
ที่ใช้ในโรงพยาบาลสหัสขันธ์
ผู้จัดทา : 1. น.ส. วชิรปาณี บุระสิทธิ์
2. น.ส. วราภรณ์ ทองด่านเหนือ
นิสิตชั้นปีที่ 4 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ที่ปรึกษา : ภก.ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ
Objective
1. อาการทางจิตเวช
2. สารสื่อประสาทในสมองที่เกี่ยวข้องกับอาการทางจิตเวช
3. ประเภทของยารักษาอาการทางจิตเวชแบ่งตามวัตถุประสงค์ในการใช้
1. ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic drugs)
2. ยาระงับอาการวิตกกังวล (Anti-anxiety drugs)
3. ยาระงับอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
4. ยาคงสภาพอารมณ์(Mood Stabilizers)
4. EPS จากยารักษาอาการทางจิตเวช และแนวทางแก้ไข
5. Reference
1. อาการทางจิตเวช
อาการทางจิตเวช
เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติทางจิตใจหรือพฤติกรรมที่อาจเกิดจาก
ร่างกาย  เกิดความผิดปกติแล้วส่งผลกระทบต่อสมอง ทาให้สมอง
สร้างสารสื่อประสาทบางอย่างมากหรือน้อยเกินไป
จิตใจ  ความเครียดในชีวิตประจาวัน กระตุ้นให้เกิดความเจ็บป่วย
แบ่งเป็น 4 กลุ่มอาการ ดังนี้
1. โรคจิต (schizophrenia)
2. ภาวะวิตกกังวล (anxiety disorder)
3. ภาวะซึมเศร้า (depressive disorder)
4. ความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder)
2. สารสื่อประสาทในสมอง
ที่เกี่ยวข้องกับอาการทางจิตเวช
1. Dopamine
http://www.bangkokhealth.com/index.php/2009-01-19-03-15-
03/1213-2009-01-22-05-57-24
Dopamine :
มากเกินไป
เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของ
พฤติกรรมสาเหตุของโรคจิตเภท
น้อยเกินไป
การเคลื่อนไหวผิดปกติ สาเหตุของ
โรค parkinson และการเกิด EPS
นอกจากนี้ ยังมีผลยับยั้ง
การหลั่ง ฮอร์โมน Prolactin
http://www.cnsforum.com/imagebank/item/hrl_rcpt_sys_gab/default.aspx
2. GABA
GABA :
ถ้ามีมาก เกิดการส่งสัญญาณ
ประสาทชนิดยับยั้งการทางาน
(inhibitory neurotransmitter)
เป็นสาร สื่อประสาทที่มีผลกด
ระบบประสาทส่วนกลาง เกิด
การยับยั้งทั่วทั้งระบบประสาท
ส่วนกลาง ทาให้คลายเครียด
นอนหลับ
น้อยเกินไป จะมีอาการ
กระวนกระวาย วิตกกังวล
3. Serotonin
http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/bk521/009wisawat
p/selective_serotonin_reuptake_inhibitorsssri.html
Serotonin :
มีหน้าที่หลายบทบาท เช่น
การควบคุมอารมณ์ หิว โกรธ
และขุ่นเคือง
หากมีน้อยเกินไปจะทาให้
เป็นโรคซึมเศร้า กินไม่ได้
นอนไม่หลับ
4. Norepinephrine
http://www.med.cmu.ac.th/dept/pharmaco/pharmacology/lesson01/07.htm
NE :
มีผลต่อส่วนของสมองที่สนใจ
และการตอบสนองการกระทาที่
มีการควบคุม
หากมีน้อยเกินไปจะทาให้เป็น
โรคซึมเศร้า
สรุปผลของสารสื่อประสาท
ชนิด
ของสารสื่อประสาท ผลต่อระบบประสาท
ยารักษาอาการ
ทางจิตเวชที่มีผล ผลที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยา
Dopamine พฤติกรรมผิดปกติ
สาเหตุของโรคจิตเภท
การเคลื่อนไหว
ผิดปกติ สาเหตุของโรค
parkinson
- Chlorpromazine
- Haloperidol
- Perphenazine
-Fluphenazine
(ยับยั้งการหลั่ง
dopamine)
รักษาอาการจิตเวช
แต่ทาให้เกิดอาการ
ข้างเคียงที่สาคัญ คือ
เกิดความผิดปกติใน
การเคลื่อนไหว (EPS)
GABA เกิดการส่งสัญญาณ
ประสาทชนิดยับยั้งการ
ทางาน (inhibitory
neurotransmitter)
กระวนกระวาย วิตก
กังวล
- Lorazepam
- Diazepam
- Clorazepate
dipotassium
(กระตุ้น GABA
receptor )
สงบ ลดความวิตก
กังวล
สรุปผลของสารสื่อประสาท(ต่อ)
ชนิด
ของสารสื่อประสาท ผลต่อระบบประสาท
ยารักษาอาการ
ทางจิตเวชที่มีผล ผลที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยา
Serotonin : 5-HT นอนไม่หลับ,
กระสับกระส่าย
หัวใจเต้นเร็ว,ความ
ดันโลหิตลด, ง่วงนอน ,
น้าหนักเพิ่ม
Chlorpromazine ,
Perphenazine , (ยับยั้ง
การหลั่ง 5-HT)
Amitriptyline ,
Fluoxitine
(ยับยั้งการทาลาย 5-HT)
มีฤทธิ์ระงับสงบ
บรรเทาอาการ
ซึมเศร้า
Norepinephrine : NE เพิ่มความดันเลือด
กระสับกระส่าย ปวดหัว
มือสั่น , ตื่นตัวและ
ครื้นเครง (ปริมาณต่า)
หรือการหลงผิดหรือ
ประสาทหลอน (ปริมาณ
สูง) ซึมเศร้า
- Amitriptyline (ยับยั้ง
การ reuptake ของ NE)
ทาให้เกิดภาวะง่วงซึม
เปลี่ยนแปลงอาการ
นอนหลับ
บรรเทาอาการปวด
เรื้อรัง
สรุปยาที่ออกฤทธิ์ต่อสารสื่อประสาทในสมอง
 ยับยั้ง Dopamine : Chlorpromazine , Haloperidol ,
Perphenazine , Fluphenazine
 กระตุ้น GABA receptor : Lorazepam , Diazepam ,
Clorazepate dipotassium
 ยับยั้งการหลั่ง 5-HT : Chlorpromazine , Perphenazine
 ยับยั้งการทาลาย 5-HT : Amitriptyline , Fluoxitine
 ยับยั้ง NE activity : Amitriptyline
รายการยารักษาอาการทางจิตเวชที่ใช้ในโรงพยาบาลสหัสขันธ์
1. Chlorpromazine
 Matchine® 25 mg, 50 mg, 100 mg
2. Lorazepam
 Kemora ® 0.5 mg, 1 mg
3. Diazepam
 Diazepam 2 mg, 5 mg
4. Trihexyphenidyl
 Artane ® 2 mg, 5 mg
5. Perphenazine
 Pernazine ® 4 mg, 8 mg, 16 mg
6. Haloperidol
 Haldol ® 0.5 mg, 2 mg, 5 mg
7. Amitriptyline
 Amitriptyline 10 mg, 25 mg
8. Clorazepate dipotassium
 Trancon-5® 5 mg
9. Fluoxitine
 Fluoxan® 20 mg
10.Carbamazepine
 Carmapine® 200 mg
11. Fluphenazine inj.
 Pharnazine® 25 mg/ml
12. Haloperidol inj.
 Haloperidol inj. 5 mg/ml
3. ประเภทของยารักษาอาการทางจิตเวช
แบ่งตามวัตถุประสงค์ในการใช้
ประเภทของยารักษาอาการทางจิตเวช
แบ่งตามวัตถุประสงค์ในการใช้
มี 4 ประเภท ได้แก่
1. ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic drugs)  Schizophrenia
2. ยาระงับอาการวิตกกังวล (Anti-anxiety drugs)  Anxiety disorder
3. ยาระงับอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)  Depressive disorder
4. ยาคงสภาพอารมณ์(Mood Stabilizers)  Mood disorder
ประเภทของยารักษาอาการทางจิตเวช
แบ่งตามวัตถุประสงค์ในการใช้ในโรงพยาบาลสหัสขันธ์
ประเภทของกลุ่มอาการทางจิตเวช ยาที่ใช้ในโรงพยาบาล
1.ยาระงับอาการทางจิต
(Antipsychotic drugs)
Chlorpromazine , Haloperidol ,
Perphenazine
Fluphenazine injection
2.ยาระงับอาการวิตกกังวล
(Anti-anxiety drugs)
Lorazepam , Diazepam ,
Clorazepate dipotassium
3.ยาระงับอาการซึมเศร้า
(Antidepressant drugs)
Fluoxitine , Amitriptyline
4.ยาคงสภาพอารมณ์(Mood Stabilizers) Carbamazepine
5.ยาที่มีในข้อบ่งใช้อื่น Trihexyphenidyl
1. ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic drugs)
ใช้รักษาภาวะ Schizophrenia
Schizophrenia
 โรคจิตเภท (Schizophrenia) เป็นความผิดปกติทางความคิดและ
พฤติกรรม มีอาการโรคจิตเภทชนิดบวก ± อาการโรคจิตเภทชนิดลบ
 อาการโรคจิตเภทชนิดบวก : หลงผิด(delusion) ประสาทหลอน
(hallucination) ตื่นตัวอยู่ไม่นิ่ง(excitation)
 อาการโรคจิตเภทชนิดลบ : เฉยเมย(blunted) พูดน้อย(alogia) ไม่ค่อย
สบตาผู้อื่น วิตกจริต(dementia)
 พยาธิสภาพ
 Dopamine
 การทางานของ 5-HT บกพร่อง
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มเก่า (Typical)  block D2 receptor เป็นหลัก
High potency : haloperidol , fluphenazine ,
perphenazine...EPS
Medium potency : chlorprothixene , loxapine…anticholinergic
Low potency : chlorpromazine , thioridazine…sedation
2. กลุ่มใหม่ (Atypical)  block 5-HT2 and D2 receptorเป็นหลัก
 Clozapine, Risperidone, Olanzapine…ลดการเกิด EPS
ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug)
ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic drugs)
 ข้อบ่งใช้
 รักษาโรคจิตเภท (Schizophrenia) , รักษาจิตหวาดระแวง (Paranoid)
 กลไกการออกฤทธิ์
 ยับยั้งการหลั่ง Dopamine
 อาการข้างเคียง
 ทาให้เกิดอาการ Extra pyramidal Syndromes (EPS)
 ความดันโลหิตต่า ปัสสาวะคั่ง ท้องผูก ง่วงนอน ตาพร่ามัว สับสนมึนงง
 ยาที่ใช้บ่อย
 Chlorpromazine (CPZ) , Haloperidol ( Haldol ) ,
 Perphenazine, Fluphenazine
1. ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic drugs)..(ต่อ)
 การพยาบาล
1. แนะนาผู้ป่วยให้เปลี่ยนอิริยาบถ ช้าๆ เพราะอาจหน้ามืดได้
2. Check V/S เพื่อประเมินสัญญาณชีพ
3. ยาอาจทาให้มีปัสสาวะคั่ง ควรประเมินการขับถ่ายปัสสาวะ
4. ติดตาม WBC count เพราะยาอาจทาให้เม็ดเลือดผิดปกติ
5. ระวังอาการชักในผู้ป่วยโรคลมชัก
6. แนะนาให้กินอาหารที่มีกากใยสูง ดื่มน้าให้เพียงพอ
7. ยาอาจทาให้แพ้แสง เช่น CPZ ให้ผู้ป่วยระวังการถูกแสงแดดจ้า
8. ไม่ใช้ร่วมกับยาลดความดันโลหิต ยานอนหลับ
ยาระงับอาการทางจิต
(Antipsychotic drugs)
ที่มีในโรงพยาบาล
1. Chlorpromazine
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Matchine® 25 mg, 50 mg, 100 mg
 ข้อบ่งใช้
ควบคุมอาการคลุ้มคลั่ง รักษา Schizophrenia
 กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่ง dopamine, serotonergic, histaminergic และมีฤทธิ์
anticholinergic
 ขนาดการใช้
เด็ก 0.5-1 mg/kg/dose ทุก 4-6 ชั่วโมง
ผู้ใหญ่ 400-600 mg/day ทุก 4-6 ชั่วโมง
 อาการไม่พึงประสงค์
ความดันโลหิตต่าขณะเปลี่ยนอิริยาบถ EPS เต้านมโต
ลดความอยากอาหาร น้าหนักลด
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Chlorpromazine
Matchine®
25 mg
50 mg
100 mg
2. Haloperidol
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Haldol ® 0.5 mg, 2 mg, 5 mg
 ข้อบ่งใช้
รักษาโรคจิตเภท ลดอาการหวาดระแวง (paranoid)
สับสน, คลุ้มคลั่ง, กระวนกระวาย
 กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่ง Dopamine
 ขนาดการใช้
 คลุ้มคลั่ง
เด็ก 0.1-0.3 mg/kg/day ให้วันละครั้ง
ผู้ใหญ่ 5-10 mg แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง
 จิตเภท
เด็ก 0.05-0.15 mg/kg/day แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง
ผู้ใหญ่ 0.5-5 mg แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง (max 30 mg/day)
 อาการไม่พึงประสงค์
 หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น มึนงง หลงลืม กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย
เลือดออกผิดปกติ
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Haloperidol
Haldol ®
0.5 mg
2 mg
5 mg
3. Haloperidol injection
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Haridol injection® 5 mg/ml
 ข้อบ่งใช้
รักษาโรคจิตเภท ลดอาการหวาดระแวง (paranoid) สับสน,
คลุ้มคลั่ง, กระวนกระวาย
 กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่ง Dopamine
 ขนาดการใช้
IM (lactate) 2-5 mg ทุก 4-8 ชั่วโมง….เป็นรูปแบบที่ใช้ในรพ.สหัสขันธ์
IM (decanoate)ขนาดฉีดเท่ากับ 10-20 เท่าของขนาดที่กินต่อวัน
ฉีดทุก 4 สัปดาห์
 อาการไม่พึงประสงค์
หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น มึนงง หลงลืม กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย
เลือดออกผิดปกติ
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Haloperidol inj 5 mg/ml
4. Perphenazine
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Pernazine® 4 mg, 8 mg, 16 mg
 ข้อบ่งใช้
 ใช้รักษาผู้ป่วยจิตเภท
 กลไกการออกฤทธิ์
ฤทธิ์ยับยั้ง Dopamine D2 receptor ,5 HT receptor ทาให้มีฤทธิ์กด
ภาวะประสาทหลอนของผู้ป่วยโรคจิต และยับยั้ง Histamine H1
receptor เป็นผลให้ผู้ป่วยง่วง หิวและรับประทานมากขึ้น
ขนาดการใช้
4-8 mg วันละ 3 ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์
กระสับกระส่าย สับสน เคลื่อนไหวผิดปกติ
อ่อนเพลีย
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ / ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Perphenazine
Pernazine®
4 mg
8 mg
16 mg
5. Fluphenazine injection
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Pharnazine ® 25 mg/ml
 ข้อบ่งใช้
รักษา Schizophrenia โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ไม่ค่อยให้
ความร่วมมือในการกินยา
 กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่ง Dopamine
 ขนาดการใช้
 IM (decanoate) 12.5 – 37.5 mg ทุก 2 สัปดาห์ ระยะเวลาการใช้
ปรับตามความเหมาะสมกับผู้ป่วย
 อาการไม่พึงประสงค์
 EPS เต้านมโต ลดความอยากอาหาร น้าหนักลด
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Fluphenazine injection
Pharnazine®
25 mg/ml
2. ยาระงับอาการวิตกกังวล (Anti-anxiety drugs)
ใช้รักษาภาวะAnxiety disorder
ภาวะวิตกกังวล ( Anxiety disorder )
 เป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น หงุดหงิด เหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ± อาการทางร่างกายเกิดขึ้นร่วมด้วย
 มีการทางานของระบบประสาทอัตโนมัติที่มากกว่าปกติ กล้ามเนื้อเกร็ง
อาการที่พบบ่อย คือ ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว แน่นหน้าอก
ปวดศีรษะ และปวดเมื่อยบริเวณต้นคอ วิงเวียน หน้ามืด
 พยาธิสภาพ
 NE activity
 5-HT
 กระตุ้น GABA receptor
การรักษา
อดีตใช้ยากลุ่ม Barbiturate ในการรักษา
แต่เนื่องจากมี therapeutic index แคบ
มีอาการติดยา กดการหายใจ และทาให้เสียชีวิตได้
ปัจจุบันจึงมีการใช้ยากลุ่ม Benzodiazepine มากกว่า
ยาระงับอาการวิตกกังวล (Anti-anxiety drugs)
 ข้อบ่งใช้
รักษาอาการวิตกกังวล เครียด หวาดกลัว ใช้เป็นยานอนหลับ
 กลไกการออกฤทธิ์
 กดการทางานของ Cerebral cortex ช่วยคลายเครียดกังวลใจ ช่วยให้หลับ
 อาการข้างเคียง
 ง่วงนอน กล้ามเนื้อทางานไม่ประสานกัน ความดันโลหิตต่า
เกิดอาการขาดยาถ้าหยุดยาทันที
 ยาที่ใช้บ่อย
 Diazepam (Valium), Lorazepam (Ativan) , Alprazolam (Xannax)
ยาระงับอาการวิตกกังวล (Anti-anxiety drugs)… (ต่อ)
 การพยาบาล
1. ให้ความรู้ผู้ป่วยเรื่องอาการข้างเคียงของยา เช่น
ยาจะกดระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้ง่วงซึม การตัดสินใจลดลง
สมาธิลดลง
การควบคุมแขนขาไม่สัมพันธ์กัน ไม่มีแรง
2. ดูแลไม่ใช้ยาร่วมกับยากดประสาท ยานอนหลับ สุรา
3. แนะนาผู้ป่วยเนื่องจากต้องใช้ยาเป็นเวลานานและปริมาณสูง ไม่ให้
หยุดยาเอง เพื่อป้องกันอาการขาดยา ควรให้แพทย์เป็นผู้ลดยาให้
ยาระงับอาการวิตกกังวล
(Anti-anxiety drugs)
ที่มีในโรงพยาบาล
1. Lorazepam
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Kemora ® 0.5 mg, 1 mg
 ข้อบ่งใช้
 ระงับอาการวิตกกังวล (anxiolytic) ช่วยให้นอนหลับได้ดี
(sedative)ทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว (muscle relaxant) ระงับอาการชัก
(anticonvulsant)
 กลไกการออกฤทธิ์
 กด CNS และออกฤทธิ์กระตุ้นที่ receptor ของ GABA (gamma
aminobutyric acid)
 ขนาดการใช้
คลายกังวล
เด็กแรกเกิดและเด็ก : 0.05 mg/kg/dose ให้ทุกๆ 4 - 8 ชั่วโมง
ผู้ใหญ่ : 2 – 6 mg/day แบ่งให้ 2 - 3 ครั้ง
อาการนอนไม่หลับ
ผู้ใหญ่ : 2 – 4 mg ก่อนนอน
 อาการไม่พึงประสงค์
กดการหายใจ , น้าหนักลด , ความดันโลหิตต่า . สับสน . มึนงง ,
ปวดศีรษะ
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Lorazepam
Kemora®
0.5 mg
1 mg
2. Diazepam
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Diazepam 2 mg, 5 mg
 ข้อบ่งใช้
ระงับอาการวิตกกังวล (anxiolytic) ช่วยให้นอนหลับได้ดี
(sedative)ทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว (muscle relaxant) ระงับ
อาการชัก (anticonvulsant)
 กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้น GABA receptor
 ขนาดการใช้
รักษาอาการนอนไม่หลับ / คลายกล้ามเนื้อ / คลายกังวล
เด็ก 0.12 – 0.18 mg/kg/day แบ่งให้ทุก 6-8 hr
ผู้ใหญ่ 2 – 10 mg/day แบ่งให้ 2 -4 ครั้ง/วัน
 อาการไม่พึงประสงค์
ลดอัตราการหายใจ, ความดันโลหิตต่า, สับสน, มึนงง,
ปวดศีรษะ
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Diazepam
2 mg
5 mg
3. Clorazepate dipotassium
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Trancon-5 ® 5 mg
 ข้อบ่งใช้
รักษาอาการวิตกกังวล เครียด และนอนไม่หลับ
 กลไกการออกฤทธิ์
จับกับ 5-HT บน GABA มีผลกระตุ้นที่ receptor ของ
GABA
 ขนาดการใช้
5-20 mg/day แบ่งให้ 2-3 เวลา
 อาการไม่พึงประสงค์
 ความดันโลหิตต่า, สับสน ,ปวดศีรษะ
 Note
Clorazepate เลือกใช้ในผู้ป่วยที่หลับได้เร็วแต่ตื่นกลางคืนบ่อย ๆ
เลือกยาที่ออกฤทธิ์ช้าแต่ออกฤทธิ์ได้ยาว เพื่อที่ไม่ให้ผู้ป่วยตื่นมา
กลางคืนบ่อย ๆ
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Clorazepate dipotassium
Trancon-5®
5 mg
3. ยาระงับอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
ใช้รักษาภาวะ Depressive disorder
ภาวะซึมเศร้า ( depressant disorder)
ภาวะซึมเศร้า คือ การมีอารมณ์ซึมเศร้ามากผิดปกติจนสูญเสีย
ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่หรือรู้สึกทุกข์ทรมานใจ ร่วมไป
กับอาการอื่นๆ เช่น เบื่อหน่าย, นอนไม่หลับ, เบื่ออาหาร, การ
เคลื่อนไหวช้า, ไม่มีเรี่ยวแรง, สมาธิไม่ดี, รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึก
ผิดอย่างยิ่ง และความคิดฆ่าตัวตาย
พยาธิสภาพ
ความบกพร่องของ สารสื่อประสาท Dopamine ,
NE , 5-HT
ยาระงับอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
 ข้อบ่งใช้
ใช้รักษาผู้ป่วยอารมณ์ซึมเศร้า ในผู้ป่วย Bipolar disorder , anxiety
disorder
 กลไกการออกฤทธิ์
 มีฤทธิ์เพิ่มความเข้มข้นของ serotonin และ norepinephrine ทาให้อารมณ์
ดีขึ้น
 ฤทธิ์ข้างเคียง
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตเปลี่ยน ปากแห้ง หลงลืม ตาพร่ามัว ท้องผูก
ปัสสาวะคั่ง คลื่นไส้ เบื่ออาหาร
 ยาที่ใช้บ่อย
Amitriptyline, Fluoxapine , Diazepam
ยาระงับอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)...(ต่อ)
 การพยาบาล
1. ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดในช่วงแรก
เพราะยาจออกฤทธิ์เต็มที่เมื่อใช้ยาแล้ว 3-6 สัปดาห์
เฝ้าระวังอาการซึมเศร้า ป้องกันการฆ่าตัวตาย
2. Check V/S เพื่อประเมินสัญญาณชีพ
3. ถ้ามีอากรการคลื่นไส้ อาเจียน ให้กินอาหารทีละน้อย
บ่อยๆครั้ง
4. ดูแลไม่ให้ดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่
ยาระงับอาการซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
ที่มีในโรงพยาบาล
1. Fluoxitine
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Fluoxan ® 20 mg
 ข้อบ่งใช้
รักษาอาการซึมเศร้า (depressive)
 กลไกการออกฤทธิ์
Selective serotonin reuptake inhibitor
 ขนาดการใช้
20-80 mg/day สามารถให้ 1-2 ครั้ง/วัน ในตอนเช้า และ/หรือ
เที่ยงควรรับประทานหลังอาหาร
 อาการไม่พึงประสงค์
ความอยากอาหารลดลง,คลื่นไส้,อาเจียน,ท้องเสีย,ท้องผูก,
นอนไม่หลับ, อาการกระสับกระส่าย ,กระวนกระวายใจ
 Note
การออกฤทธิ์ค่อนข้างช้า อาจเริ่มเห็นผลในสัปดาห์ที่ 2 หรือ 3
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Fluoxitine
Fluoxan®
20 mg
2. Amitriptyline
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Amitriptyline 10 mg, 25 mg
 ข้อบ่งใช้
รักษาอาการซึมเศร้า (depression) , ภาวะฉี่รดที่นอนใน
เด็ก (nocturnal enuresis)
 กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการ reuptake ของ Serotonin และ
Norepinephrine/noradrenaline
 ขนาดการใช้
50-150 mg/day  วันละครั้งก่อนนอน หรือแบ่งหลายครั้งเน้น
ก่อนนอน
 อาการไม่พึงประสงค์
ปากแห้ง,การรับรสผิดปกติ,ท้องผูก,ปัสสาวะลาบาก,ตาพร่า,หัว
ใจเต้นเร็ว,ความดันโลหิตลด, ง่วงนอน , น้าหนักเพิ่ม
 note
หากขณะลดยาเกิดอาการ withdrawal เช่น นอนไม่หลับ
กระสับกระส่าย ให้เพิ่มยากลับไปเท่ากับขนาดก่อนลดยา และ
ปรับลดยาให้ช้าลง
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Amitriptyline
Amitriptyline®
10 mg
25 mg
4. ยาคงสภาพอารมณ์(Mood Stabilizers)
ใช้รักษาภาวะ Mood disorder
ความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.Bipolar disorder คือ มีอารมณ์แปรปรวนเป็น 2 ขั้ว
คลุ้งคลั่ง : NE และ DA / มีความบกพร่องของ GABA
ซึมเศร้าหดหู่ : NE และ 5-HT
2.depressive disorder คือ อารมณ์ซึมเศร้า นอนมาก เฉื่อยชา
อาจจะมีความคิดฆ่าตัวตายร่วมด้วย
การรักษามุ่งเน้นไปที่อาการ Manic episode
คือ ตื่นเต้น หงุดหงิดง่าย นอนไม่หลับรุนแรงเนื่องจากพบมากกว่า
ส่วนอาการ depressive episode ให้รักษาแบบ depressive disorder
ยาระงับอาการคลุ้มคลั่ง (Anti-mania drugs)
 ข้อบ่งใช้
 รักษาผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวน (Mood disorder) โดยเฉพาะระยะ mania
และรักษาอาการ chronic aggressive
 กลไกการออกฤทธิ์
 ทาให้เกิด active norepinephrine ในสมองลดลง
 อาการข้างเคียง
 สับสน ง่วงนอน เบื่ออาหาร กระหายน้า ปัสสาวะบ่อย
อาการเป็นพิษเมื่อระดับ Lithium สูงเกิน 2 MEq/L
 ยาที่ใช้บ่อย
 Lithium carbonate , Lithium citrate , Carbamazepine
4. ยาระงับอาการคลุ้มคลั่ง (Anti-mania drugs)...(ต่อ)
 การพยาบาล
1. ควรทราบประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เพราะต้องระวังการให้ยา Lithium กับผู้ป่วยโรคหัวใจ, โรคไต , hypothyroid
2. แนะนาให้ผู้ป่วยดื่มน้าอย่างน้อยวันละ 10 แก้ว
3. ห้ามกินยาขับปัสสาวะ
4. ถ้าผู้ป่วยท้องเสียควรงดยาชั่วคราว
5. ประเมินอาการผู้ป่วยหลังได้รับยา Lithium ติดตามผลตรวจเลือดสม่าเสมอ
ยาระงับอาการคลุ้มคลั่ง (Anti-mania drugs)
ที่มีในโรงพยาบาล
1.Carbamazepine
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
Carmapine® 200 mg
 ข้อบ่งใช้
ใช้ระงับอาการชัก รักษาและป้องกันอาการ bipolar disorder
 กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้ง voltage-sensitive sodium channels เป็นผลให้
เกิด stabilization ของ neuronal membrane และยับยั้ง
repetitive firing ของเซลล์ประสาท
 ขนาดการใช้
 ผู้ใหญ่เริ่มให้ยาในขนาด 400 mg/day แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง จากนั้นให้ลดขนาดยาลงจนถึงขนาด
ต่าสุดที่สามารถควบ คุม อาการได้
 Maximum dose 1600 mg/day
 อาการไม่พึงประสงค์
 อาจเกิดอาการ ง่วง เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผลข้างเคียงที่รุนแรง เช่น
agranulocytosis thrombocytopenia อาการผื่นแพ้ยาพบ ได้ประมาณร้อยละ 5-10
และบางรายอาจเกิดอาการ รุนแรงชนิด Stevens-Johnson syndrome
 Note
 ยา Carbamazepine มีฤทธิ์เป็น Anticholinergic เล็กน้อย ควรระวังในการให้ยากับ
ผู้ป่วยที่มีโรค glaucoma เพราะอาจเพิ่มความดันในลูกตาได้
 ไม่ควรให้ยานี้แก่เด็กที่มีอายุต่ากว่า 6 ปี หรือมารดาในระยะให้นมบุตร หญิงมีครรภ์
ในระยะ 3 เดือนแรก
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Carbamazepine/
Carmapine®
200 mg
ยาในข้อบ่งใช้อื่น
1. Trihexyphenidyl
 ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
 Artane ® 2 mg, 5 mg
 ข้อบ่งใช้
 ใช้ควบคุมอาการ extrapyramidal disorder จากยา Neuroleptic drugs
รักษาโรค Parkinson
 กลไกการออกฤทธิ์
 ต้านการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ปิดกั้นตัวรับ acetylcholine
 ขนาดการใช้
เริ่มให้รับประทานยา 1-2 mg/day และเพิ่มครั้งละ 2 mg เป็น
เวลานาน 3-5 วัน จนได้ขนาดยา 5-15 mg/day แบ่งให้ 3-4 ครั้ง
 อาการไม่พึงประสงค์
มองภาพไม่ชัด ,สับสน มึนงง ,เหงื่อออกมาก ,หัวใจเต้นเร็ว ,คลื่นไส้
,อาเจียน ,เหนื่อย ,ผื่นคัน
 Note
ควรพิจารณาขนาดของยาที่ให้ในระยะแรก โดยให้ขนาดน้อยที่สุด
และค่อย ๆ เพิ่มขึ้นตามความต้องการ ผู้ป่วยที่อายุเกิน 65 ปี อาจจะ
มีปฏิกิริยาไวต่อยานี้ เพราะฉะนั้นจึงควรให้ในขนาดน้อย
ผลิตภัณฑ์ที่มีในโรงพยาบาล
ชื่อสามัญ/ชื่อการค้า ความแรง รูปภาพ
Trihexyphenidyl
Benzhexol ®
2 mg
5 mg
4. EPS จากยารักษาอาการทางจิตเวช
และแนวทางแก้ไข
EPS จากยารักษาอาการทางจิตเวช
และแนวทางแก้ไข
 Extra pyramidal syndromes (EPS) แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่
1.1 Acute dystonic reaction มักเกิดขึ้นระหว่าง 1-5 ชั่วโมงหลังเริ่ม
รักษาด้วยยาต้านโรคจิตเวช อาการที่พบได้บ่อยมี 3 แบบ คือ
1.Torticollis : คอเอียง เพราะกล้ามเนื้อคอหดเกร็ง
2.Opisthotonus : อาการเกร็งหลังแอ่น
3.Oculogyric crisis : กลอกตาไปมา
มักเกิดจากใช้ยาต้านโรคจิตที่มีฤทธิ์สูง โดยเฉพาะ piperazine,
และ haloperidol
http://www.e-neurosurgery.ws/cnsclinicjordan/
congenitaltorticollis.htm
Torticollis
1.2 Akathisia
 มักเกิดภายใน 5 ถึง 40 วัน หลังจากเริ่มใช้ยารักษาอาการทางจิตเวช
ผู้ป่วยจะรู้สึกกระวนกระวาย ตื่นเต้น อยู่ไม่สุข เดินไปเดินมา
ผุดลุกผุดนั่ง ขาอยู่ไม่สุข (restless legs) นั่งอยู่เฉยกับที่ไม่ได้ (drive to
move about)
ถ้าหากพบผู้ป่วยมีอาการคล้ายความวิตกกังวลที่เกิดร่วมกับยาต้านโรค
จิตเวช ควรพิจารณาถึงการเกิด akathisia ด้วย
1.3 Parkinsonian like syndrome
 มือสั่นขณะพัก (resting tremor)
 กล้ามเนื้อเกร็ง (muscle rigidity)
 ท่าเดินแบบซอยเท้า (shuffling gait)
 การเคลื่อนไหวช้า (bradykinesia)
 สีหน้าไร้อารมณ์ (expressionless or marked face)
 สั่นแบบปั่นยา (pill-rolling movement)
 น้าลายไหล (drooling)
 การบรรเทาอาการ
การให้กิน benztropine [Cogentin] 0.5 - 2 mg ต่อวัน
หรือกิน trihexyphenidyl [Artane] 2 - 8 mg ต่อวัน
ช
 1.4 Tardive dyskinesia
เป็นกลุ่มของการเคลื่อนไหวโดยไม่ได้ตั้งใจ (involuntary movement)
เกิดจากการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตเวชเป็นระยะเวลานาน
ลักษณะสาคัญของ tardive dyskinesia คือ การเคลื่อนไหวสามแห่ง
ของ แก้ม-หน้า-ลิ้น (a triad of check-face –tongue movement)
แก้มพอง เคี้ยว สูดปาก เลีย ดูดริมฝีปาก แลบลิ้น ขากรรไกร
เคลื่อนไหวด้านข้าง อาจเกิดการกระพริบตา หน้าตาบูดบึ้ง ขมวด
คิ้ว เปลือกตากระตุก
Tardive dyskinesia
http://pharmaceuticalsanonymous.blogspot.com/2008/03/nutritional-treatment-of-tardive.html
 Antipsychotic แบ่งได้เป็น
 typical antipsychotic (conventional antipsychotic) ได้แก่
haloperidol (high potency)
perphenazine (moderate potency)
chlorpromazine (low potency)
 กลุ่มที่เป็น low potency เสี่ยงต่อการเกิด EPS < high potency
 atypical antipsychotic ได้แก่
olanzapine (zyprexa®)
risperidone (risperidal®)
quetiapine (seroquel®)
aripiprazole (abilify®)
 ยากลุ่ม atypical antipsychotic เสี่ยงต่อการเกิด EPS ได้น้อย
ยกเว้น ใช้ในขนาดสูง
 ยาที่พบได้บ่อย ได้แก่ risperidone, olanzapine
 กลุ่มอาการ EPS พบได้บ่อยจากยาอะไรบ้าง
1. typical antipsychotic
 flupentixol > 9 mg/day
 haloperidol > 5 mg/day
 perphenazine > 16 mg/day
 trifluoperazine > 15 mg/day
2. atypical antipsychotic
 olanzapine > 15 mg/day
 risperidone > 4 mg/day
การรักษา EPS
 anticholinergic agents
 trihexyphenidyl 2-4 mg bid-qid ปรับตามอาการของ
ผู้ป่วย
 beta-blockers
 propranolol แต่จะให้เป็นช่วงเวลาสั้นๆ หรือใช้ในกรณี
ผู้ป่วย agitation
 anxiolytics
diazepam ในกรณีที่ผู้ป่วยมี depression ร่วมด้วย
Reference.
 Lacy Armstrong , Goldman Lance , Drug information handbook 17 th Edition , American
Pharmaciste Association 2008 – 2009
 Barbara G. , Joseph T. Dipiro , Pharmacotherapy Handbook 7th Edition , 2009
 การติดตามและเฝ้าระวังการเกิด EPS ของกลุ่มยา antipsychotic www.srbr.in.th/Pharmacy/...
แนวทางปฏิบัติ เรื่องยา/monitorจิตเวช.doc [ออนไลน์: เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2553 ]
 วราวุฒิ เจริญศิริ , Bankokhealth.com , สารเคมีในสมอง ,
http://www.bangkokhealth.com/index.php/2009-01-19-03-15-03/1213-2009-01-22-05-57-24
[ออนไลน์: เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 ]
Thank you

More Related Content

What's hot

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
techno UCH
 

What's hot (20)

Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 

Similar to ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์

โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdfโรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
609262
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
taveena
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
Rachanont Hiranwong
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Watcharapong Rintara
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
Aobinta In
 

Similar to ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ (20)

โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdfโรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
สารเสพติด
สารเสพติดสารเสพติด
สารเสพติด
 

More from Utai Sukviwatsirikul

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์