SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ธ-1 
ธุรกิจบริการสุขภาพ 
1. บทนำ 
ธุรกิจบริการสุขภาพ นับเป็นหนึ่งในหลายธุรกิจที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาภาคบริการและ 
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วธุรกิจการให้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นแหล่งสร้าง 
รายได้เข้าสู่ประเทศ (Product of Excellence) จะประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจบริการทางการแพทย์ 
ธุรกิจผลิตภัณฑ์สุขภาพและสมุนไพรไทย และธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพซึ่งได้แก่ บริการนวดไทยและสปา ที่ 
สามารถนำทรัพยากรส่วนเกินของภาคเอกชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งก่อเกิดรายได้ต่อเนื่องกับ 
อุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น ซึ่งนับเป็นผลดีต่อการพัฒนา 
เศรษฐกิจของประเทศทั้งระบบ อย่างไรก็ตาม ในบทความนี้จะนำเสนอเฉพาะการปรับโครงสร้างธุรกิจ 
บริการทางการแพทย์เป็นหลัก เนื่องจากในระยะที่ผ่านมา ประเทศไทยจัดเป็นประเทศมีศักยภาพด้าน 
การแพทย์ที่เป็นที่รู้จักของภูมิภาคแถบนี้ ทั้งในด้านความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของบุคลากรและคุณภาพการ 
ให้บริการในระดับมาตรฐานสากล โดยมีชาวต่างชาติเข้ามารับบริการรักษาในประเทศอย่างต่อเนื่อง และมี 
จำนวนผู้เข้ามารับบริการสูงที่สุดในภูมิภาคนี้ สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศได้นับหมื่นล้านบาทในแต่ละ 
ปี รัฐบาลจึงได้ประกาศนโยบายที่จะให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย 
(Medical Hub of Asia) เพื่อสร้างความเป็นเลิศของธุรกิจบริการและเป็นแหล่งที่มาของรายได้เงินตรา 
ต่างประเทศจากประเทศที่เป็นตลาดหลัก 
2. ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน 
2.1 สถานการณ์ด้านการตลาด ความต้องการด้านการตลาด (Market and Demand 
Analysis) ของธุรกิจบริการสุขภาพโดยรวม พบว่า แนวโน้มความต้องการเพิ่มสูงขึ้นตามแนวโน้มอายุเฉลี่ย 
ของประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นจาก 48 ปี ในปี ค.ศ.1955 เป็น 67 ปี ในปี ค.ศ. 2004 และจำนวนประชากรโลก 
มีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ทั้งนี้ คาดว่าจะมีประชากรโลกสูงถึง 9,300 ล้านคนในปี ค.ศ. 
2050 โดยภูมิภาคเอเชียมีสัดส่วนสูงสุดถึง 5,400 ล้านคน ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของโลกเพิ่มขึ้นอย่าง 
ต่อเนื่องทุกๆ ปี (ดังแผนภาพที่ 1) 
สำหรับประเทศไทย ความต้องการของชาวต่างชาติในการเข้ามารับบริการทางการแพทย์มี 
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน โดยมีผู้ป่วยชาวต่างชาติเข้ามารับบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีจำนวน 
ผู้เข้ามารับบริการสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชีย จากสถิติคนไข้ชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการทางการแพทย์ใน 
โรงพยาบาลเอกชนไทยในช่วงปี 2544-2547 พบว่า มีจำนวนและอัตราการขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น โดยในปี 
2544 มีจำนวน 550,161 ราย เพิ่มขึ้นเป็น 630,000 ราย 973,532 ราย และ 1,103,095 ราย ในปี 2545, 
2546 และ 2547 ตามลำดับ หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 27.2 ต่อปี โดยส่วนใหญ่มาจากญี่ปุ่น 
สหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชีย (จีน/ไต้หวัน) ซึ่งเป็นฐานตลาดหลักที่มีอยู่เดิม และหากพิจารณาตามราย 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-2 
ประเทศ จะพบว่ากลุ่มประเทศอาเซียน ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ เป็นตลาดใหม่ที่น่าสนใจและควรให้ 
ความสำคัญ เนื่องจากมีอัตราการขยายตัวสูงในช่วงที่ผ่านมา 
แผนภาพที่ 1 แนวโน้มความต้องการในธุรกิจบริการสุขภาพ 
Market & Demand Analysis 
ในปัจจุบัน ความต้องการในธุรกิจบริการสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 
อายุเฉลี่ยประชากรโลก ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลด้านสุขภาพของโลก 
International Dollar Rate ($/Capita) 
167 
176 
1998 
1999 
2000 
2001 
184 
194 
จำนวนประชากรโลก (พันล้านคน) ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (ล้านเหรียญสหรัฐ) 
Japan 
Asia 
391 
301 
90 
610 
422 
188 
56% 
1999 2050 
4 NESDB 
67 
1955 48 
2004 
6.4 
2.5 
3.9 
7.9 
3.2 
4.8 
9.3 
3.9 
5.4 
2004 2025 2050 
Others 
Asia 
ที่มา : องค์การอนามัยโลก (WHO) และ Population Reference Bureau 2002 
2.2 ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศคู่แข่งที่สำคัญของไทย ในช่วงที่ผ่านมา 
ประเทศในภูมิภาคเอเชียไม่ว่าจะเป็นประเทศไทย ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ต่างประกาศ 
นโยบายเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย (Medical Hub of Asia) 
เช่นเดียวกัน ซึ่งแต่ละประเทศได้มีการกำหนดเป้าหมายและวางกรอบยุทธศาสตร์ในการมุ่งพัฒนาไปสู่การ 
เป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย ดังแผนภาพที่ 2 
แผนภาพที่ 2 เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของประเทศไทยและคู่แข่งในภูมิภาคเอเชีย 
Study Best Practice (Benchmarking) 
…โดยแต่ละประเทศมียุทธศาสตร์ในการมุ่งพัฒนาไปสู่การเป็น Medical Hub of Asia ดังนี้ 
ไทย สิงคโปร์ฮ่องกง 
• มุ่งสู่การเป็น The 
Asian Hub for 
Cancer Treatment 
and Medical Tourism 
โดยมี Ultra-Modern 
Cancer Centre 
• มีจำนวนผู้ป่วย 
ต่างชาติ 5 แสนคน 
ในปี 2007 
• มุ่งเน้นการรักษา 
โรคมะเร็ง 
• มุ่งเน้นการดึง 
ลูกค้า High-end 
จากจีน 
• มี Strategic 
Partner ทาง 
วิชาการ 
• มุ่งเน้นโรคหัวใจ, 
มะเร็ง, จักษุ 
• มี High-level 
Healthcare Working 
Group 
• มี Singapore Medicine 
as a Multi-Agency 
Taskforce 
• มี Strategic Partner 
ทางวิชาการ 
• มุ่งเน้นการดึงลูกค้า 
จากตะวันออกกลาง 
มาเลเซีย 
อินเดีย 
• มุ่งสู่การเป็น 
Health Tourism 
Hub of Asia 
• ปี 2010 มี 
เป้าหมายรายได  
รวมทั้งสิ้น ~ 
24,200 ล้านบาท 
• มุ่งเน้น Cosmetic 
Surgery 
• ให้บริการใน 
ลักษณะเป็น 
Package 
• Public-Private 
Cooperation 
• มุ่งสู่การเป็น 
Global 
Healthcare 
Destination 
• มุ่งเน้น 
Cardiac Care, 
Joint / Hip 
Replacement, 
Lasik 
10 NESDB 
• ภายในปี 2008 มุ่งสู่การ 
เป็น Medical Hub of 
Asia 
• ปี 2008 มีเป้าหมาย 
รายได้รวมทั้งสิ้น 63,822 
ล้านบาท 
• มุ่งสู่ Regional 
Medical Hub 
(Training + 
Service Hub) 
• ตั้งเป้าดึงผู้ป่วย 
ต่างชาติเพิ่ม 5 เท่า 
เป็นปีละ 1 ล้านคน 
ภายในปี 2012 
• สร้าง Value Added 
62,000 ล้านบาท 
• เน้นการรักษาเฉพาะทาง 
ทันตกรรมและการตรวจ 
สุขภาพประจำปี 
เป้าหมาย 
ยุทธศาสตร์ 
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข และ CMU Data Compilation and Analysis 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-3 
การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของคู่แข่งและตำแหน่งในการแข่งขันของ 
ประเทศไทย (Competitors and Thailand’s Position Analysis) โดยศึกษาเทียบเคียงกับประเทศที่มีแนว 
ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Study) พบว่า ประเทศสิงคโปร์เป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทย และมีความ 
ได้เปรียบในการแข่งขันในหลายๆ ด้าน โดยเน้นการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานทั้งในด้าน 
สถานพยาบาล บุคลากร และอุปกรณ์การแพทย์ ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เน้นการพัฒนาเทคโนโลยี 
ทางการแพทย์ ตลอดจนมีนโยบายและกลไกเชิงรุกที่ชัดเจน มีการจัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อส่งเสริม 
บริการสุขภาพขึ้นมาโดยเฉพาะ หรือที่เรียกว่า Healthcare Service Working Group นอกจากนี้ ยังมี 
Strategic Partner ทางวิชาการร่วมกับต่างประเทศ ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมมือกันเป็นอย่างดี เพื่อ 
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย 
ตามเป้าหมายที่วางไว้ทั้งในด้านการให้บริการและการฝึกอบรม 
แม้ว่าประเทศไทยกำลังเผชิญกับคู่แข่งที่สำคัญในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน แต่ประเทศไทย 
ยังคงเป็นประเทศจุดหมายปลายทางด้านบริการทางการแพทย์ของภูมิภาคเอเชีย ที่ได้รับความนิยมเป็น 
อย่างมากสำหรับนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจากนานาประเทศ เนื่องจากเหตุผล 4 ประการ คือ (1) มีบุคลากร 
ทางการแพทย์และคุณภาพมาตรฐานการรักษาพยาบาลที่เข้าขั้นมาตรฐานสากล (Human Resource 
Quality) (2) บริการสุขภาพของไทยมีความหลากหลายและมีราคาที่สมเหตุสมผลและถูกกว่าประเทศอื่นๆ 
ในระดับมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน (Reasonable Costs) (3) การให้บริการด้วยไมตรีจิตที่น่า 
ประทับใจ เป็นกันเอง อ่อนโยน สุภาพ ทำให้ผู้ป่วยประทับใจในบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยเสมือนหนึ่งคนใน 
ครอบครัว (Service and Hospitality) และ (4) มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย (Tourist Attraction) 
ซึ่งยังคงแสดงถึงโอกาสในการแข่งขันสำหรับประเทศไทย 
อย่างไรก็ตาม บริการทางการแพทย์ของไทยยังมีลักษณะค่อนข้างทั่วไป (Generic) ซึ่งให้ 
มูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น การตรวจโรคทั่วไป และการตรวจสุขภาพ ในขณะที่ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง และ 
สหรัฐอเมริกา เน้นการรักษาโรคเฉพาะทาง (Specialization) ซึ่งให้มูลค่าเพิ่มสูง เช่น การผ่าตัดสมอง การ 
ผ่าตัดหัวใจ และการรักษาโรคมะเร็ง เป็นต้น ดังนั้น ประเทศไทยจึงควรหันมาให้ความสำคัญและเน้นการ 
รักษาโรคเฉพาะทาง โดยมุ่งให้บริการในสาขาที่ไทยมีความชำนาญโดยเฉพาะ ในฐานะเป็น Winning 
Service และเป็น Niche ของประเทศในระดับภูมิภาคเอเชีย 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-4 
แผนภาพที่ 3 ตำแหน่งการแข่งขันของประเทศไทยและประเทศคู่แข่งอื่นๆ 
Identify Thailand’s Position 
อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับคู่แข่งอื่นๆ บริการทางการแพทย์ของไทยยังอยู่ในลักษณะ 
ค่อนข้างทั่วไป (Generic) ซึ่งให้มูลค่าเพิ่มต่ำ จึงควรเน้นให้บริการในสาขาที่ไทยมีความ 
ชำนาญ (Niche) จะช่วยเร่งเพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ 
Thailand’s Current Position Thailand’s Targeted Position 
USA 
Singapore 
India 
Hong Kong 
Malaysia 
Generic Specialization 
Low High 
Value Add 
Service Concentration 
12 NESDB 
USA 
Singapore 
India 
Hong Kong 
Malaysia 
Generic Specialization 
Service Concentration 
Low Value Add High 
ที่มา : CMU Data Compilation and Analysis 
2.3 ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ (Thailand’s Competitiveness Analysis) การ 
นำ Diamond Model ตามทฤษฎีของ Professor Michael E. Porter แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาด ประเทศ 
สหรัฐอเมริกา มาเป็นเครื่องมือในการประเมินและวิเคราะห์ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน 
ของธุรกิจ โดยพิจารณาถึงปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจบริการทางการแพทย์ (Business Environment) เพื่อ 
บ่งชี้ถึงประเด็นสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ได้ดังนี้ 
1) เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต (Factor Conditions) พบว่า บริการสุขภาพใน 
ประเทศไทยมีราคาถูก อันเนื่องมาจากโครงสร้างต้นทุนของบริการสุขภาพในไทยต่ำกว่าประเทศอื่นๆ แต่ 
ปัญหาที่สำคัญคือบุคลากรทางการแพทย์มีจำกัด แม้ว่าประเทศไทยมีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญและ 
คุณภาพในระดับค่อนข้างสูงที่สามารถแข่งขันได้ แต่มีปัญหาขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ทั้งพยาบาล 
ทันตแพทย์ และเภสัชกร รวมถึงการกระจายแพทย์ที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนในส่วน 
ภูมิภาค นอกจากนี้ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ในภาคเอกชนมีเกินความต้องการ ในขณะที่ 
โรงพยาบาลรัฐในส่วนภูมิภาคต้องประสบภาวะขาดแคลน 
2) อุตสาหกรรมเชื่อมโยงและสนับสนุนกัน (Related and Supporting Industries) 
โดยโครงสร้างปัจจุบันพบว่า สถาบันการศึกษาทางการแพทย์ส่วนใหญ่เป็นของรัฐ ส่วนเอกชนมีเพียง 1 แห่ง 
ซึ่งยังไม่สามารถผลิตบุคลากรให้ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศได้ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเป็นผู้ 
นำเข้ายาและเวชภัณฑ์ต่างๆ ส่วนสินค้าอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ที่ไทยผลิตและส่งออกส่วนใหญ่ 
มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น ผ้าพันแผล ถุงมือผ่าตัด และกระบอกฉีดยา และยังต้องพึ่งพาการนำเข้าเครื่องมือ 
แพทย์ที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงในราคาแพง เช่น เครื่องเอ็กซเรย์ อุปกรณ์คลื่นไฟฟ้าบำบัด เครื่องมือแพทย์ในการ 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-5 
บำบัดรักษาโรค เครื่องมือศัลยกรรมกระดูก เป็นต้น โดยสิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายยา 
เวชภัณฑ์ และเครื่องมือแพทย์ในภูมิภาคเอเชีย 
3) เงื่อนไขทางด้านอุปสงค์ (Demand Conditions) โดยพิจารณาจากกลุ่มลูกค้า 2 
กลุ่มหลัก คือ คนไข้ชาวไทย มีแนวโน้มเข้ารักษาพยาบาลในระบบมากขึ้น ทั้งโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน 
และคนไข้ชาวต่างชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่อาศัยทำงานอยู่ในประเทศไทย (Expatriates) มากกว่า 
จะเป็นนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Tourists) และจากการสัมภาษณ์โรงพยาบาลเอกชนต่างๆ พบว่า มี 
โรงพยาบาลเอกชนเพียงประมาณ 10 แห่ง จากทั้งหมด 33 แห่งในกรุงเทพฯ ที่มีศักยภาพสามารถรองรับคนไข้ 
ต่างชาติได้จริง (ทั่วประเทศ มีโรงพยาบาลเอกชนประมาณ 400 กว่าแห่ง) 
4) บริบทของการแข่งขันและกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy 
and Rivalry) กลุ่มโรงพยาบาลเอกชนใหญ่ๆ เริ่มใช้กลยุทธ์ในการร่วมมือกันเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ 
แข่งขันมากขึ้น เช่น จัดซื้อยาร่วมกัน จัดจ้างบุคลากรจากภายนอกและใช้โครงสร้างพื้นฐานด้าน 
โลจิสติกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกัน และการส่งต่อคนไข้ไปยังโรงพยาบาลที่อยู่ในเครือ ใน 
ขณะเดียวกัน การทำตลาดกลุ่มเป้าหมายของภาคเอกชนมีประสิทธิผลมากกว่าการทำโรคโชว์ (Road 
show) ของภาครัฐ ซึ่งใช้กลยุทธ์เดียวกันสำหรับทุกตลาดเป้าหมาย อย่างไรก็ดี มีประเด็นปัญหาที่สำคัญ 
คือ การแข่งขันการตัดราคาของโรงพยาบาลเอกชนบางแห่งแทนการสร้างความโดดเด่นเชิงคุณภาพ และขาด 
การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) และการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร 
5) บทบาทของรัฐบาล (Government’s Role) ประเด็นปัญหาที่พบ คือ ขาดการบูร 
ณาการระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งในระดับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ และระดับปฏิบัติการ รวมทั้งขาด 
แผนพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดความสอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทาน 
ของทรัพยากรบุคคล และข้อจำกัดในเรื่องการกระจายทรัพยากรบุคคลระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน 
และระหว่างเมืองกับชนบท 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-6 
แผนภาพที่ 4 การประเมินและวิเคราะห์ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ 
ศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจบริการรักษาพยาบาล (Medical Service) ของไทย 
z กลุ่มโรงพยาบาลเอกชนใหญ่ๆได้เริ่มใช้กลยุทธ์การร่วมมือกัน 
z โรงพยาบาลเอกชนมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ซึ่งแข่งขันเชิง 
ราคาเป็นหลัก แทนที่จะเป็นการสร้างความโดดเด่นเชิงคุณภาพ 
z ภาคเอกชน ขาดการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) และการ 
ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร 
z การทำตลาดในกลุ่มเป้าหมายขนาดเล็กของภาคเอกชนมี 
ประสิทธิผลมากกว่าโครงการสัญจร (Roadshow) ของภาครัฐ 
z นโยบายของรัฐไม่ตอบสนองความต้องการของภาคเอกชน 
บรริิบทของกกาาร 
แแขข่ง่งขขัันแแลละะกล 
ยยุุทธธ์ท์ทาางธธุุรกกิิจ 
บริบทของการ 
แข่งขันและกล 
ยุทธ์ทางธุรกิจ 
ออุุตสสาาหกรรมททีี่่ 
เเกกีี่่ยวโโยยงแแลละะ 
สนนัับสนนุุนกกััน 
อุตสาหกรรมที่ 
เกี่ยวโยงและ 
สนับสนุนกัน 
Analyze Thailand 
Competitiveness 
z ขาด Integration ระหว่างภาครัฐและเอกชน 
ทั้งในเชิง operation และ strategy 
z ขาดแผนพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ที่มี 
ประสิทธิภาพ 
สถาบันการศึกษาทางการแพทย์ 
z สถานศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นของภาครัฐ มีเพียงแห่งเดียวที่เป็นเอกชน 
อุปทานด้านยา 
z ไทยมีฐานะเป็น Net Importer ด้านยา 
อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ 
z ไทยเป็น Net Exporter ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการหยุดนำเข้าอุปกรณ์แพทย์ 
ไฮเทคชั่วคราว 
z สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ ในขณะที่สินค้าที่ใช้เทคโนโลยีสูง 
เป็นสินค้านำเข้า 
บบททบบาาททขขอองงรรัฐัฐบบาาลล 
เเงงืื่่อนไไขขททาาง 
ดด้า้านออุุปสงคค์์ 
เงื่อนไขทาง 
ด้านอุปสงค์ 
คนไข้ชาวไทย 
z คนไทยมีแนวโน้มในการเข้ารักษาพยาบาล 
ในระบบมากขึ้น 
z ผู้ป่วยชาวไทยจำนวนหนึ่งยังนิยมแพทย์ 
แผนโบราณที่บำบัดโดยยาที่ไม่ได้รับการ 
รับรอง หรือ “ยาหมอตี๋” 
คนไข้ชาวต่างชาติในประเทศไทย 
z คนไข้ชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ 
ในประเทศไทย มิใช่นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 
z สถานพยาบาลจำนวนน้อยมากที่มีศักยภาพ 
ในการรองรับคนไข้ชาวต่างชาติ 
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 
เเงงืื่่อนไไขขของ 
ปปัจัจจจััยกกาารผลลิิต 
เงื่อนไขของ 
ปัจจัยการผลิต 
บริการสุขภาพของไทยมีราคาถูก 
z ค่าใช้จ่ายในการจ้างแพทย์และบุคลากรอื่นๆ รวมทั้ง 
ราคายาและเวชภัณฑ์ไทย นับว่าต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับ 
ประเทศอื่นๆ 
ทรัพยากรบุคคล 
z ประเทศไทยมีแพทย์ระดับ “หัวกะทิ” จำนวนมาก 
z ไทยประสบปัญหาขาดแคลนแพทย์ (รวมทั้งพยาบาล 
ทันตแพทย์ และเภสัชกร) 
z อาชีพแพทย์ได้รับความนิยมน้อยลง เห็นได้จากการ 
เปลี่ยนอาชีพของแพทย์ส่วนหนึ่ง และจำนวนนักศึกษา 
แพทย์ที่ลดลง 
เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ 
z โรงพยาบาลภาคเอกชน โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ มีมาก 
เกินความต้องการ ในทางกลับกัน โรงพยาบาลรัฐ 
โดยเฉพาะในชนบทเกิดภาวะขาดแคลน 
ที่มา : จากการศึกษาวิเคราะห์ของคณะทำงานสพข. 
3. กรอบแนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการสุขภาพ 
โดยภาพรวมของกรอบแนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการสุขภาพ ยังคงยึดตามทิศทางและ 
เป้าหมายตาม “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพของเอเชีย (ปี 2547- 
2551)” ของกระทรวงสาธารณสุข และ “ยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพด้านบริการทางการแพทย์ของไทย” 
ของสมาคมโรงพยาบาลเอกชน ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว แต่จะเป็นการนำเสนอวิธีการที่ 
จะนำไปสู่เป้าหมายรายได้ตามที่กระทรวงฯ ได้วางไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสนอทางเลือกใหม่ เพื่อเร่ง 
เพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ โดยเน้นธุรกิจบริการทางการแพทย์ (Medical Service) ในฐานะ 
เป็นธุรกิจที่มีศักยภาพความพร้อม และสร้างรายได้สูงสุดในบรรดาธุรกิจบริการสุขภาพทั้ง 3 กลุ่ม จึงได้ 
กำหนดกรอบการนำเสนอแนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการทางการแพทย์ ไว้ดังนี้ 
3.1 เร่งผลักดันยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข โดยบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ของ 
กระทรวงฯ กับข้อเสนอของภาคเอกชนให้สามารถนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุ 
เป้าหมายการสร้างรายได้ 63,822 ล้านบาท ในปี 2551 
3.2 เสนอทางเลือกใหม่ในการเร่งรัดขยายฐานบริการและสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) 
เพื่อเร่งเพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ โดยเน้นธุรกิจบริการทางการแพทย์ (Medical Service) 
เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพ มีความพร้อม และสร้างรายได้มากที่สุดถึงร้อยละ 75 ของโครงสร้างแหล่ง 
รายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพทั้ง 3 กลุ่ม 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-7 
4. แนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการสุขภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน 
การแข่งขัน 
เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามกรอบแนวทางการปรับโครงสร้างของธุรกิจดังกล่าวข้างต้น จึงควร 
ดำเนินกลยุทธ์ภายใต้กรอบแนวทางการพัฒนาใน 2 ระนาบ ดังนี้ 
4.1 แนวทางการพัฒนาเพื่อเร่งเพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ โดยมุ่งเน้น 
พัฒนาธุรกิจบริการทางการแพทย์เป็นหลัก ธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพและธุรกิจผลิตภัณฑ์สุขภาพและ 
สมุนไพรไทยเป็นธุรกิจสนับสนุน โดยมีแนวทางการพัฒนาประกอบด้วย 
1) มุ่งเน้นให้บริการทางการแพทย์เฉพาะทางในสาขาที่ไทยมีความชำนาญ ในฐานะเป็น 
Winning Service และเป็น Regional Niche เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value-Added) และช่วยเร่งเพิ่มสัดส่วน 
รายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ อันได้แก่ การผ่าตัดหัวใจ การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ ศัลยกรรมตกแต่ง ทันตกรรม 
และเวชศาสตร์ฟื้นฟู2 
2) การให้บริการสุขภาพโดยเชื่อมโยงกับธุรกิจการท่องเที่ยวในลักษณะเป็น “Medical 
Holiday/Vacation Package” เช่น การส่งเสริม Package การตรวจสุขภาพประจำปีผนวกกับโปรแกรมการ 
ท่องเที่ยว Package ทันตกรรมผนวกกับโปรแกรมการท่องเที่ยว และ Recreational Service 
(นวดไทย สปาไทย การฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพระยะยาว) ผนวกกับโปรแกรมการท่องเที่ยว 
เป็นต้น 
3) ขยายฐานตลาดเดิมและเจาะตลาดใหม่ ซึ่งตลาดเดิม ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา 
ยุโรป จีน/ไต้หวัน ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ สแกนดิเนเวีย แคนาดา และตลาดใหม่ที่สำคัญ ได้แก่ อาเซียน 
(High-End) ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ รัสเซียและกลุ่มประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของรัสเซีย (CIS)3 
4.2 แนวทางการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานของธุรกิจบริการสุขภาพ (Enabling Factors) 
ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์หลัก คือ 
1) การยกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ 
(1) เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงบริการ โดยสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง 
Referral Center4 เพื่อทำหน้าที่ในลักษณะ One-Stop Service แก่ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ 
2 เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation) ในทางการแพทย์ หมายถึง โรคที่มากับความเสื่อม เช่น โรคข้อเสื่อม หรือผู้ป่วยโรค Stroke ซึ่งเวชศาสตร์ฟื้นฟูนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ High 
Technology แต่ใช้ Expertiseที่ไทยมีศักยภาพ ประกอบกับคนไทยมี Service Mind และอัธยาศัยไมตรี นอกจากนี้ ทำให้เกิด Long Stay Healthcare และเป็นการ Merge 
ระหว่างศาสตร์ Western และ Traditional 
3 CIS ประกอบด้วยประเทศ Armenia, Azerbaijan, Belarus, Georgia, Kazakhstan, Kyrgyzstan, Moldova, Tajikistan, Turkmenistan, Ukraine, Uzbekistan 
4 Referral Center จะเป็นหน่วยงานแกนกลางในลักษณะเป็น One-Stop Service ในการประสานงาน ส่งต่อและให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ให้บริการทางการแพทย์ รวมทั้งอื่นๆ ที่ 
เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการสุขภาพ แก่ลูกค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โดยผ่านทาง Online (Webpage) และ/หรือโดยตรง (Physical/Tangible One-Stop Service 
Facility) เพื่อเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงบริการ 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-8 
(2) ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของโรงพยาบาล โดยการส่งเสริมและผลักดันให้ 
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พ.ร.พ.) ได้รับการรับรองจาก International Hospital 
Accreditation Institution 
(3) ส่งเสริมการร่วมลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในเทคโนโลยีทาง 
การแพทย์ระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะใน 5 สาขาเป้าหมาย 
(4) ส่งเสริมการจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้จากต่างประเทศ เพื่อบริหารจัดการและ 
ดูแลเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานสากล (Healthcare Technology 
Management/ Maintenance) 
2) การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 
(1) ทบทวนแผนพัฒนาบุคลากร เพื่อเพิ่มจำนวนและคุณภาพของบุคลากรทาง 
การแพทย์และบุคลากรสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการของภาครัฐและเอกชน (โดยเฉพาะรองรับ 5 
สาขาเป้าหมาย หรือ 5 Specialties) 
(2) พัฒนาบุคลากร โดยส่งเสริมการแลกเปลี่ยนบุคลากรกับสถาบันต่างประเทศให้มี 
ประสบการณ์กับต่างชาติ และให้มีทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ (International Training Program 
for Undergraduate and Postgraduate Students) 
3) การพัฒนาด้านการตลาด 
(1) ดำเนินการตลาดเชิงรุก โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อ 
สร้าง Thailand Brand in Healthcare โดยเน้นใน 5 สาขาบริการทางการแพทย์ที่มีความชำนาญเฉพาะ 
(Specialization/Niche) 
(2) จัดทำ Website เพื่อเป็นสื่อกลางในลักษณะ Referral Center แก่ลูกค้าทั้งในและ 
ต่างประเทศ ดังเช่น สิงคโปร์ที่มี Singapore Medicine Website 
(3) จัดตั้ง Market Intelligence เพื่อดำเนินการวิจัยทางการตลาดเชิงลึก และเจาะ 
ตลาดใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ 
(4) ส่งเสริมให้แพทย์/มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนร่วมกันจัดเวทีสัมมนา หรือการ 
ประชุมเชิงวิชาการระดับนานาชาติ สร้างความตื่นตัวให้แพทย์ไทยเข้าร่วมแสดงผลงานทางวิชาการใน 
ต่างประเทศ เพื่อให้ต่างชาติรับรู้ถึงศักยภาพความสามารถของแพทย์ไทย โดยได้รับการสนับสนุน 
งบประมาณจากภาครัฐ 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
ธ-9 
4) การปรับปรุงกฎระเบียบและกฎหมาย 
(1) ผ่อนคลายกฎระเบียบเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์ 
ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งด้านบุคลากรและอุปกรณ์การแพทย์ เพื่อรองรับการขยายตัวของ 
ตลาดผู้ป่วยชาวต่างชาติ เช่น อนุญาตให้มหาวิทยาลัยหรือโรงพยาบาลเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบ 
การศึกษามากขึ้น 
(2) ศึกษาและปรับปรุงกฎระเบียบด้าน Visa และ Work Permit อนุญาตให้บุคลากร 
ต่างชาติในสาขาที่ขาดแคลนเข้ามาทำงานในประเทศไทย 
5. บทสรุป 
การก้าวไปสู่การเป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพแห่งเอเชียของประเทศไทย จำเป็นต้องผนึกกำลัง 
ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้อย่างจริงจังและมีประสิทธิผล 
ทั้งนี้ จะต้องกำหนดบทบาทระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนให้ชัดเจน โดยควรให้บทบาทภาคเอกชนในการเป็น 
ผู้นำการลงทุนพัฒนาธุรกิจและกำหนดกลยุทธ์การเจาะตลาดกลุ่มเป้าหมาย ส่วนภาครัฐเป็นผู้ให้การ 
สนับสนุนปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ให้เอื้อต่อการลงทุน พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญของมาตรการต่างๆ 
กำหนดหน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานสนับสนุนแต่ละมาตรการให้ชัดเจน เพื่อแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การ 
ปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม บนพื้นฐานของการให้บริการที่มีคุณภาพ และไมตรีจิต พร้อมกับความ 
เชี่ยวชาญระดับมาตรฐานสากล โดยเฉพาะการใช้ความเป็น “Thainess” ที่จะทำให้ผู้มาเยือนเกิดความรู้สึก 
ประทับใจ และยินดีจะเดินทางกลับมาอีกเสมือนเป็นบ้านที่สองของเขาต่อไป 
************************************ 
สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ

More Related Content

What's hot

6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษSamrit Kung
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนBoonlert Sangdee
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
swot
swotswot
swot
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 

Viewers also liked

คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty) คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty) Utai Sukviwatsirikul
 
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพPwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพKittipan Marchuen
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksNattakorn Sunkdon
 
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภคThitapha Ladpho
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accountingtltutortutor
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานPalm Jutamas
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalNattakorn Sunkdon
 

Viewers also liked (20)

คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty) คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
 
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพPwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
Micheal e.porter
Micheal e.porterMicheal e.porter
Micheal e.porter
 
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพ
 
Oldy club
Oldy club Oldy club
Oldy club
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing home
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
 
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accounting
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภ กลุ่ม 1
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 

Similar to ธุรกิจบริการสุขภาพ

แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลUtai Sukviwatsirikul
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014maruay songtanin
 
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...jitisak poonsrisawat, M.D.
 
How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?
How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?
How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?Paibul Suriyawongpaisal
 

Similar to ธุรกิจบริการสุขภาพ (20)

แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
health ppt final3
health ppt final3health ppt final3
health ppt final3
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพ
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014
 
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
 
How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?
How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?
How the MOH regional health policy unfold...Thai case study?
 
NCD 4.0
NCD 4.0NCD 4.0
NCD 4.0
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ธุรกิจบริการสุขภาพ

  • 1. ธ-1 ธุรกิจบริการสุขภาพ 1. บทนำ ธุรกิจบริการสุขภาพ นับเป็นหนึ่งในหลายธุรกิจที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาภาคบริการและ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วธุรกิจการให้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นแหล่งสร้าง รายได้เข้าสู่ประเทศ (Product of Excellence) จะประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจบริการทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตภัณฑ์สุขภาพและสมุนไพรไทย และธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพซึ่งได้แก่ บริการนวดไทยและสปา ที่ สามารถนำทรัพยากรส่วนเกินของภาคเอกชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งก่อเกิดรายได้ต่อเนื่องกับ อุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น ซึ่งนับเป็นผลดีต่อการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศทั้งระบบ อย่างไรก็ตาม ในบทความนี้จะนำเสนอเฉพาะการปรับโครงสร้างธุรกิจ บริการทางการแพทย์เป็นหลัก เนื่องจากในระยะที่ผ่านมา ประเทศไทยจัดเป็นประเทศมีศักยภาพด้าน การแพทย์ที่เป็นที่รู้จักของภูมิภาคแถบนี้ ทั้งในด้านความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของบุคลากรและคุณภาพการ ให้บริการในระดับมาตรฐานสากล โดยมีชาวต่างชาติเข้ามารับบริการรักษาในประเทศอย่างต่อเนื่อง และมี จำนวนผู้เข้ามารับบริการสูงที่สุดในภูมิภาคนี้ สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศได้นับหมื่นล้านบาทในแต่ละ ปี รัฐบาลจึงได้ประกาศนโยบายที่จะให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย (Medical Hub of Asia) เพื่อสร้างความเป็นเลิศของธุรกิจบริการและเป็นแหล่งที่มาของรายได้เงินตรา ต่างประเทศจากประเทศที่เป็นตลาดหลัก 2. ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน 2.1 สถานการณ์ด้านการตลาด ความต้องการด้านการตลาด (Market and Demand Analysis) ของธุรกิจบริการสุขภาพโดยรวม พบว่า แนวโน้มความต้องการเพิ่มสูงขึ้นตามแนวโน้มอายุเฉลี่ย ของประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นจาก 48 ปี ในปี ค.ศ.1955 เป็น 67 ปี ในปี ค.ศ. 2004 และจำนวนประชากรโลก มีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ทั้งนี้ คาดว่าจะมีประชากรโลกสูงถึง 9,300 ล้านคนในปี ค.ศ. 2050 โดยภูมิภาคเอเชียมีสัดส่วนสูงสุดถึง 5,400 ล้านคน ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของโลกเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องทุกๆ ปี (ดังแผนภาพที่ 1) สำหรับประเทศไทย ความต้องการของชาวต่างชาติในการเข้ามารับบริการทางการแพทย์มี แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน โดยมีผู้ป่วยชาวต่างชาติเข้ามารับบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีจำนวน ผู้เข้ามารับบริการสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชีย จากสถิติคนไข้ชาวต่างชาติที่เข้ามารับบริการทางการแพทย์ใน โรงพยาบาลเอกชนไทยในช่วงปี 2544-2547 พบว่า มีจำนวนและอัตราการขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น โดยในปี 2544 มีจำนวน 550,161 ราย เพิ่มขึ้นเป็น 630,000 ราย 973,532 ราย และ 1,103,095 ราย ในปี 2545, 2546 และ 2547 ตามลำดับ หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 27.2 ต่อปี โดยส่วนใหญ่มาจากญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชีย (จีน/ไต้หวัน) ซึ่งเป็นฐานตลาดหลักที่มีอยู่เดิม และหากพิจารณาตามราย สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 2. ธ-2 ประเทศ จะพบว่ากลุ่มประเทศอาเซียน ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ เป็นตลาดใหม่ที่น่าสนใจและควรให้ ความสำคัญ เนื่องจากมีอัตราการขยายตัวสูงในช่วงที่ผ่านมา แผนภาพที่ 1 แนวโน้มความต้องการในธุรกิจบริการสุขภาพ Market & Demand Analysis ในปัจจุบัน ความต้องการในธุรกิจบริการสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น อายุเฉลี่ยประชากรโลก ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลด้านสุขภาพของโลก International Dollar Rate ($/Capita) 167 176 1998 1999 2000 2001 184 194 จำนวนประชากรโลก (พันล้านคน) ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (ล้านเหรียญสหรัฐ) Japan Asia 391 301 90 610 422 188 56% 1999 2050 4 NESDB 67 1955 48 2004 6.4 2.5 3.9 7.9 3.2 4.8 9.3 3.9 5.4 2004 2025 2050 Others Asia ที่มา : องค์การอนามัยโลก (WHO) และ Population Reference Bureau 2002 2.2 ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศคู่แข่งที่สำคัญของไทย ในช่วงที่ผ่านมา ประเทศในภูมิภาคเอเชียไม่ว่าจะเป็นประเทศไทย ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ต่างประกาศ นโยบายเพื่อมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย (Medical Hub of Asia) เช่นเดียวกัน ซึ่งแต่ละประเทศได้มีการกำหนดเป้าหมายและวางกรอบยุทธศาสตร์ในการมุ่งพัฒนาไปสู่การ เป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย ดังแผนภาพที่ 2 แผนภาพที่ 2 เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของประเทศไทยและคู่แข่งในภูมิภาคเอเชีย Study Best Practice (Benchmarking) …โดยแต่ละประเทศมียุทธศาสตร์ในการมุ่งพัฒนาไปสู่การเป็น Medical Hub of Asia ดังนี้ ไทย สิงคโปร์ฮ่องกง • มุ่งสู่การเป็น The Asian Hub for Cancer Treatment and Medical Tourism โดยมี Ultra-Modern Cancer Centre • มีจำนวนผู้ป่วย ต่างชาติ 5 แสนคน ในปี 2007 • มุ่งเน้นการรักษา โรคมะเร็ง • มุ่งเน้นการดึง ลูกค้า High-end จากจีน • มี Strategic Partner ทาง วิชาการ • มุ่งเน้นโรคหัวใจ, มะเร็ง, จักษุ • มี High-level Healthcare Working Group • มี Singapore Medicine as a Multi-Agency Taskforce • มี Strategic Partner ทางวิชาการ • มุ่งเน้นการดึงลูกค้า จากตะวันออกกลาง มาเลเซีย อินเดีย • มุ่งสู่การเป็น Health Tourism Hub of Asia • ปี 2010 มี เป้าหมายรายได  รวมทั้งสิ้น ~ 24,200 ล้านบาท • มุ่งเน้น Cosmetic Surgery • ให้บริการใน ลักษณะเป็น Package • Public-Private Cooperation • มุ่งสู่การเป็น Global Healthcare Destination • มุ่งเน้น Cardiac Care, Joint / Hip Replacement, Lasik 10 NESDB • ภายในปี 2008 มุ่งสู่การ เป็น Medical Hub of Asia • ปี 2008 มีเป้าหมาย รายได้รวมทั้งสิ้น 63,822 ล้านบาท • มุ่งสู่ Regional Medical Hub (Training + Service Hub) • ตั้งเป้าดึงผู้ป่วย ต่างชาติเพิ่ม 5 เท่า เป็นปีละ 1 ล้านคน ภายในปี 2012 • สร้าง Value Added 62,000 ล้านบาท • เน้นการรักษาเฉพาะทาง ทันตกรรมและการตรวจ สุขภาพประจำปี เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข และ CMU Data Compilation and Analysis สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 3. ธ-3 การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของคู่แข่งและตำแหน่งในการแข่งขันของ ประเทศไทย (Competitors and Thailand’s Position Analysis) โดยศึกษาเทียบเคียงกับประเทศที่มีแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Study) พบว่า ประเทศสิงคโปร์เป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทย และมีความ ได้เปรียบในการแข่งขันในหลายๆ ด้าน โดยเน้นการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานทั้งในด้าน สถานพยาบาล บุคลากร และอุปกรณ์การแพทย์ ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เน้นการพัฒนาเทคโนโลยี ทางการแพทย์ ตลอดจนมีนโยบายและกลไกเชิงรุกที่ชัดเจน มีการจัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อส่งเสริม บริการสุขภาพขึ้นมาโดยเฉพาะ หรือที่เรียกว่า Healthcare Service Working Group นอกจากนี้ ยังมี Strategic Partner ทางวิชาการร่วมกับต่างประเทศ ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมมือกันเป็นอย่างดี เพื่อ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์แห่งภูมิภาคเอเชีย ตามเป้าหมายที่วางไว้ทั้งในด้านการให้บริการและการฝึกอบรม แม้ว่าประเทศไทยกำลังเผชิญกับคู่แข่งที่สำคัญในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน แต่ประเทศไทย ยังคงเป็นประเทศจุดหมายปลายทางด้านบริการทางการแพทย์ของภูมิภาคเอเชีย ที่ได้รับความนิยมเป็น อย่างมากสำหรับนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจากนานาประเทศ เนื่องจากเหตุผล 4 ประการ คือ (1) มีบุคลากร ทางการแพทย์และคุณภาพมาตรฐานการรักษาพยาบาลที่เข้าขั้นมาตรฐานสากล (Human Resource Quality) (2) บริการสุขภาพของไทยมีความหลากหลายและมีราคาที่สมเหตุสมผลและถูกกว่าประเทศอื่นๆ ในระดับมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน (Reasonable Costs) (3) การให้บริการด้วยไมตรีจิตที่น่า ประทับใจ เป็นกันเอง อ่อนโยน สุภาพ ทำให้ผู้ป่วยประทับใจในบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยเสมือนหนึ่งคนใน ครอบครัว (Service and Hospitality) และ (4) มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจมากมาย (Tourist Attraction) ซึ่งยังคงแสดงถึงโอกาสในการแข่งขันสำหรับประเทศไทย อย่างไรก็ตาม บริการทางการแพทย์ของไทยยังมีลักษณะค่อนข้างทั่วไป (Generic) ซึ่งให้ มูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น การตรวจโรคทั่วไป และการตรวจสุขภาพ ในขณะที่ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง และ สหรัฐอเมริกา เน้นการรักษาโรคเฉพาะทาง (Specialization) ซึ่งให้มูลค่าเพิ่มสูง เช่น การผ่าตัดสมอง การ ผ่าตัดหัวใจ และการรักษาโรคมะเร็ง เป็นต้น ดังนั้น ประเทศไทยจึงควรหันมาให้ความสำคัญและเน้นการ รักษาโรคเฉพาะทาง โดยมุ่งให้บริการในสาขาที่ไทยมีความชำนาญโดยเฉพาะ ในฐานะเป็น Winning Service และเป็น Niche ของประเทศในระดับภูมิภาคเอเชีย สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 4. ธ-4 แผนภาพที่ 3 ตำแหน่งการแข่งขันของประเทศไทยและประเทศคู่แข่งอื่นๆ Identify Thailand’s Position อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับคู่แข่งอื่นๆ บริการทางการแพทย์ของไทยยังอยู่ในลักษณะ ค่อนข้างทั่วไป (Generic) ซึ่งให้มูลค่าเพิ่มต่ำ จึงควรเน้นให้บริการในสาขาที่ไทยมีความ ชำนาญ (Niche) จะช่วยเร่งเพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ Thailand’s Current Position Thailand’s Targeted Position USA Singapore India Hong Kong Malaysia Generic Specialization Low High Value Add Service Concentration 12 NESDB USA Singapore India Hong Kong Malaysia Generic Specialization Service Concentration Low Value Add High ที่มา : CMU Data Compilation and Analysis 2.3 ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ (Thailand’s Competitiveness Analysis) การ นำ Diamond Model ตามทฤษฎีของ Professor Michael E. Porter แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาด ประเทศ สหรัฐอเมริกา มาเป็นเครื่องมือในการประเมินและวิเคราะห์ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน ของธุรกิจ โดยพิจารณาถึงปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจบริการทางการแพทย์ (Business Environment) เพื่อ บ่งชี้ถึงประเด็นสำคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ได้ดังนี้ 1) เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต (Factor Conditions) พบว่า บริการสุขภาพใน ประเทศไทยมีราคาถูก อันเนื่องมาจากโครงสร้างต้นทุนของบริการสุขภาพในไทยต่ำกว่าประเทศอื่นๆ แต่ ปัญหาที่สำคัญคือบุคลากรทางการแพทย์มีจำกัด แม้ว่าประเทศไทยมีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญและ คุณภาพในระดับค่อนข้างสูงที่สามารถแข่งขันได้ แต่มีปัญหาขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ทั้งพยาบาล ทันตแพทย์ และเภสัชกร รวมถึงการกระจายแพทย์ที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนในส่วน ภูมิภาค นอกจากนี้ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ในภาคเอกชนมีเกินความต้องการ ในขณะที่ โรงพยาบาลรัฐในส่วนภูมิภาคต้องประสบภาวะขาดแคลน 2) อุตสาหกรรมเชื่อมโยงและสนับสนุนกัน (Related and Supporting Industries) โดยโครงสร้างปัจจุบันพบว่า สถาบันการศึกษาทางการแพทย์ส่วนใหญ่เป็นของรัฐ ส่วนเอกชนมีเพียง 1 แห่ง ซึ่งยังไม่สามารถผลิตบุคลากรให้ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศได้ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเป็นผู้ นำเข้ายาและเวชภัณฑ์ต่างๆ ส่วนสินค้าอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ที่ไทยผลิตและส่งออกส่วนใหญ่ มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น ผ้าพันแผล ถุงมือผ่าตัด และกระบอกฉีดยา และยังต้องพึ่งพาการนำเข้าเครื่องมือ แพทย์ที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงในราคาแพง เช่น เครื่องเอ็กซเรย์ อุปกรณ์คลื่นไฟฟ้าบำบัด เครื่องมือแพทย์ในการ สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 5. ธ-5 บำบัดรักษาโรค เครื่องมือศัลยกรรมกระดูก เป็นต้น โดยสิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการผลิตและจำหน่ายยา เวชภัณฑ์ และเครื่องมือแพทย์ในภูมิภาคเอเชีย 3) เงื่อนไขทางด้านอุปสงค์ (Demand Conditions) โดยพิจารณาจากกลุ่มลูกค้า 2 กลุ่มหลัก คือ คนไข้ชาวไทย มีแนวโน้มเข้ารักษาพยาบาลในระบบมากขึ้น ทั้งโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน และคนไข้ชาวต่างชาติในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่อาศัยทำงานอยู่ในประเทศไทย (Expatriates) มากกว่า จะเป็นนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Tourists) และจากการสัมภาษณ์โรงพยาบาลเอกชนต่างๆ พบว่า มี โรงพยาบาลเอกชนเพียงประมาณ 10 แห่ง จากทั้งหมด 33 แห่งในกรุงเทพฯ ที่มีศักยภาพสามารถรองรับคนไข้ ต่างชาติได้จริง (ทั่วประเทศ มีโรงพยาบาลเอกชนประมาณ 400 กว่าแห่ง) 4) บริบทของการแข่งขันและกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and Rivalry) กลุ่มโรงพยาบาลเอกชนใหญ่ๆ เริ่มใช้กลยุทธ์ในการร่วมมือกันเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันมากขึ้น เช่น จัดซื้อยาร่วมกัน จัดจ้างบุคลากรจากภายนอกและใช้โครงสร้างพื้นฐานด้าน โลจิสติกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกัน และการส่งต่อคนไข้ไปยังโรงพยาบาลที่อยู่ในเครือ ใน ขณะเดียวกัน การทำตลาดกลุ่มเป้าหมายของภาคเอกชนมีประสิทธิผลมากกว่าการทำโรคโชว์ (Road show) ของภาครัฐ ซึ่งใช้กลยุทธ์เดียวกันสำหรับทุกตลาดเป้าหมาย อย่างไรก็ดี มีประเด็นปัญหาที่สำคัญ คือ การแข่งขันการตัดราคาของโรงพยาบาลเอกชนบางแห่งแทนการสร้างความโดดเด่นเชิงคุณภาพ และขาด การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) และการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร 5) บทบาทของรัฐบาล (Government’s Role) ประเด็นปัญหาที่พบ คือ ขาดการบูร ณาการระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งในระดับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ และระดับปฏิบัติการ รวมทั้งขาด แผนพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดความสอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ของทรัพยากรบุคคล และข้อจำกัดในเรื่องการกระจายทรัพยากรบุคคลระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และระหว่างเมืองกับชนบท สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 6. ธ-6 แผนภาพที่ 4 การประเมินและวิเคราะห์ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจบริการรักษาพยาบาล (Medical Service) ของไทย z กลุ่มโรงพยาบาลเอกชนใหญ่ๆได้เริ่มใช้กลยุทธ์การร่วมมือกัน z โรงพยาบาลเอกชนมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ซึ่งแข่งขันเชิง ราคาเป็นหลัก แทนที่จะเป็นการสร้างความโดดเด่นเชิงคุณภาพ z ภาคเอกชน ขาดการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) และการ ฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร z การทำตลาดในกลุ่มเป้าหมายขนาดเล็กของภาคเอกชนมี ประสิทธิผลมากกว่าโครงการสัญจร (Roadshow) ของภาครัฐ z นโยบายของรัฐไม่ตอบสนองความต้องการของภาคเอกชน บรริิบทของกกาาร แแขข่ง่งขขัันแแลละะกล ยยุุทธธ์ท์ทาางธธุุรกกิิจ บริบทของการ แข่งขันและกล ยุทธ์ทางธุรกิจ ออุุตสสาาหกรรมททีี่่ เเกกีี่่ยวโโยยงแแลละะ สนนัับสนนุุนกกััน อุตสาหกรรมที่ เกี่ยวโยงและ สนับสนุนกัน Analyze Thailand Competitiveness z ขาด Integration ระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งในเชิง operation และ strategy z ขาดแผนพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ที่มี ประสิทธิภาพ สถาบันการศึกษาทางการแพทย์ z สถานศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นของภาครัฐ มีเพียงแห่งเดียวที่เป็นเอกชน อุปทานด้านยา z ไทยมีฐานะเป็น Net Importer ด้านยา อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ z ไทยเป็น Net Exporter ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการหยุดนำเข้าอุปกรณ์แพทย์ ไฮเทคชั่วคราว z สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ ในขณะที่สินค้าที่ใช้เทคโนโลยีสูง เป็นสินค้านำเข้า บบททบบาาททขขอองงรรัฐัฐบบาาลล เเงงืื่่อนไไขขททาาง ดด้า้านออุุปสงคค์์ เงื่อนไขทาง ด้านอุปสงค์ คนไข้ชาวไทย z คนไทยมีแนวโน้มในการเข้ารักษาพยาบาล ในระบบมากขึ้น z ผู้ป่วยชาวไทยจำนวนหนึ่งยังนิยมแพทย์ แผนโบราณที่บำบัดโดยยาที่ไม่ได้รับการ รับรอง หรือ “ยาหมอตี๋” คนไข้ชาวต่างชาติในประเทศไทย z คนไข้ชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ ในประเทศไทย มิใช่นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ z สถานพยาบาลจำนวนน้อยมากที่มีศักยภาพ ในการรองรับคนไข้ชาวต่างชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เเงงืื่่อนไไขขของ ปปัจัจจจััยกกาารผลลิิต เงื่อนไขของ ปัจจัยการผลิต บริการสุขภาพของไทยมีราคาถูก z ค่าใช้จ่ายในการจ้างแพทย์และบุคลากรอื่นๆ รวมทั้ง ราคายาและเวชภัณฑ์ไทย นับว่าต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับ ประเทศอื่นๆ ทรัพยากรบุคคล z ประเทศไทยมีแพทย์ระดับ “หัวกะทิ” จำนวนมาก z ไทยประสบปัญหาขาดแคลนแพทย์ (รวมทั้งพยาบาล ทันตแพทย์ และเภสัชกร) z อาชีพแพทย์ได้รับความนิยมน้อยลง เห็นได้จากการ เปลี่ยนอาชีพของแพทย์ส่วนหนึ่ง และจำนวนนักศึกษา แพทย์ที่ลดลง เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ z โรงพยาบาลภาคเอกชน โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ มีมาก เกินความต้องการ ในทางกลับกัน โรงพยาบาลรัฐ โดยเฉพาะในชนบทเกิดภาวะขาดแคลน ที่มา : จากการศึกษาวิเคราะห์ของคณะทำงานสพข. 3. กรอบแนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการสุขภาพ โดยภาพรวมของกรอบแนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการสุขภาพ ยังคงยึดตามทิศทางและ เป้าหมายตาม “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพของเอเชีย (ปี 2547- 2551)” ของกระทรวงสาธารณสุข และ “ยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพด้านบริการทางการแพทย์ของไทย” ของสมาคมโรงพยาบาลเอกชน ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว แต่จะเป็นการนำเสนอวิธีการที่ จะนำไปสู่เป้าหมายรายได้ตามที่กระทรวงฯ ได้วางไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสนอทางเลือกใหม่ เพื่อเร่ง เพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ โดยเน้นธุรกิจบริการทางการแพทย์ (Medical Service) ในฐานะ เป็นธุรกิจที่มีศักยภาพความพร้อม และสร้างรายได้สูงสุดในบรรดาธุรกิจบริการสุขภาพทั้ง 3 กลุ่ม จึงได้ กำหนดกรอบการนำเสนอแนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการทางการแพทย์ ไว้ดังนี้ 3.1 เร่งผลักดันยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข โดยบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ของ กระทรวงฯ กับข้อเสนอของภาคเอกชนให้สามารถนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายการสร้างรายได้ 63,822 ล้านบาท ในปี 2551 3.2 เสนอทางเลือกใหม่ในการเร่งรัดขยายฐานบริการและสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) เพื่อเร่งเพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ โดยเน้นธุรกิจบริการทางการแพทย์ (Medical Service) เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพ มีความพร้อม และสร้างรายได้มากที่สุดถึงร้อยละ 75 ของโครงสร้างแหล่ง รายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพทั้ง 3 กลุ่ม สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 7. ธ-7 4. แนวทางการปรับโครงสร้างธุรกิจบริการสุขภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขัน เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามกรอบแนวทางการปรับโครงสร้างของธุรกิจดังกล่าวข้างต้น จึงควร ดำเนินกลยุทธ์ภายใต้กรอบแนวทางการพัฒนาใน 2 ระนาบ ดังนี้ 4.1 แนวทางการพัฒนาเพื่อเร่งเพิ่มสัดส่วนรายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ โดยมุ่งเน้น พัฒนาธุรกิจบริการทางการแพทย์เป็นหลัก ธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพและธุรกิจผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สมุนไพรไทยเป็นธุรกิจสนับสนุน โดยมีแนวทางการพัฒนาประกอบด้วย 1) มุ่งเน้นให้บริการทางการแพทย์เฉพาะทางในสาขาที่ไทยมีความชำนาญ ในฐานะเป็น Winning Service และเป็น Regional Niche เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value-Added) และช่วยเร่งเพิ่มสัดส่วน รายได้ของธุรกิจบริการสุขภาพ อันได้แก่ การผ่าตัดหัวใจ การผ่าตัดเปลี่ยนข้อ ศัลยกรรมตกแต่ง ทันตกรรม และเวชศาสตร์ฟื้นฟู2 2) การให้บริการสุขภาพโดยเชื่อมโยงกับธุรกิจการท่องเที่ยวในลักษณะเป็น “Medical Holiday/Vacation Package” เช่น การส่งเสริม Package การตรวจสุขภาพประจำปีผนวกกับโปรแกรมการ ท่องเที่ยว Package ทันตกรรมผนวกกับโปรแกรมการท่องเที่ยว และ Recreational Service (นวดไทย สปาไทย การฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพระยะยาว) ผนวกกับโปรแกรมการท่องเที่ยว เป็นต้น 3) ขยายฐานตลาดเดิมและเจาะตลาดใหม่ ซึ่งตลาดเดิม ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป จีน/ไต้หวัน ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ สแกนดิเนเวีย แคนาดา และตลาดใหม่ที่สำคัญ ได้แก่ อาเซียน (High-End) ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ รัสเซียและกลุ่มประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของรัสเซีย (CIS)3 4.2 แนวทางการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานของธุรกิจบริการสุขภาพ (Enabling Factors) ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์หลัก คือ 1) การยกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ (1) เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงบริการ โดยสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง Referral Center4 เพื่อทำหน้าที่ในลักษณะ One-Stop Service แก่ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ 2 เวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation) ในทางการแพทย์ หมายถึง โรคที่มากับความเสื่อม เช่น โรคข้อเสื่อม หรือผู้ป่วยโรค Stroke ซึ่งเวชศาสตร์ฟื้นฟูนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ High Technology แต่ใช้ Expertiseที่ไทยมีศักยภาพ ประกอบกับคนไทยมี Service Mind และอัธยาศัยไมตรี นอกจากนี้ ทำให้เกิด Long Stay Healthcare และเป็นการ Merge ระหว่างศาสตร์ Western และ Traditional 3 CIS ประกอบด้วยประเทศ Armenia, Azerbaijan, Belarus, Georgia, Kazakhstan, Kyrgyzstan, Moldova, Tajikistan, Turkmenistan, Ukraine, Uzbekistan 4 Referral Center จะเป็นหน่วยงานแกนกลางในลักษณะเป็น One-Stop Service ในการประสานงาน ส่งต่อและให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ให้บริการทางการแพทย์ รวมทั้งอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการสุขภาพ แก่ลูกค้าทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โดยผ่านทาง Online (Webpage) และ/หรือโดยตรง (Physical/Tangible One-Stop Service Facility) เพื่อเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงบริการ สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 8. ธ-8 (2) ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของโรงพยาบาล โดยการส่งเสริมและผลักดันให้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พ.ร.พ.) ได้รับการรับรองจาก International Hospital Accreditation Institution (3) ส่งเสริมการร่วมลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในเทคโนโลยีทาง การแพทย์ระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะใน 5 สาขาเป้าหมาย (4) ส่งเสริมการจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้จากต่างประเทศ เพื่อบริหารจัดการและ ดูแลเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานสากล (Healthcare Technology Management/ Maintenance) 2) การพัฒนาทรัพยากรบุคคล (1) ทบทวนแผนพัฒนาบุคลากร เพื่อเพิ่มจำนวนและคุณภาพของบุคลากรทาง การแพทย์และบุคลากรสนับสนุนให้สอดคล้องกับความต้องการของภาครัฐและเอกชน (โดยเฉพาะรองรับ 5 สาขาเป้าหมาย หรือ 5 Specialties) (2) พัฒนาบุคลากร โดยส่งเสริมการแลกเปลี่ยนบุคลากรกับสถาบันต่างประเทศให้มี ประสบการณ์กับต่างชาติ และให้มีทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ (International Training Program for Undergraduate and Postgraduate Students) 3) การพัฒนาด้านการตลาด (1) ดำเนินการตลาดเชิงรุก โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อ สร้าง Thailand Brand in Healthcare โดยเน้นใน 5 สาขาบริการทางการแพทย์ที่มีความชำนาญเฉพาะ (Specialization/Niche) (2) จัดทำ Website เพื่อเป็นสื่อกลางในลักษณะ Referral Center แก่ลูกค้าทั้งในและ ต่างประเทศ ดังเช่น สิงคโปร์ที่มี Singapore Medicine Website (3) จัดตั้ง Market Intelligence เพื่อดำเนินการวิจัยทางการตลาดเชิงลึก และเจาะ ตลาดใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ (4) ส่งเสริมให้แพทย์/มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนร่วมกันจัดเวทีสัมมนา หรือการ ประชุมเชิงวิชาการระดับนานาชาติ สร้างความตื่นตัวให้แพทย์ไทยเข้าร่วมแสดงผลงานทางวิชาการใน ต่างประเทศ เพื่อให้ต่างชาติรับรู้ถึงศักยภาพความสามารถของแพทย์ไทย โดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากภาครัฐ สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ
  • 9. ธ-9 4) การปรับปรุงกฎระเบียบและกฎหมาย (1) ผ่อนคลายกฎระเบียบเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์ ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งด้านบุคลากรและอุปกรณ์การแพทย์ เพื่อรองรับการขยายตัวของ ตลาดผู้ป่วยชาวต่างชาติ เช่น อนุญาตให้มหาวิทยาลัยหรือโรงพยาบาลเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบ การศึกษามากขึ้น (2) ศึกษาและปรับปรุงกฎระเบียบด้าน Visa และ Work Permit อนุญาตให้บุคลากร ต่างชาติในสาขาที่ขาดแคลนเข้ามาทำงานในประเทศไทย 5. บทสรุป การก้าวไปสู่การเป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพแห่งเอเชียของประเทศไทย จำเป็นต้องผนึกกำลัง ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้อย่างจริงจังและมีประสิทธิผล ทั้งนี้ จะต้องกำหนดบทบาทระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนให้ชัดเจน โดยควรให้บทบาทภาคเอกชนในการเป็น ผู้นำการลงทุนพัฒนาธุรกิจและกำหนดกลยุทธ์การเจาะตลาดกลุ่มเป้าหมาย ส่วนภาครัฐเป็นผู้ให้การ สนับสนุนปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ให้เอื้อต่อการลงทุน พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญของมาตรการต่างๆ กำหนดหน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานสนับสนุนแต่ละมาตรการให้ชัดเจน เพื่อแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การ ปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม บนพื้นฐานของการให้บริการที่มีคุณภาพ และไมตรีจิต พร้อมกับความ เชี่ยวชาญระดับมาตรฐานสากล โดยเฉพาะการใช้ความเป็น “Thainess” ที่จะทำให้ผู้มาเยือนเกิดความรู้สึก ประทับใจ และยินดีจะเดินทางกลับมาอีกเสมือนเป็นบ้านที่สองของเขาต่อไป ************************************ สพศ. เอกสาร Profile ภาคบริการ